SlideShare a Scribd company logo
63ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
เทวา คําปาเชื้อ*
à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
บทนํา
สองทศวรรษที่ผานมาเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามี
บทบาทในสังคมไทยเปนอยางมาก สงผลใหเกิดความ
สะดวกสบายในการดํารงชีวิตประจําวัน ทําใหเกิดรูปแบบ และ
โอกาสทางดานการศึกษาที่หลากหลาย ลดตนทุนในกระบวน
การผลิตทางดานอุตสาหกรรม และ เพิ่มศักยภาพในการ
แขงขันในการดําเนินธุรกิจและบริการ แทบทุกองคกรทั้ง
ภาครัฐและเอกชนไดมีพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน
การดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจของตนเอง ที่ผานมาการพัฒนา
ระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพนั้นนักพัฒนาไดใหความ
สําคัญทางดานประโยชนการใชงาน เสถียรภาพของระบบ
ความปลอดภัยของขอมูล และความสามารถการเพิ่มขยาย
ของระบบเทานั้น โดยไมไดมีการคํานึงถึงปจจัยทางดาน
สิ่งแวดลอมเลย เมื่อมีการศึกษาขอมูลทางดานการใชงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศในมุมมองที่แตกตางออกไปพบวา
เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นไมไดมีเพียงประโยชนอยางที่เราเคย
เขาใจ แตถาการประยุกตใชงานภายใตการจัดการที่ไมมี
ประสิทธิภาพที่ดีพอแลว เทคโนโลยีสารสนเทศเองก็จะเปน
ตัวตนเหตุของการเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมได แนวทาง
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
กําลังไดรับความสนใจศึกษาจากทั่วโลกภายใตคํานิยามใหม
ที่เรียกวาเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว (Green IT) ซึ่งเปนหนึ่ง
ในสิบเทคโนโลยีที่มีบทบาทสําคัญตอการขับเคลื่อนกลยุทธ
เทคโนโลยีสําหรับป 2009 นี้จากการจัดอันดับของบริษัทที่
ปรึกษาและวิจัยทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ [1] และยัง
ยืนยันไดจากสถิติของผูเขาชมงาน CeBIT2008 จากทั่วทุกมุม
โลกไดใหความสนใจกับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวนี้ถึง
รอยละ 53 [2] รวมไปถึงผลลัพธจากการคนคืนนับลานเว็บเพจ
ที่มีการกลาวถึงเรื่องนี้บนอินเทอรเน็ต [3] บทความนี้จึงได
นําเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวใน
มิติตางๆ เพื่อใหคนสวนใหญในสังคมไทยของเราไดเกิดความ
เขาใจสามารถนําไปใชเปนแนวทางเพื่อศึกษา และนําพา
เทคโนโลยีสารสนเทศที่อยูรอบตัวเขาใหเปนสีเขียวในเสนทาง
และทิศทางที่ถูกตองตอไป
คําสําคัญ: เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว
1. เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวคืออะไร
ผลการวิจัยของหนวยงานบริหารงานขอมูลทางดานพลังงาน
หรือ EPA แสดงใหเห็นวาสาเหตุหลักของการเกิดผลกระทบตอ
สิ่งแวดลอมคือการปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases)
รอยละ 87 ของการปลอยกาซนั้นเปนคารบอนไดออกไซด
(CO2
) ซึ่งกิจกรรมที่เกิดจากการใชพลังงานในชีวิตประจําวัน
ของคนเรานั้นสงผลใหเกิดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดถึง
รอยละ 98 [4],[5] โดยที่กวารอยละ2 เกิดจากกิจกรรมทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ [6] ประกอบไปดวยการใชงานพีซี และ
จอภาพรอยละ 39 เซิรฟเวอรรอยละ 23 การสื่อสารแบบสาย
รอยละ 15 การสื่อสารแบบไรสายรอยละ 9 ระบบเครือขายใน
สํานักงานรอยละ 7 และเครื่องพิมพรอยละ 6 [7] ทั่วโลกตาง
ตระหนักในปญหานี้และมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันที่
จะทําการศึกษา และคนหาแนวทางเพื่อแกไขปญหาวิกฤตนี้
รวมกันภายใตนิยามใหมที่เรียกวา เทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียว ซึ่งเปนแนวคิดเพื่อการศึกษาแนวทางปฏิบัติในการใช
พลังงานของอุปกรณทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหมี
ประสิทธิภาพมากที่สุด และการลดการปลอยกาซคารบอนได
ออกไซดที่เกิดจากกิจกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตั้งแตกระบวนการผลิต การใชงาน และการกําจัดเมื่อสิ้นอายุ
การใชงาน
2. เทคโนโลยีสีเขียวตางจากโลกสีเขียวอยางไร
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการปลอยกาซเรือนกระจก
ทําใหเกิดปรากฏการทางธรรมชาติที่ไมพึงประสงคตอมนุษยชาติ
ไดแก ภาวะโลกรอน ภัยธรรมชาติ และมลภาวะที่เปนพิษ
ในรูปแบบตางๆ องคกรโลกสีเขียวไดกอตั้งขึ้นมาเพื่อรณรงค
ใหความรูและความเขาใจในเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอมกับ
คนทั่วไป เพื่อปองกันสาเหตุของการเกิดผลกระทบดังกลาว
* คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
64 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
กิจกรรมหรือโครงการตางๆ ที่เกิดขึ้นมานั้นจะมุงเนนไปที่
บริบทที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมโดยตรงของแตละสังคมแตก็
มีวัตถุประสงคเดียวกันคือการเสริมสรางพฤติกรรมที่เปนมิตร
กับสิ่งแวดลอม แทบทุกคนลวนคุนเคยกับแนวทางปฏิบัติของ
โลกสีเขียวอันไดแก การใชรถสาธารณะแทนรถสวนตัว การคัด
แยกขยะการใชหลอดประหยัดไฟหรือการเปดเครื่องปรับอากาศ
ที่ 25 องศา เปนตน อาจจะกลาวไดวาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียวนั้นเปนสวนหนึ่งของโลกสีเขียวที่มุงเนนไปที่การ
เสริมสรางพฤติกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในบริบทของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นแนวคิดและแนวทางปฏิบัติจึงไป
ในทิศทางเดียวกัน คือ 3Rs (Reduce, Reuse และ Recycle)
เพียงแตรายละเอียดบางอยางอาจจะแตกตางออกไปบาง [8]
เพียงแตรายละเอียดบางอยางอาจจะแตกตางออกไปโดย
มุงเนนที่กิจกรรมทางดานสารสนเทศ และบริบทที่เกี่ยวของ
3. เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวมีความสําคัญอยางไร
การริเริ่ มแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวใน
องคกรสามารถทําใหองคกรนั้นเกิดประโยชนโดยตรงใน
เรื่องของการลดการใชพลังงานของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่
เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยี
สารสนเทศสีเขียวที่ครอบคลุมทั้งการวางแผน การประเมิน
การออกแบบ และการติดตามผลในเรื่ องเทคโนโลยี
กระบวนการและการจัดการ ยังสงผลทําใหองคกรสามารถ
ประเมิน และควบคุมการใชทรัพยากรไดอีกดวย นอกจากนั้น
องคกรยังเกิดผลพลอยไดของประโยชนในเชิงเศรษฐศาสตร
