SlideShare a Scribd company logo
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน
เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นาย สัญชัยแท่นแก้ว เลขที่27ชั้นม.6ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นาย สัญชัยแท่นแก้วเลขที่ 27 ม.6/10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)
เศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)
Sufficiency Economy
ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาการศึกษาระบบเศรษฐกิจพอเพียง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย สัญชัย แท่นแก้ว ม.6/10 เลขที่ 27
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
-
ระยะเวลาดาเนินงาน
ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2559
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ความหมายคาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง”
เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงความสามารถของชุมชน เมืองรัฐ หรือประเทศ ในการผลิตสินค้าและบริการเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น
ๆ โดยรู้จักการพึ่งพาตนเองเป็นสาคัญ และไม่พึ่งพาปัจจัยการผลิตอื่น ที่ตนเองไม่ได้เป็นเจ้าของ
ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง
คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง”
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสก
นิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี
เพื่อนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตในยามที่ประเทศประสบปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจใน พ.ศ.2540
ภายหลังเมื่อได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส
โลกาภิวัฒน์ จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517ว่า
“…การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐานคือความพอมีพอกินพอใช้
ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อนโดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ
เมื่อได้พื้นฐานจากมั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ
และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงโดยลาดับต่อไป…”
ในพ.ศ. 2540เกิดปัญหาวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
พระราชทานพระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 4ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิดาลัย
สวนจิตรลดา เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอีกครั้ง เพื่อแนวทางแก้ปัญหาให้กับประเทศ
“…การเป็นเสือนั้นไม่สาคัญสาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกินแบบพอมีพอกินนั้น
หมายความว่าอุ้มชูตนเองได้ให้มีพอเพียงกับตนเองอันนี้ก็เคยบอกว่าความพอเพียงไม่ได้หมายความว่า
ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวจะต้องทอผ้าใส่เองอย่างนั้นมันเกินไป
แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควรบางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้
แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไรไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก…”
คาว่า “พอเพียง”จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเต้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 4
ธันวาคม พ.ศ. 2541 ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา พระราชทานความหมายของคาว่า “พอเพียง”ไว้ว่า
“…คาว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหนึ่งมีความหมายกว้างออกไปอีกไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น
แต่มีความหมายว่าพอมีพอกินพอมีพอกินนี้แผลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง…”
“…ให้เพียงพอนี้หมายความว่ามีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่ มเฟือยไม่หรูหราก็ได้แต่ว่าพอ
แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่ มเฟื อยแต่ก็ทาให้มีความสุขถ้าทาได้ก็สมควรจะทาสมควรที่จะปฏิบัติ…”
“…Self-sufficiency นั้นหมายความว่าผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่นอยู่ได้ด้วยตนเอง…”
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ การทา โครงการเศรษฐกิจพอเพียงขนาดเล็ก
1. ต้องการให้ชีวิตได้อยู่กับ โลกสีเขียว ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี
2. ต้องการลดรายจ่าย และมีรายได้เสริมให้ครอบครัว ได้ออกกาลังกายไปในตัว
3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กับครอบครัวและมีความสุขจากการทางาน
4. เป็นที่พบปะ แขกญาติมิตรเพื่อนฝูง เพื่อพักผ่อน ในช่วงบั้นปลายชีวิต
5. ต้องการให้ลูกหลาน ได้ขยันปลูกฝังจิตใจ ตั้งแต่เล็กๆ ได้เรียนรู้ในระบบไร่นาสวนผสม
6. เป็นตัวอย่างแก่ประชาชนทั่วไป ที่มีความคิดอยากทาโครงการตามแนวทฤษฎีของท่านในหลวง
7. เพื่อสร้างมูลค่าที่ดิน คุณค่าของบุคลากรที่ทา และสร้างสินทรัพย์ที่ด้อย ให้มีราคาสูงขึ้น
8. เป็นที่อยู่อาศัยสัตว์น้า-สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า บริเวณใกล้เคียงที่ย้ายถิ่นฐานจากแหล่งที่ไม่สมบูรณ์มาหากิน
อยู่ในโครงการฯ เป็นจานวนมากเพราะในโครงการฯ ไม่มีการใช้สารพิษ ต้องการให้เป็นระบบนิเวศวิทยา
อย่างธรรมชาติให้มากที่สุด
การนาหลักการง่ายๆ มาประยุกต์ใช้และยึดถือปฏิบัติ
1. จิตใจต้องเข้มแข็งสามารถต่อสู้กับวิกฤติต่างๆ ขณะทาโครงการฯ ระยะแรกได้
2. ใช้ทุนเริ่มแรกแต่น้อย ใช้พื้นที่ในการทายังไม่มากนักให้พอกับแรงตัวเองก่อน
3. ไม่ลอกเลียนแบบของผู้อื่นมากเกินไปโดยที่ตัวเองมีปัจจัยพื้นฐานไม่เหมือนกัน