สิ่งแวดลอมและสังคม ไดแก การลดความซับซอนทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ การลดคาใชจาย การทํางานที่มี
คุณภาพ ขยายระยะเวลาในการลงทุนโครงสรางพื้นฐาน
ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการลดการปลอย
คารบอนไดออกไซด [9]
4. แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวเปนอยางไร
แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสีเขียวสวนใหญเกิดขึ้นจากความ
รวมมือของกลุมองคกรตางๆ ทั้งทางภาครัฐและเอกชนในกลุม
ประเทศที่พัฒนาแลวที่มีภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ เชน
บริษัทซอฟตแวรอยาง Microsoft และ IBM ที่นําเสนอ
แนวทางปฏิบัติทางดานเทคโนโลยีที่เปนโครงสรางพื้นฐานของ
เทคโนโลยีสีเขียว [5][10][11] หรือบริษัทที่ปรึกษาและวิจัย
ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง Gartner, Forrester และ
KPMG ที่นําเสนอแนวทางปฏิบัติทางดานการวางแผน
ขั้นตอน การปฏิบัติและการจัดการใหสอดคลองกับแนวคิด
เทคโนโลยีสีเขียว [7][9][12] หรือองคกรที่ไมแสวงผลกําไร
ตางๆ ที่เปนผูผลักดันมาตรฐาน และเครื่องมือวัดทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว [19],[23] และความรวมมือของ
รัฐบาลระหวางประเทศที่นําเสนอนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวของ
กับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว [24] - [26]
ถึงแมวาแตละองคกรจะมีบทบาท และความรับผิดชอบ
ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกตางกัน แตก็มีแนวทาง
ปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวในทิศทางเดียวกันคือ การ
เสริมสรางใหทุกคนตระหนักถึงการประหยัดพลังงานเมื่อใช
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เลือกซื้อเทคโนโลยีสารสนเทศที่
อนุรักษพลังงาน เลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการ
ใชทรัพยากรทางฮารดแวรรวมกัน รวมศูนยการจัดเก็บและ
การประมวลผลขอมูลไวที่เดียวกัน ติดตามเฝาดูการใช
พลังงานของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศอยางตอเนื่อง ใหมี
การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเต็มความสามารถ และ
เมื่อสิ้นอายุการใชงานของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศแลว
ตองมีการกําจัดที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม [4] ซึ่งเห็นไดวาแนว
ทางปฏิบัติที่กําหนดมานี้ไดใหความสําคัญในทุกขั้นตอนของ
วงจรชีวิตเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวสามารถ
พิจารณาไดหลายมุมมองดวยกัน ถามองในเชิงของการใชงาน
สามารถแบงได 4 ระดับไดแก การใชงานคอมพิวเตอร สวน
บุคคลการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหนวยงาน การใชงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร และการใชงานเทคโนโลยี
สารสนเทศระหวางองคกร รายละเอียดของแนวทางปฏิบัติของ
แตละระดับสามารถแสดงไดดังตารางที่ 1
ในมุมมองอื่นที่แตกตางออกไป สามารถมองไดในเชิงของ
องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ประกอบไปดวย
องคประกอบทางดานเทคโนโลยี ดานกระบวนการ และดาน
การจัดการ รายละเอียดขอปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว
ก็จะเปนการแนะนําวิธีการเลือกลักษณะขององคประกอบที่
เหมาะสมกับแตละองคกร ขณะที่ในเชิงของบทบาทของ
บุคลากรในองคกรที่แบงเปนผูบริหารซึ่งรับผิดชอบในเรื่องของ
การกําหนดนโยบาย และผูใชงานที่เปนผูนําเอานโยบายไป
ปฏิบัติใหเปนรูปธรรม นอกจากนั้นยังมีขอปฏิบัติที่เปน
แนวทางสําหรับผูผลิตสินคาและบริการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในอุตสาหกรรมอีกดวย [17]
65ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
5. เราสามารถเริ่มตนแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียวในองคกรไดอยางไร
การริเริ่มนําเอาแนวคิดหรือแนวทางปฏิบัติมาใชในองคกร
ควรเริ่มตนจากการสรางแผนเชิงปฏิบัติการของแตละองคกร
กอน ถึงแมวาจะมีเอกสารเผยแพรแนวทางการปฏิบัติ
เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวจากองคกรที่ประสบความสําเร็จ
แลวก็ใชวาจะสามารถนําเอามาใชในองคกรของเราไดเลยใน
ทันที เนื่องจากแตละองคกรมีเปาหมาย คุณลักษณะ และ
สภาวะแวดลอมที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามขอมูลเหลานี้ยังมี
ประโยชนเพื่อนํามาใชในการอางอิงได
Forrester [12] ซึ่งบริษัทที่ปรึกษาและวิจัยทางดาน
เทคโนโลยีสารสนเทศไดนําเสนอขั้นตอนของการสรางแผน
เชิงปฏิบัติการไว 4 ขั้นตอนดวยกัน ไดแก
5.1 การกําหนดเปาหมายของการริเริ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียว ในขั้นตอนนี้แตละองคกรตองระบุไดวาขอบเขตและ
สิ่งที่จําเปนตองมุงเนนคืออะไร ซึ่งจะขึ้นอยูกับบริบทของการ
ดําเนินธุรกิจ รูปแบบการบริหารงาน และโครงสรางพื้นฐาน
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศของแตละองคกรนั้นเปนอยางไร
รายงานวิจัยของForresterแสดงใหเห็นวาเปาหมายของบริษัท
สวนใหญที่เหมือนกันไดแก ลดการใชพลังงานโดยรวมของ
องคกร ปรับปรุงการใชงานอุปกรณทางดานเทคโนโลยี
สารสนเทศใหเต็มความสามารถ ทําใหการดําเนินกิจกรรมนั้น
สอดคลองกับสังคมและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ ใหมีการ
ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่รัฐบาลกําหนด
เพื่อนําไปลดหยอนภาษี
5.2 ประเมินสถานการณปจจุบันที่สัมพันธกับเปาหมายที่
กําหนดไว องคกรตองทําการจําแนกกิจกรรมภายในองคกรซึ่ง
อาจจะมีบางกิจกรรมที่อยูภายใตแนวทางการปฏิบัติเทคโนโลยี
สารสนเทศสีเขียวอยูแลว โดยเราจะพิจารณากิจกรรมที่ยัง
ไมเปนไปตามแนวทางปฏิบัติเทานั้น ถากิจกรรมใดตองการ
มาตรวัดเชิงปริมาณเราก็ตองมีการกําหนดเกณฑที่อางอิงจาก
เกณฑมาตรฐานจากหนวยงานภายนอกเชน คาประสิทธิภาพ
การใชพลังงาน (PUE) หรือ เกณฑมาตรฐานในการจัดซื้อ
อุปกรณทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนตน สุดทายองคกร
ตองกําหนดบทบาท และหนาที่ความรับผิดชอบใหกับกลุมคน
ที่เกี่ยวของกับแนวทางการปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว
อีกดวย
5.3 เริ่มจากสิ่งที่งายกอนเพื่อเปนการทําใหเกิดการตื่นตัว
ตอผูที่มีสวนรวม เชน การปดอุปกรณที่ไมไดใชงาน ตั้งโหมด
ประหยัดพลังงานใหกับอุปกรณ เริ่มตนการจัดซื้ออุปกรณตาม
ระดับการใชงาน เทคโนโลยี สถาปตยกรรม แนวทางปฏิบัติ
การใชงานสวนบุคคล Standalone PC Distributed 1. เลือกใชโนตบุคที่ประหยัดพลังงานไฟฟามากกวาพีซีถึงรอยละ 90 [13]
Local disk 2. เลือกใชรุนที่เหมาะสมกับการทํางานและมี Energy Star 4.0 [14]
3. ตั้งโหมดประหยัดพลังงานและปดเครื่องเมื่อเลิกทํางานหรือเวลาพัก [15]
4. ถาตองเปลี่ยนเครื่องใหมควรมอบใหคนที่ตองการเพื่อนํากลับไปใชใหม
การใชงานในหนวยงาน Client/Server, N-tier Centralized 1. เลือกใชเซิรฟเวอรที่รองรับเทคโนโลยี Virtualization [16]
DB Server 2. ติดตั้งระบบควบคุมการใชพลังไฟฟาแบบอัตโนมัติในหองเซิรฟเวอร
LAN 3. ใช Wireless เพื่อลดการใชสาย [17]
4. เลือกใชอุปกรณแบบ Multi-function [18]
5. จัดสรรอุปกรณใหเหมาะสมกับการใชงาน
การใชงานในองคกร Server Virtualization Centralized 1. รวมเซิรฟเวอรใหเปนศูนยขอมูล
2. ใช เซิรฟเวอรแบบ Virtualization
3. กําหนดรูปแบบการจัดการการใชพลังงานไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ
ภายในศูนยขอมูลที่ PUE~3 [19][20][21]
การใชงานระหวางองคกร Cloud platform Virtual 1. สามารถเลือกขอใชบริการบางอยางที่ซับซอนจากผูบริการ
Cloud storage ภายนอกองคกรเพื่อลดตนทุน [22]
Internet
ตารางที่ 1 แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวแบงตามระดับการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
66 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
เกณฑมาตรฐาน Energy Star 4.0 หรือปรับปรุงระบบระบาย
อากาศใหกับศูนยขอมูล เปนตน
5.4 นําเอาแผนเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว
นี้ไปเผยแพรใหกับคนในองคกรเพื่อใหทุกคนไดเกิดความเขาใจ
ในแนวคิดและกิจกรรมอยางชัดเจน ตองพยายามใหทุกคนได
มีสวนรวมในกิจกรรมมากที่สุดเพื่อใหเขามีความรูสึกวาได
เปนสวนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลง อาจจะมีการคิดกิจกรรมเสริม
แรงจูงใจในรูปแบบของการแขงขัน เชนกําหนดรางวัลสําหรับ
คนที่คิดสัญลักษณของโครงการ หรือรางวัลสําหรับกลุมคนที่
มีความกาวหนาในการดําเนินกิจกรรม ถาเกิดมีคนที่อยากเขา
มามีสวนรวมในการวางแผนองคกรควรมพื้นที่ใหเขาไดเขามา
รวมระดมสมองและนําเสนอแนวคิดใหมๆ แตแนวทางที่กลาว
มาอาจจะไมสามารถนําไปใชไดกับทุกองคกรเนื่องจากบาง
องคกรอาจมีคนสวนใหญที่ตอตานการเปลี่ยนแปลงในกรณีนี้
องคกรตองใชที่ปรึกษาหรือผูที่เชี่ยวชาญในเรื่องของการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
นอกการจัดทําแผนเชิงปฏิบัติการแลว องคกรตองจัดทํา
เครื่องมือสําหรับใชติดตามและประเมินความกาวหนาของการ
ดําเนินกิจกรรมที่ตองทันสมัยตลอดเวลาประกอบดวย สิ่งที่
องคกรคาดหวังไวเพื่อใชมาตรวัดเชน คุณลักษณะของตัวแทน
จําหนายคุณลักษณะของอุปกรณ หรือคาประสิทธิภาพการใช
พลังงาน โดยสามารถกําหนดขึ้นไดจากเกณฑมาตรฐานสากล
เมื่อมีบางกิจกรรมที่ไมเปนไปตามที่องคกรคาดหวังไวจะตอง
เตรียมแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพที่มีความเหมาะสม
รองรับไวดวย แตในสวนนี้จะพิจารณาเฉพาะการปรับเปลี่ยน
ในเชิงองคประกอบเทานั้น แตถาสิ่งที่ไมตรงกับความคาดหวัง
นั้นเกิดจากโครงสรางพื้นฐานและสถาปตยกรรมทางเทคโนโลยี
สารสนเทศแลว การแกปญหาตองอาศัยการเพิ่มทุนซึ่งการ
ตัดสินใจตองอยูบนพื้นฐานขอมูลที่ไดจากการศึกษาทั้งในเรื่อง
ความเสี่ยง และความคุมทุนในระยะยาว สุดทายเมื่อการ
ดําเนินกิจกรรมใดที่ประสบผลสําเร็จหรือเปนไปตามที่คาดหวัง
แนวทางปฏิบัติทางสารสนเทศสีเขียวนี้จะถูกปรับเปลี่ยนใหเปน
ขอปฏิบัติอยางเปนทางการขององคกรไปโดยปริยาย
6. อนาคตของเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวเปนอยางไร
การนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวมาริเริ่มใช
เปนแนวทางการปฏิบัติจริงจัง และแพรหลายไดเกิดขึ้นแลว
เมื่อสองปที่ผานมา [12],[24] องคกรทั้งทางภาครัฐและเอกชน
ไดมีการตื่นตัวไมวาจะเปนการจัดสรรงบประมาณการวิจัย
หรือการรวมมือกันเพื่อศึกษาและพัฒนากลยุทธที่เกี่ยวของกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว ในอนาคตอันใกลนี้ประเด็นที่
ทั่วโลกใหความสนใจไดแกการกําหนดมาตรฐานและเครื่องมือ
ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมเพื่อนํามาปรับใชในกิจกรรมควบคุม
การใชพลังงาน [27] ยกระดับการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ที่มุงเนนการใชงานทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐานรวมกัน
ทั้งเทคโนโลยี Visualization [16] หรือ Could computing [22]
นําเอานวัตกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับเปลี่ยน
รูปแบบการทํางานใหเปนแบบ Collaborative work เพื่อลด
การเดินทาง การใชทรัพยากร ประหยัดทั้งเวลา และพลังงาน
อีกดวย [28],[29] และการคิดคนวิธีการนําเอาอุปกรณทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหม หรือทําใหเกิดขยะที่อันตราย
นอยที่สุดภายใตแนวคิด 3Rs [30]
7. บทสรุป
ทั่วโลกตางใหความสําคัญกับการปลอยกาซเรื่อนกระจก
ที่สงผลตอสิ่งแวดลอม ทุกคนตางรวมมือกันศึกษาหาสาเหตุ
และแนวทางการปฏิบัติเพื่อใหการดําเนินกิจกรรมใหเปนมิตร
ตอสิ่งแวดลอมใหมากที่สุด ประเทศไทยของเราตองเขามารวม
รับผิดชอบในประเด็นนี้ดวย เนื่องจากประเทศของเรามีปริมาณ
การใชถานหินในอันดับที่ 5 (รอยละ 12) ของโลก [11] ซึ่ง
สวนใหญจะใชในการผลิตพลังงานไฟฟา ถึงแมวายังไมมี
รายงานการวิจัยมายืนยันผูเขียนมีความเชื่อวาปริมาณของ
พลังงานไฟฟาที่นํามาใชในกิจกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศตอง
อยูในอันดับตน ๆ เพื่อใหกิจกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และเปนเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยั่งยืน
องคกรที่เกี่ยวของตองเริ่มนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียวมาปรับใชภายในองคกร
ความสําเร็จของการนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียวมาปรับใชนั้นตองเกิดจากความรวมมือในวงกวางทั้งจาก
องคกรภาครัฐและเอกชน เนื่องจากวงจรชีวิตของเทคโนโลยี
สารสนเทศนั้นไดเชื่อมตอทุกภาคสวนเขาไวดวยกันแลว ซึ่งจะ
ตองมีการปฏิบัติจากดานบนลงมาสูดานลางในรูปแบบของการ
กําหนดนโยบายสาธารณะ ออกกฎหมายทางดานสิ่งแวดลอม
จัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบตั้งแตกระบวนการผลิตจนถึงกําจัด
เมื่อหมดอายุการใชงานแลว ในขณะเดียวกันก็มีการปฏิบัติ
จากดานลางขึ้นไปสูดานบนดวย โดยทุกคนตองตระหนักถึง
ปญหาดังกลาว และรวมมือกันในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ใหเกิดนิสัยการใชทรัพยากรและพลังงานอยางประหยัด
67ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