4. อย่าพึ่งหวังว่าโครงการฯ จะให้ผลตอบแทนทันทีทันใด
เพียงแต่เป็นส่วหนึ่งส่วนหนึ่งของครอบครัวเราในเรื่องการใช้พื้นที่ว่าง-เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5. โครงการฯ ไม่มีพิมพ์เขียวที่จะทาตามอย่างถูกต้อง ฉะนั้นจะต้องมีส่วนหนึ่งที่ต้องเรียนรู้ลองผิดลองถูก
ด้วยตัวเอง
ขอบเขตโครงงาน
๑. แผนงานเชื่อมโยงเครือข่ายเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
๒. แผนงานพัฒนาวิชาการและส่งเสริมการศึกษาวิจัย
๓. แผนงานสร้างหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ
๔. แผนงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และรณรงค์เพื่อสร้างกระแสสังคม
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้นให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง
พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน
และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30%
ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี
เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30%ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นพืชผักพืชไร่ พืชสมุนไพรฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน
หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย
พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10%เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ
วิธีดาเนินงาน
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง
คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน
1. การผลิต (พันธุ์พืชเตรียมดินชลประทาน ฯลฯ)
2. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้งเครื่องสีข้าว การจาหน่าย)
3. การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่มฯลฯ)
4. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
6. สังคมและศาสนา
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สามเมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้วเกษตรกร
หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงินเช่น
ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร
หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
- เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
- เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก
(เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
แนวทางการดาเนินงาน
1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังพระราชดารัสว่า
. . . ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง. . .
2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม
ดังพระราชดารัสที่ว่า . . ความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพ
ของตนเป็นหลักสาคัญ. .
3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต
ซึ่งมีพระราชดารัสเรื่องนี้ว่า
. . . ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึงความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรมทั้งในเจตนา
และการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น. . .
4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้
โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคัญ
พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้ความชัดเจนว่า
. . การที่ต้องการให้ทุกคนพยายามที่ จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้เพื่อตนเอง
เพื่อที่จะให้ตัวเองมีความเป็นอยู่ที่ก้าวหน้าที่มีความสุข พอมีพอกินเป็นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป
ก็คือให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตัวเอง. . .
5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งนี้
เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่ดาเนินการโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราโชวาทว่า . . . พยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทาลายตัว ทาลายผู้อื่น พยายามลด
พยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่นั้น
ให้งอกงามสมบูรณ์ขึ้น. . .
ทรงย้าเน้นว่าคาสาคัญที่สุดคือ คาว่า "พอ"
ต้องสร้างความพอที่สมเหตุสมผลให้กับตัวเองให้ได้และเราก็จะพบกับความสุข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
30,000-50,000 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน /
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / /
3 จัดทาโครงร่างงาน / / / /
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / /
5 ปรับปรุงทดสอบ / / /
6 การทาเอกสารรายงาน / / /
7 ประเมินผลงาน / /
8 นาเสนอโครงงาน /
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สามารถนาข้อมูลทีได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
สถานที่ดาเนินการ
บ้านและทีดินของผู้จัดทาโครงงานนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน)
-http://www.loeitech.ac.th/web/news/2553/popeng.htm
-http://www.rta.mi.th/21610u/Data/Data_pro/Popeaing/1.htm
- http://www.eto.ku.ac.th/s-e/main-th.html
- http://xn--12cmc4a2ea2ac8bl2czera7lj.net/

More Related Content

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Chanika Panyana
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kh Ninnew
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Chanika Panyana
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Nathan Suwannathep
 
ใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงานใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงาน
Benz 'ExTreame
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
2793233922
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Swl Sky
 
โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้
satam14
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
Swl Sky
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Napatcha Jeno
 
โรค
โรคโรค
โรค
Oatty_CMU
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Suphawich Bunli
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
Suphawich Bunli
 
2559 project
2559 project 2559 project
โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง
mligarner7859
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
Kopter Kasidit
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
paifahnutya
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
Thanakorn Intrarat
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงงาน เลขที่-4-8 (2)
โครงงาน เลขที่-4-8 (2)โครงงาน เลขที่-4-8 (2)
โครงงาน เลขที่-4-8 (2)
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงานใบงานที่ 6 โครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้โครงงานน้ำตะไคร้
โครงงานน้ำตะไคร้
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โรค
โรคโรค
โรค
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง โครงงานน้ำผึ้ง
โครงงานน้ำผึ้ง
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นาย สัญชัยแท่นแก้ว เลขที่27ชั้นม.6ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นาย สัญชัยแท่นแก้วเลขที่ 27 ม.6/10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) เศรษฐกิจพอเพียง ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Sufficiency Economy ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาการศึกษาระบบเศรษฐกิจพอเพียง ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย สัญชัย แท่นแก้ว ม.6/10 เลขที่ 27 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2559
  • 3. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ความหมายคาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงความสามารถของชุมชน เมืองรัฐ หรือประเทศ ในการผลิตสินค้าและบริการเพื่อเลี้ยงสังคมนั้น ๆ โดยรู้จักการพึ่งพาตนเองเป็นสาคัญ และไม่พึ่งพาปัจจัยการผลิตอื่น ที่ตนเองไม่ได้เป็นเจ้าของ ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสก นิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี เพื่อนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตในยามที่ประเทศประสบปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจใน พ.ศ.2540 ภายหลังเมื่อได้ทรงเน้นย้าแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัฒน์ จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517ว่า “…การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้นต้องสร้างพื้นฐานคือความพอมีพอกินพอใช้ ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อนโดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานจากมั่นคงพร้อมพอสมควรและปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงโดยลาดับต่อไป…” ในพ.ศ. 2540เกิดปัญหาวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระราชดารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 4ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงอีกครั้ง เพื่อแนวทางแก้ปัญหาให้กับประเทศ “…การเป็นเสือนั้นไม่สาคัญสาคัญอยู่ที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกินแบบพอมีพอกินนั้น หมายความว่าอุ้มชูตนเองได้ให้มีพอเพียงกับตนเองอันนี้ก็เคยบอกว่าความพอเพียงไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิตอาหารของตัวจะต้องทอผ้าใส่เองอย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียงพอสมควรบางสิ่งบางอย่างที่ผลิตได้มากกว่าความต้องการก็ขายได้ แต่ขายในที่ไม่ห่างไกลเท่าไรไม่ต้องเสียค่าขนส่งมากนัก…” คาว่า “พอเพียง”จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเต้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา พระราชทานความหมายของคาว่า “พอเพียง”ไว้ว่า “…คาว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหนึ่งมีความหมายกว้างออกไปอีกไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เองเท่านั้น แต่มีความหมายว่าพอมีพอกินพอมีพอกินนี้แผลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนั้นเอง…” “…ให้เพียงพอนี้หมายความว่ามีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่ มเฟือยไม่หรูหราก็ได้แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่ มเฟื อยแต่ก็ทาให้มีความสุขถ้าทาได้ก็สมควรจะทาสมควรที่จะปฏิบัติ…” “…Self-sufficiency นั้นหมายความว่าผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอื่นอยู่ได้ด้วยตนเอง…”
  • 4. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ การทา โครงการเศรษฐกิจพอเพียงขนาดเล็ก 1. ต้องการให้ชีวิตได้อยู่กับ โลกสีเขียว ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี 2. ต้องการลดรายจ่าย และมีรายได้เสริมให้ครอบครัว ได้ออกกาลังกายไปในตัว 3. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ กับครอบครัวและมีความสุขจากการทางาน 4. เป็นที่พบปะ แขกญาติมิตรเพื่อนฝูง เพื่อพักผ่อน ในช่วงบั้นปลายชีวิต 5. ต้องการให้ลูกหลาน ได้ขยันปลูกฝังจิตใจ ตั้งแต่เล็กๆ ได้เรียนรู้ในระบบไร่นาสวนผสม 6. เป็นตัวอย่างแก่ประชาชนทั่วไป ที่มีความคิดอยากทาโครงการตามแนวทฤษฎีของท่านในหลวง 7. เพื่อสร้างมูลค่าที่ดิน คุณค่าของบุคลากรที่ทา และสร้างสินทรัพย์ที่ด้อย ให้มีราคาสูงขึ้น 8. เป็นที่อยู่อาศัยสัตว์น้า-สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า บริเวณใกล้เคียงที่ย้ายถิ่นฐานจากแหล่งที่ไม่สมบูรณ์มาหากิน อยู่ในโครงการฯ เป็นจานวนมากเพราะในโครงการฯ ไม่มีการใช้สารพิษ ต้องการให้เป็นระบบนิเวศวิทยา อย่างธรรมชาติให้มากที่สุด การนาหลักการง่ายๆ มาประยุกต์ใช้และยึดถือปฏิบัติ 1. จิตใจต้องเข้มแข็งสามารถต่อสู้กับวิกฤติต่างๆ ขณะทาโครงการฯ ระยะแรกได้ 2. ใช้ทุนเริ่มแรกแต่น้อย ใช้พื้นที่ในการทายังไม่มากนักให้พอกับแรงตัวเองก่อน 3. ไม่ลอกเลียนแบบของผู้อื่นมากเกินไปโดยที่ตัวเองมีปัจจัยพื้นฐานไม่เหมือนกัน 4. อย่าพึ่งหวังว่าโครงการฯ จะให้ผลตอบแทนทันทีทันใด เพียงแต่เป็นส่วหนึ่งส่วนหนึ่งของครอบครัวเราในเรื่องการใช้พื้นที่ว่าง-เวลาว่าง ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. โครงการฯ ไม่มีพิมพ์เขียวที่จะทาตามอย่างถูกต้อง ฉะนั้นจะต้องมีส่วนหนึ่งที่ต้องเรียนรู้ลองผิดลองถูก ด้วยตัวเอง ขอบเขตโครงงาน ๑. แผนงานเชื่อมโยงเครือข่ายเรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ๒. แผนงานพัฒนาวิชาการและส่งเสริมการศึกษาวิจัย ๓. แผนงานสร้างหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ๔. แผนงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และรณรงค์เพื่อสร้างกระแสสังคม หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทฤษฎีใหม่ขั้นต้นให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
  • 5. พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30%ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้นพืชผักพืชไร่ พืชสมุนไพรฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10%เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ วิธีดาเนินงาน ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน 1. การผลิต (พันธุ์พืชเตรียมดินชลประทาน ฯลฯ) 2. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้งเครื่องสีข้าว การจาหน่าย) 3. การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่มฯลฯ) 4. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) 5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) 6. สังคมและศาสนา ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สามเมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้วเกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงินเช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง) - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น แนวทางการดาเนินงาน 1. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชีพอย่างจริงจัง ดังพระราชดารัสว่า . . . ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง. . . 2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพก็ตาม ดังพระราชดารัสที่ว่า . . ความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหาเลี้ยงชีพ ของตนเป็นหลักสาคัญ. . 3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรงดังอดีต ซึ่งมีพระราชดารัสเรื่องนี้ว่า . . . ความสุขความเจริญอันแท้จริงนั้น หมายถึงความสุขความเจริญที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรมทั้งในเจตนา และการกระทา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญ หรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังมาจากผู้อื่น. . . 4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้ โดยต้องขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้เกิดมีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคัญ พระราชดารัสตอนหนึ่งที่ให้ความชัดเจนว่า . . การที่ต้องการให้ทุกคนพยายามที่ จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้มั่นคงนี้เพื่อตนเอง
  • 6. เพื่อที่จะให้ตัวเองมีความเป็นอยู่ที่ก้าวหน้าที่มีความสุข พอมีพอกินเป็นขั้นหนึ่งและขั้นต่อไป ก็คือให้มีเกียรติว่ายืนได้ด้วยตัวเอง. . . 5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดีลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งนี้ เพราะยังมีบุคคลจานวนมิใช่น้อยที่ดาเนินการโดยปราศจากละอายต่อแผ่นดิน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราโชวาทว่า . . . พยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็นเครื่องทาลายตัว ทาลายผู้อื่น พยายามลด พยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษาและเพิ่มพูนความดีที่มีอยู่นั้น ให้งอกงามสมบูรณ์ขึ้น. . . ทรงย้าเน้นว่าคาสาคัญที่สุดคือ คาว่า "พอ" ต้องสร้างความพอที่สมเหตุสมผลให้กับตัวเองให้ได้และเราก็จะพบกับความสุข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ 30,000-50,000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / 3 จัดทาโครงร่างงาน / / / / 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน / / 5 ปรับปรุงทดสอบ / / / 6 การทาเอกสารรายงาน / / / 7 ประเมินผลงาน / / 8 นาเสนอโครงงาน / ผลที่คาดว่าจะได้รับ สามารถนาข้อมูลทีได้ศึกษาไปใช้ในชีวิตประจาวัน สถานที่ดาเนินการ บ้านและทีดินของผู้จัดทาโครงงานนี้
  • 7. กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชา คณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน) -http://www.loeitech.ac.th/web/news/2553/popeng.htm -http://www.rta.mi.th/21610u/Data/Data_pro/Popeaing/1.htm - http://www.eto.ku.ac.th/s-e/main-th.html - http://xn--12cmc4a2ea2ac8bl2czera7lj.net/