รายละเอียดเนื้อหาที่นําเสนอในบทความนี้ เปนเพียงสวน
หนึ่งของแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวยังมีสิ่งที่นาสนใจ
ใหทุกคนไดเขาไปการศึกษาและคนควาประเด็นที่ไมไดกลาว
ถึงบทความนี้ เชน ความทาทายในการปรับเปลี่ยนโครงสราง
พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากหลายเซิรฟเวอรมาเปน
เซิรฟเวอรเดียววาทฤษฎีกับความเปนจริงตางกันอยางไรการ
เปรียบเทียบสถาปตยกรรมแบบกระจาย และรวมศูนยใคร
เขียวกวากันเนื่องจากผูผลิตตางอางวาผลิตภัณฑของตัวเอง
เขียวกวา และการนําเอาแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ
สีเขียวของกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่สวนใหญอยูในภูมิประเทศ
ที่มีอากาศหนาว มาปรับใชกับประเทศไทยที่ภูมิประเทศที่มี
อากาศรอนไดหรือไม
จากประสบการณการดําเนินกิจกรรมแนวทางปฏิบัติ
เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวอยางไมเปนทางการภายใน
หนวยงานไดแก การสงงานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส การ
ใชงานระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส การเลือกซื้ออุปกรณแบบ
Multi-Functions การนําเอาครุภัณฑคอมพิวเตอรที่เลิกใช
แลวไปติดตั้งใหหนวยงานอื่น และการคิดกอนพิมพ ประโยชน
ที่เห็นไดโดยตรงกับหนวยงานคือ การประหยัดทรัพยากร
ลดขยะที่อยูในรูปแบบของรายงาน และความสะดวกในการ
รับขอมูลขาวสารภายในและระหวางหนวยงาน สามารถยืนยัน
ไดวาถาเกิดมีการริเริ่มโครงการที่เปนทางการภายใตการวางแผน
กลยุทธที่มีความเหมาะสมกับบริบทขององคกรแลว กิจกรรม
ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกรก็จะเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม และเปนเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยั่งยืนตามที่
คาดหวังไวได
เอกสารอางอิง
[1] Univa, U.D. “Putting the green in Green IT”, Univa
UD report, 2008.
[2] Scheer August-Wilhelm, “CeBIT green IT World”,
BITKOM paper, 2008.
[3] www.google.com
[4] Molly, A. O’Neill, “What Does “Going Green” with
Information TechnologyMea”,IntergovernmentSoluti
onNewsletter:GreenIT,Issue 21,pp.4-5,Fall. 2008.
[5] Francis Kevin and Richardson Peter, “Green Maturity
Model for Virtualization”, Green Computing: The
ArchitectureJournal#18,Microsoft,pp.35-41,2008.
[6] Fujitsu, “Howto make going GREENgood business
sense”, S4B Strategy forBusiness, Issue 31, pp.
1-2, winter. 2008.
[7] Mingay Simon, “Green IT: A New Industry Shock
Wave”, Gartnerpresentation, 2008.
[8] Vittie Lori Mac, “Green IT: The Three Rs”, F5White
Paper, 2008.
[9] LLP KPMG, “Green IT and the Bottom line”, IT
Adisory, KPMG LLP, 2008.
[10] Curtis Lewis, “Environmentally Sustainable
Infrastructure Design”, Green Computing: The
ArchitectureJournal#18,Microsoft,pp. 2-8, 2008.
[11] IBM, “Green IT’ – the next burning issue for
business”, IBMGlobalTechnologyServices,2007.
[12] Mines Christopher, “Creating the Green IT Action
Plan for CIOs”, ForresterResearch, 2007.
[13] GSA, “Australia’s ICT Environmental Impact
Checklist”, IntergovernmentSolutionNewsletter:
Green IT, Issue 21, Fall. 2008.
[14] Bhandarkar Dileep, “Green IT– Dare to take the first
step!”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp.
70-71, March. 2008.
[15] Bayer Martin, “The rightpath to energy-saving PCs”,
GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 48-49,
March. 2008.
[16] Niemann Frank, “Virtualization saves energy”,
GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 34-35,
March. 2008.
[17] Bayer Martin, “Storage and network-hidden energy
guzzlers”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine,
39-41, March. 2008.
[18] Meyer Jan-Bernd, “Save money with intelligent
printing”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine,
pp. 54-55,March. 2008.
[19] The Green Grid, “The Green Grid: Establishing
Greater Energy Efficiency in Data Centers”,
IntergovernmentSolutionNewsletter: GreenIT,
Issue 21, pp. 7-8, Fall. 2008.
[20] Vaske Heinrich, “Curbing power consumption in the
68 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552
º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT)
data center”, GreenIT-Guide:TheCeBITMagazine,
pp. 20-23,March. 2008.
[21] Nunn Stephen, “Green IT: beyond the data center
How IT can contribute to the environmental agenda
across and beyond the business”, Technology
Consulting,Accenture, 2007.
[22] McQueeney David, “Achieving a Green IT Strategy
through CloudComputing”, IntergovernmentSolution
Newsletter:GreenIT, Issue 21, pp. 18-19, Fall. 2008
[23] O’Brien Sarah, “Environmental Benefits of EPEAT
IT Purchasing System”, IntergovernmentSolution
Newsletter: Green IT, Issue 21, Fall. 2008.
[24] Skirbunt Thomas, “Green IT Approaches Span the
Globe”, Intergovernment Solution Newsletter:
Green IT, Issue 21, Fall. 2008.
[25] Meskell Darlence, “Green IT Is Essential to Green
Government”, IntergovernmentSolutionNewsletter:
Green IT, Issue 21, pp. 1-3, Fall. 2008.
[26] Jamison Stephanie,Eric G.Brown and Chistina Lee,
“Green ITin Enterprise Practices:The Essential Role
of the State CIO”, NASCIO: Representing Chief
Information Officer of the States, 2008.
[27] Klippstatter Kriemhilde, “Measuring energyefficiency
– haw can you do it?”, GreenIT-Guide:The CeBIT
Magazine, pp. 80-82, March. 2008.
[28] Federal Tandberg, “Environmental and Corporate
Benefits of Telework”, Intergovernment Solution
Newsletter:GreenIT,Issue 21,pp.18-19,Fall.2008
[29] Ternbull Susan, “Collaborative Work is Green by
Nature”, Intergovernment Solution Newsletter:
Green IT, Issue 21, pp. 12-13, Fall. 2008.
[30] FreimarkAlexander, “Recycling strikes gold”,
GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 76-77,
March. 2008.

More Related Content

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว

ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
สราวุฒิ จบศรี
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
worsak kanok-nukulchai
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
thanaruk theeramunkong
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29
choyoungjy_97
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Pisuth paiboonrat
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
Boonlert Aroonpiboon
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
Sumet Ratprachum
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
kruood
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
Boonlert Aroonpiboon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว (20)

7
77
7
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk190828 royal council (5) sirirerk
190828 royal council (5) sirirerk
 
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-2019083101 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
01 sirirurg-songsivilai-royin-20190831
 
โครงงาน_29
โครงงาน_29โครงงาน_29
โครงงาน_29
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
แบบร่าง
แบบร่างแบบร่าง
แบบร่าง
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
 
2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report2009 stks-annual-report
2009 stks-annual-report
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
1กิจกรรมที่ 1 การสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2562
 
Digital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for EducationDigital Textbooks & Technology for Education
Digital Textbooks & Technology for Education
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
499 1 (1)
499 1 (1)499 1 (1)
499 1 (1)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 

More from นู๋ เฟิร์น

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
นู๋ เฟิร์น
 
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัลบริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
นู๋ เฟิร์น
 
E learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
E   learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศE   learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
E learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
นู๋ เฟิร์น
 
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
นู๋ เฟิร์น
 
นาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีนาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยี
นู๋ เฟิร์น
 
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียดฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
นู๋ เฟิร์น
 
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชนบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
นู๋ เฟิร์น
 
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
นู๋ เฟิร์น
 
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
นู๋ เฟิร์น
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกลเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
นู๋ เฟิร์น
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกลเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
นู๋ เฟิร์น
 
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
นู๋ เฟิร์น
 

More from นู๋ เฟิร์น (12)

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัลบริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
บริการสารสนเทศในยุคดิจิตัล
 
E learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
E   learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศE   learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
E learing : ผลกระทบต่อห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ
 
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
เว็บบล็อกเทคโนโลยีเพื่อการจัดการความรู้
 
นาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยีนาโนเทคโนโลยี
นาโนเทคโนโลยี
 
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียดฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
ฟังไม่ได้ศัพท์ (เทคโนโลยีสารสนเทศ) จับมากระเดียด
 
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชนบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อเด็กและเยาวชน
 
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
แนวโน้มเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์สารสนเทศและการสื่อสารที่มีบทบาทสำคัญต่อชีวิตและควา...
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกลเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกลเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาทางไกล
 
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
ถึงยุคที่เราต้องรีบบริโภคสื่อจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ตามยถากรรม อีกแล้วหรือนี่!
 

เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว

  • 1. 63ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) เทวา คําปาเชื้อ* à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) บทนํา สองทศวรรษที่ผานมาเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามี บทบาทในสังคมไทยเปนอยางมาก สงผลใหเกิดความ สะดวกสบายในการดํารงชีวิตประจําวัน ทําใหเกิดรูปแบบ และ โอกาสทางดานการศึกษาที่หลากหลาย ลดตนทุนในกระบวน การผลิตทางดานอุตสาหกรรม และ เพิ่มศักยภาพในการ แขงขันในการดําเนินธุรกิจและบริการ แทบทุกองคกรทั้ง ภาครัฐและเอกชนไดมีพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุน การดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจของตนเอง ที่ผานมาการพัฒนา ระบบสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพนั้นนักพัฒนาไดใหความ สําคัญทางดานประโยชนการใชงาน เสถียรภาพของระบบ ความปลอดภัยของขอมูล และความสามารถการเพิ่มขยาย ของระบบเทานั้น โดยไมไดมีการคํานึงถึงปจจัยทางดาน สิ่งแวดลอมเลย เมื่อมีการศึกษาขอมูลทางดานการใชงาน เทคโนโลยีสารสนเทศในมุมมองที่แตกตางออกไปพบวา เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นไมไดมีเพียงประโยชนอยางที่เราเคย เขาใจ แตถาการประยุกตใชงานภายใตการจัดการที่ไมมี ประสิทธิภาพที่ดีพอแลว เทคโนโลยีสารสนเทศเองก็จะเปน ตัวตนเหตุของการเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอมได แนวทาง การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม กําลังไดรับความสนใจศึกษาจากทั่วโลกภายใตคํานิยามใหม ที่เรียกวาเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว (Green IT) ซึ่งเปนหนึ่ง ในสิบเทคโนโลยีที่มีบทบาทสําคัญตอการขับเคลื่อนกลยุทธ เทคโนโลยีสําหรับป 2009 นี้จากการจัดอันดับของบริษัทที่ ปรึกษาและวิจัยทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ [1] และยัง ยืนยันไดจากสถิติของผูเขาชมงาน CeBIT2008 จากทั่วทุกมุม โลกไดใหความสนใจกับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวนี้ถึง รอยละ 53 [2] รวมไปถึงผลลัพธจากการคนคืนนับลานเว็บเพจ ที่มีการกลาวถึงเรื่องนี้บนอินเทอรเน็ต [3] บทความนี้จึงได นําเสนอเนื้อหาที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวใน มิติตางๆ เพื่อใหคนสวนใหญในสังคมไทยของเราไดเกิดความ เขาใจสามารถนําไปใชเปนแนวทางเพื่อศึกษา และนําพา เทคโนโลยีสารสนเทศที่อยูรอบตัวเขาใหเปนสีเขียวในเสนทาง และทิศทางที่ถูกตองตอไป คําสําคัญ: เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว 1. เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวคืออะไร ผลการวิจัยของหนวยงานบริหารงานขอมูลทางดานพลังงาน หรือ EPA แสดงใหเห็นวาสาเหตุหลักของการเกิดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอมคือการปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse gases) รอยละ 87 ของการปลอยกาซนั้นเปนคารบอนไดออกไซด (CO2 ) ซึ่งกิจกรรมที่เกิดจากการใชพลังงานในชีวิตประจําวัน ของคนเรานั้นสงผลใหเกิดการปลอยกาซคารบอนไดออกไซดถึง รอยละ 98 [4],[5] โดยที่กวารอยละ2 เกิดจากกิจกรรมทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ [6] ประกอบไปดวยการใชงานพีซี และ จอภาพรอยละ 39 เซิรฟเวอรรอยละ 23 การสื่อสารแบบสาย รอยละ 15 การสื่อสารแบบไรสายรอยละ 9 ระบบเครือขายใน สํานักงานรอยละ 7 และเครื่องพิมพรอยละ 6 [7] ทั่วโลกตาง ตระหนักในปญหานี้และมีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันที่ จะทําการศึกษา และคนหาแนวทางเพื่อแกไขปญหาวิกฤตนี้ รวมกันภายใตนิยามใหมที่เรียกวา เทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียว ซึ่งเปนแนวคิดเพื่อการศึกษาแนวทางปฏิบัติในการใช พลังงานของอุปกรณทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศใหมี ประสิทธิภาพมากที่สุด และการลดการปลอยกาซคารบอนได ออกไซดที่เกิดจากกิจกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ตั้งแตกระบวนการผลิต การใชงาน และการกําจัดเมื่อสิ้นอายุ การใชงาน 2. เทคโนโลยีสีเขียวตางจากโลกสีเขียวอยางไร ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจากการปลอยกาซเรือนกระจก ทําใหเกิดปรากฏการทางธรรมชาติที่ไมพึงประสงคตอมนุษยชาติ ไดแก ภาวะโลกรอน ภัยธรรมชาติ และมลภาวะที่เปนพิษ ในรูปแบบตางๆ องคกรโลกสีเขียวไดกอตั้งขึ้นมาเพื่อรณรงค ใหความรูและความเขาใจในเรื่องการอนุรักษสิ่งแวดลอมกับ คนทั่วไป เพื่อปองกันสาเหตุของการเกิดผลกระทบดังกลาว * คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
  • 2. 64 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) กิจกรรมหรือโครงการตางๆ ที่เกิดขึ้นมานั้นจะมุงเนนไปที่ บริบทที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมโดยตรงของแตละสังคมแตก็ มีวัตถุประสงคเดียวกันคือการเสริมสรางพฤติกรรมที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม แทบทุกคนลวนคุนเคยกับแนวทางปฏิบัติของ โลกสีเขียวอันไดแก การใชรถสาธารณะแทนรถสวนตัว การคัด แยกขยะการใชหลอดประหยัดไฟหรือการเปดเครื่องปรับอากาศ ที่ 25 องศา เปนตน อาจจะกลาวไดวาเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียวนั้นเปนสวนหนึ่งของโลกสีเขียวที่มุงเนนไปที่การ เสริมสรางพฤติกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในบริบทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนั้นแนวคิดและแนวทางปฏิบัติจึงไป ในทิศทางเดียวกัน คือ 3Rs (Reduce, Reuse และ Recycle) เพียงแตรายละเอียดบางอยางอาจจะแตกตางออกไปบาง [8] เพียงแตรายละเอียดบางอยางอาจจะแตกตางออกไปโดย มุงเนนที่กิจกรรมทางดานสารสนเทศ และบริบทที่เกี่ยวของ 3. เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวมีความสําคัญอยางไร การริเริ่ มแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวใน องคกรสามารถทําใหองคกรนั้นเกิดประโยชนโดยตรงใน เรื่องของการลดการใชพลังงานของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่ เกี่ยวของกับเทคโนโลยีสารสนเทศแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยี สารสนเทศสีเขียวที่ครอบคลุมทั้งการวางแผน การประเมิน การออกแบบ และการติดตามผลในเรื่ องเทคโนโลยี กระบวนการและการจัดการ ยังสงผลทําใหองคกรสามารถ ประเมิน และควบคุมการใชทรัพยากรไดอีกดวย นอกจากนั้น องคกรยังเกิดผลพลอยไดของประโยชนในเชิงเศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอมและสังคม ไดแก การลดความซับซอนทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศ การลดคาใชจาย การทํางานที่มี คุณภาพ ขยายระยะเวลาในการลงทุนโครงสรางพื้นฐาน ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ และการลดการปลอย คารบอนไดออกไซด [9] 4. แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวเปนอยางไร แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสีเขียวสวนใหญเกิดขึ้นจากความ รวมมือของกลุมองคกรตางๆ ทั้งทางภาครัฐและเอกชนในกลุม ประเทศที่พัฒนาแลวที่มีภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการ เชน บริษัทซอฟตแวรอยาง Microsoft และ IBM ที่นําเสนอ แนวทางปฏิบัติทางดานเทคโนโลยีที่เปนโครงสรางพื้นฐานของ เทคโนโลยีสีเขียว [5][10][11] หรือบริษัทที่ปรึกษาและวิจัย ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง Gartner, Forrester และ KPMG ที่นําเสนอแนวทางปฏิบัติทางดานการวางแผน ขั้นตอน การปฏิบัติและการจัดการใหสอดคลองกับแนวคิด เทคโนโลยีสีเขียว [7][9][12] หรือองคกรที่ไมแสวงผลกําไร ตางๆ ที่เปนผูผลักดันมาตรฐาน และเครื่องมือวัดทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว [19],[23] และความรวมมือของ รัฐบาลระหวางประเทศที่นําเสนอนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวของ กับเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว [24] - [26] ถึงแมวาแตละองคกรจะมีบทบาท และความรับผิดชอบ ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่แตกตางกัน แตก็มีแนวทาง ปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวในทิศทางเดียวกันคือ การ เสริมสรางใหทุกคนตระหนักถึงการประหยัดพลังงานเมื่อใช งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เลือกซื้อเทคโนโลยีสารสนเทศที่ อนุรักษพลังงาน เลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่สนับสนุนการ ใชทรัพยากรทางฮารดแวรรวมกัน รวมศูนยการจัดเก็บและ การประมวลผลขอมูลไวที่เดียวกัน ติดตามเฝาดูการใช พลังงานของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศอยางตอเนื่อง ใหมี การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเต็มความสามารถ และ เมื่อสิ้นอายุการใชงานของอุปกรณเทคโนโลยีสารสนเทศแลว ตองมีการกําจัดที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม [4] ซึ่งเห็นไดวาแนว ทางปฏิบัติที่กําหนดมานี้ไดใหความสําคัญในทุกขั้นตอนของ วงจรชีวิตเทคโนโลยีสารสนเทศ แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวสามารถ พิจารณาไดหลายมุมมองดวยกัน ถามองในเชิงของการใชงาน สามารถแบงได 4 ระดับไดแก การใชงานคอมพิวเตอร สวน บุคคลการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศในหนวยงาน การใชงาน เทคโนโลยีสารสนเทศในองคกร และการใชงานเทคโนโลยี สารสนเทศระหวางองคกร รายละเอียดของแนวทางปฏิบัติของ แตละระดับสามารถแสดงไดดังตารางที่ 1 ในมุมมองอื่นที่แตกตางออกไป สามารถมองไดในเชิงของ องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ประกอบไปดวย องคประกอบทางดานเทคโนโลยี ดานกระบวนการ และดาน การจัดการ รายละเอียดขอปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว ก็จะเปนการแนะนําวิธีการเลือกลักษณะขององคประกอบที่ เหมาะสมกับแตละองคกร ขณะที่ในเชิงของบทบาทของ บุคลากรในองคกรที่แบงเปนผูบริหารซึ่งรับผิดชอบในเรื่องของ การกําหนดนโยบาย และผูใชงานที่เปนผูนําเอานโยบายไป ปฏิบัติใหเปนรูปธรรม นอกจากนั้นยังมีขอปฏิบัติที่เปน แนวทางสําหรับผูผลิตสินคาและบริการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ในอุตสาหกรรมอีกดวย [17]
  • 3. 65ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) 5. เราสามารถเริ่มตนแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียวในองคกรไดอยางไร การริเริ่มนําเอาแนวคิดหรือแนวทางปฏิบัติมาใชในองคกร ควรเริ่มตนจากการสรางแผนเชิงปฏิบัติการของแตละองคกร กอน ถึงแมวาจะมีเอกสารเผยแพรแนวทางการปฏิบัติ เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวจากองคกรที่ประสบความสําเร็จ แลวก็ใชวาจะสามารถนําเอามาใชในองคกรของเราไดเลยใน ทันที เนื่องจากแตละองคกรมีเปาหมาย คุณลักษณะ และ สภาวะแวดลอมที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามขอมูลเหลานี้ยังมี ประโยชนเพื่อนํามาใชในการอางอิงได Forrester [12] ซึ่งบริษัทที่ปรึกษาและวิจัยทางดาน เทคโนโลยีสารสนเทศไดนําเสนอขั้นตอนของการสรางแผน เชิงปฏิบัติการไว 4 ขั้นตอนดวยกัน ไดแก 5.1 การกําหนดเปาหมายของการริเริ่มเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียว ในขั้นตอนนี้แตละองคกรตองระบุไดวาขอบเขตและ สิ่งที่จําเปนตองมุงเนนคืออะไร ซึ่งจะขึ้นอยูกับบริบทของการ ดําเนินธุรกิจ รูปแบบการบริหารงาน และโครงสรางพื้นฐาน ทางเทคโนโลยีสารสนเทศของแตละองคกรนั้นเปนอยางไร รายงานวิจัยของForresterแสดงใหเห็นวาเปาหมายของบริษัท สวนใหญที่เหมือนกันไดแก ลดการใชพลังงานโดยรวมของ องคกร ปรับปรุงการใชงานอุปกรณทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศใหเต็มความสามารถ ทําใหการดําเนินกิจกรรมนั้น สอดคลองกับสังคมและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ ใหมีการ ใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพตามเกณฑที่รัฐบาลกําหนด เพื่อนําไปลดหยอนภาษี 5.2 ประเมินสถานการณปจจุบันที่สัมพันธกับเปาหมายที่ กําหนดไว องคกรตองทําการจําแนกกิจกรรมภายในองคกรซึ่ง อาจจะมีบางกิจกรรมที่อยูภายใตแนวทางการปฏิบัติเทคโนโลยี สารสนเทศสีเขียวอยูแลว โดยเราจะพิจารณากิจกรรมที่ยัง ไมเปนไปตามแนวทางปฏิบัติเทานั้น ถากิจกรรมใดตองการ มาตรวัดเชิงปริมาณเราก็ตองมีการกําหนดเกณฑที่อางอิงจาก เกณฑมาตรฐานจากหนวยงานภายนอกเชน คาประสิทธิภาพ การใชพลังงาน (PUE) หรือ เกณฑมาตรฐานในการจัดซื้อ อุปกรณทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนตน สุดทายองคกร ตองกําหนดบทบาท และหนาที่ความรับผิดชอบใหกับกลุมคน ที่เกี่ยวของกับแนวทางการปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว อีกดวย 5.3 เริ่มจากสิ่งที่งายกอนเพื่อเปนการทําใหเกิดการตื่นตัว ตอผูที่มีสวนรวม เชน การปดอุปกรณที่ไมไดใชงาน ตั้งโหมด ประหยัดพลังงานใหกับอุปกรณ เริ่มตนการจัดซื้ออุปกรณตาม ระดับการใชงาน เทคโนโลยี สถาปตยกรรม แนวทางปฏิบัติ การใชงานสวนบุคคล Standalone PC Distributed 1. เลือกใชโนตบุคที่ประหยัดพลังงานไฟฟามากกวาพีซีถึงรอยละ 90 [13] Local disk 2. เลือกใชรุนที่เหมาะสมกับการทํางานและมี Energy Star 4.0 [14] 3. ตั้งโหมดประหยัดพลังงานและปดเครื่องเมื่อเลิกทํางานหรือเวลาพัก [15] 4. ถาตองเปลี่ยนเครื่องใหมควรมอบใหคนที่ตองการเพื่อนํากลับไปใชใหม การใชงานในหนวยงาน Client/Server, N-tier Centralized 1. เลือกใชเซิรฟเวอรที่รองรับเทคโนโลยี Virtualization [16] DB Server 2. ติดตั้งระบบควบคุมการใชพลังไฟฟาแบบอัตโนมัติในหองเซิรฟเวอร LAN 3. ใช Wireless เพื่อลดการใชสาย [17] 4. เลือกใชอุปกรณแบบ Multi-function [18] 5. จัดสรรอุปกรณใหเหมาะสมกับการใชงาน การใชงานในองคกร Server Virtualization Centralized 1. รวมเซิรฟเวอรใหเปนศูนยขอมูล 2. ใช เซิรฟเวอรแบบ Virtualization 3. กําหนดรูปแบบการจัดการการใชพลังงานไฟฟาที่มีประสิทธิภาพ ภายในศูนยขอมูลที่ PUE~3 [19][20][21] การใชงานระหวางองคกร Cloud platform Virtual 1. สามารถเลือกขอใชบริการบางอยางที่ซับซอนจากผูบริการ Cloud storage ภายนอกองคกรเพื่อลดตนทุน [22] Internet ตารางที่ 1 แนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวแบงตามระดับการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 4. 66 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) เกณฑมาตรฐาน Energy Star 4.0 หรือปรับปรุงระบบระบาย อากาศใหกับศูนยขอมูล เปนตน 5.4 นําเอาแผนเชิงปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว นี้ไปเผยแพรใหกับคนในองคกรเพื่อใหทุกคนไดเกิดความเขาใจ ในแนวคิดและกิจกรรมอยางชัดเจน ตองพยายามใหทุกคนได มีสวนรวมในกิจกรรมมากที่สุดเพื่อใหเขามีความรูสึกวาได เปนสวนหนึ่งในการเปลี่ยนแปลง อาจจะมีการคิดกิจกรรมเสริม แรงจูงใจในรูปแบบของการแขงขัน เชนกําหนดรางวัลสําหรับ คนที่คิดสัญลักษณของโครงการ หรือรางวัลสําหรับกลุมคนที่ มีความกาวหนาในการดําเนินกิจกรรม ถาเกิดมีคนที่อยากเขา มามีสวนรวมในการวางแผนองคกรควรมพื้นที่ใหเขาไดเขามา รวมระดมสมองและนําเสนอแนวคิดใหมๆ แตแนวทางที่กลาว มาอาจจะไมสามารถนําไปใชไดกับทุกองคกรเนื่องจากบาง องคกรอาจมีคนสวนใหญที่ตอตานการเปลี่ยนแปลงในกรณีนี้ องคกรตองใชที่ปรึกษาหรือผูที่เชี่ยวชาญในเรื่องของการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม นอกการจัดทําแผนเชิงปฏิบัติการแลว องคกรตองจัดทํา เครื่องมือสําหรับใชติดตามและประเมินความกาวหนาของการ ดําเนินกิจกรรมที่ตองทันสมัยตลอดเวลาประกอบดวย สิ่งที่ องคกรคาดหวังไวเพื่อใชมาตรวัดเชน คุณลักษณะของตัวแทน จําหนายคุณลักษณะของอุปกรณ หรือคาประสิทธิภาพการใช พลังงาน โดยสามารถกําหนดขึ้นไดจากเกณฑมาตรฐานสากล เมื่อมีบางกิจกรรมที่ไมเปนไปตามที่องคกรคาดหวังไวจะตอง เตรียมแนวทางในการปรับปรุงประสิทธิภาพที่มีความเหมาะสม รองรับไวดวย แตในสวนนี้จะพิจารณาเฉพาะการปรับเปลี่ยน ในเชิงองคประกอบเทานั้น แตถาสิ่งที่ไมตรงกับความคาดหวัง นั้นเกิดจากโครงสรางพื้นฐานและสถาปตยกรรมทางเทคโนโลยี สารสนเทศแลว การแกปญหาตองอาศัยการเพิ่มทุนซึ่งการ ตัดสินใจตองอยูบนพื้นฐานขอมูลที่ไดจากการศึกษาทั้งในเรื่อง ความเสี่ยง และความคุมทุนในระยะยาว สุดทายเมื่อการ ดําเนินกิจกรรมใดที่ประสบผลสําเร็จหรือเปนไปตามที่คาดหวัง แนวทางปฏิบัติทางสารสนเทศสีเขียวนี้จะถูกปรับเปลี่ยนใหเปน ขอปฏิบัติอยางเปนทางการขององคกรไปโดยปริยาย 6. อนาคตของเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวเปนอยางไร การนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวมาริเริ่มใช เปนแนวทางการปฏิบัติจริงจัง และแพรหลายไดเกิดขึ้นแลว เมื่อสองปที่ผานมา [12],[24] องคกรทั้งทางภาครัฐและเอกชน ไดมีการตื่นตัวไมวาจะเปนการจัดสรรงบประมาณการวิจัย หรือการรวมมือกันเพื่อศึกษาและพัฒนากลยุทธที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียว ในอนาคตอันใกลนี้ประเด็นที่ ทั่วโลกใหความสนใจไดแกการกําหนดมาตรฐานและเครื่องมือ ที่เกี่ยวของกับสิ่งแวดลอมเพื่อนํามาปรับใชในกิจกรรมควบคุม การใชพลังงาน [27] ยกระดับการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มุงเนนการใชงานทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐานรวมกัน ทั้งเทคโนโลยี Visualization [16] หรือ Could computing [22] นําเอานวัตกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับเปลี่ยน รูปแบบการทํางานใหเปนแบบ Collaborative work เพื่อลด การเดินทาง การใชทรัพยากร ประหยัดทั้งเวลา และพลังงาน อีกดวย [28],[29] และการคิดคนวิธีการนําเอาอุปกรณทาง เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใหม หรือทําใหเกิดขยะที่อันตราย นอยที่สุดภายใตแนวคิด 3Rs [30] 7. บทสรุป ทั่วโลกตางใหความสําคัญกับการปลอยกาซเรื่อนกระจก ที่สงผลตอสิ่งแวดลอม ทุกคนตางรวมมือกันศึกษาหาสาเหตุ และแนวทางการปฏิบัติเพื่อใหการดําเนินกิจกรรมใหเปนมิตร ตอสิ่งแวดลอมใหมากที่สุด ประเทศไทยของเราตองเขามารวม รับผิดชอบในประเด็นนี้ดวย เนื่องจากประเทศของเรามีปริมาณ การใชถานหินในอันดับที่ 5 (รอยละ 12) ของโลก [11] ซึ่ง สวนใหญจะใชในการผลิตพลังงานไฟฟา ถึงแมวายังไมมี รายงานการวิจัยมายืนยันผูเขียนมีความเชื่อวาปริมาณของ พลังงานไฟฟาที่นํามาใชในกิจกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศตอง อยูในอันดับตน ๆ เพื่อใหกิจกรรมทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และเปนเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยั่งยืน องคกรที่เกี่ยวของตองเริ่มนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียวมาปรับใชภายในองคกร ความสําเร็จของการนําเอาแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียวมาปรับใชนั้นตองเกิดจากความรวมมือในวงกวางทั้งจาก องคกรภาครัฐและเอกชน เนื่องจากวงจรชีวิตของเทคโนโลยี สารสนเทศนั้นไดเชื่อมตอทุกภาคสวนเขาไวดวยกันแลว ซึ่งจะ ตองมีการปฏิบัติจากดานบนลงมาสูดานลางในรูปแบบของการ กําหนดนโยบายสาธารณะ ออกกฎหมายทางดานสิ่งแวดลอม จัดตั้งหนวยงานที่รับผิดชอบตั้งแตกระบวนการผลิตจนถึงกําจัด เมื่อหมดอายุการใชงานแลว ในขณะเดียวกันก็มีการปฏิบัติ จากดานลางขึ้นไปสูดานบนดวย โดยทุกคนตองตระหนักถึง ปญหาดังกลาว และรวมมือกันในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ใหเกิดนิสัยการใชทรัพยากรและพลังงานอยางประหยัด
  • 5. 67ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È»Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) รายละเอียดเนื้อหาที่นําเสนอในบทความนี้ เปนเพียงสวน หนึ่งของแนวคิดเทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวยังมีสิ่งที่นาสนใจ ใหทุกคนไดเขาไปการศึกษาและคนควาประเด็นที่ไมไดกลาว ถึงบทความนี้ เชน ความทาทายในการปรับเปลี่ยนโครงสราง พื้นฐานทางเทคโนโลยีสารสนเทศจากหลายเซิรฟเวอรมาเปน เซิรฟเวอรเดียววาทฤษฎีกับความเปนจริงตางกันอยางไรการ เปรียบเทียบสถาปตยกรรมแบบกระจาย และรวมศูนยใคร เขียวกวากันเนื่องจากผูผลิตตางอางวาผลิตภัณฑของตัวเอง เขียวกวา และการนําเอาแนวทางปฏิบัติเทคโนโลยีสารสนเทศ สีเขียวของกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่สวนใหญอยูในภูมิประเทศ ที่มีอากาศหนาว มาปรับใชกับประเทศไทยที่ภูมิประเทศที่มี อากาศรอนไดหรือไม จากประสบการณการดําเนินกิจกรรมแนวทางปฏิบัติ เทคโนโลยีสารสนเทศสีเขียวอยางไมเปนทางการภายใน หนวยงานไดแก การสงงานทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส การ ใชงานระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส การเลือกซื้ออุปกรณแบบ Multi-Functions การนําเอาครุภัณฑคอมพิวเตอรที่เลิกใช แลวไปติดตั้งใหหนวยงานอื่น และการคิดกอนพิมพ ประโยชน ที่เห็นไดโดยตรงกับหนวยงานคือ การประหยัดทรัพยากร ลดขยะที่อยูในรูปแบบของรายงาน และความสะดวกในการ รับขอมูลขาวสารภายในและระหวางหนวยงาน สามารถยืนยัน ไดวาถาเกิดมีการริเริ่มโครงการที่เปนทางการภายใตการวางแผน กลยุทธที่มีความเหมาะสมกับบริบทขององคกรแลว กิจกรรม ทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศขององคกรก็จะเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และเปนเทคโนโลยีสารสนเทศที่ยั่งยืนตามที่ คาดหวังไวได เอกสารอางอิง [1] Univa, U.D. “Putting the green in Green IT”, Univa UD report, 2008. [2] Scheer August-Wilhelm, “CeBIT green IT World”, BITKOM paper, 2008. [3] www.google.com [4] Molly, A. O’Neill, “What Does “Going Green” with Information TechnologyMea”,IntergovernmentSoluti onNewsletter:GreenIT,Issue 21,pp.4-5,Fall. 2008. [5] Francis Kevin and Richardson Peter, “Green Maturity Model for Virtualization”, Green Computing: The ArchitectureJournal#18,Microsoft,pp.35-41,2008. [6] Fujitsu, “Howto make going GREENgood business sense”, S4B Strategy forBusiness, Issue 31, pp. 1-2, winter. 2008. [7] Mingay Simon, “Green IT: A New Industry Shock Wave”, Gartnerpresentation, 2008. [8] Vittie Lori Mac, “Green IT: The Three Rs”, F5White Paper, 2008. [9] LLP KPMG, “Green IT and the Bottom line”, IT Adisory, KPMG LLP, 2008. [10] Curtis Lewis, “Environmentally Sustainable Infrastructure Design”, Green Computing: The ArchitectureJournal#18,Microsoft,pp. 2-8, 2008. [11] IBM, “Green IT’ – the next burning issue for business”, IBMGlobalTechnologyServices,2007. [12] Mines Christopher, “Creating the Green IT Action Plan for CIOs”, ForresterResearch, 2007. [13] GSA, “Australia’s ICT Environmental Impact Checklist”, IntergovernmentSolutionNewsletter: Green IT, Issue 21, Fall. 2008. [14] Bhandarkar Dileep, “Green IT– Dare to take the first step!”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 70-71, March. 2008. [15] Bayer Martin, “The rightpath to energy-saving PCs”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 48-49, March. 2008. [16] Niemann Frank, “Virtualization saves energy”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 34-35, March. 2008. [17] Bayer Martin, “Storage and network-hidden energy guzzlers”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, 39-41, March. 2008. [18] Meyer Jan-Bernd, “Save money with intelligent printing”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 54-55,March. 2008. [19] The Green Grid, “The Green Grid: Establishing Greater Energy Efficiency in Data Centers”, IntergovernmentSolutionNewsletter: GreenIT, Issue 21, pp. 7-8, Fall. 2008. [20] Vaske Heinrich, “Curbing power consumption in the
  • 6. 68 ÇÒÃÊÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È »Õ·Õè 5 ©ºÑº·Õè 9 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2552 º·¤ÇÒÁÇÔªÒ¡Òà : à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈÊÕà¢ÕÂÇ (Green IT) data center”, GreenIT-Guide:TheCeBITMagazine, pp. 20-23,March. 2008. [21] Nunn Stephen, “Green IT: beyond the data center How IT can contribute to the environmental agenda across and beyond the business”, Technology Consulting,Accenture, 2007. [22] McQueeney David, “Achieving a Green IT Strategy through CloudComputing”, IntergovernmentSolution Newsletter:GreenIT, Issue 21, pp. 18-19, Fall. 2008 [23] O’Brien Sarah, “Environmental Benefits of EPEAT IT Purchasing System”, IntergovernmentSolution Newsletter: Green IT, Issue 21, Fall. 2008. [24] Skirbunt Thomas, “Green IT Approaches Span the Globe”, Intergovernment Solution Newsletter: Green IT, Issue 21, Fall. 2008. [25] Meskell Darlence, “Green IT Is Essential to Green Government”, IntergovernmentSolutionNewsletter: Green IT, Issue 21, pp. 1-3, Fall. 2008. [26] Jamison Stephanie,Eric G.Brown and Chistina Lee, “Green ITin Enterprise Practices:The Essential Role of the State CIO”, NASCIO: Representing Chief Information Officer of the States, 2008. [27] Klippstatter Kriemhilde, “Measuring energyefficiency – haw can you do it?”, GreenIT-Guide:The CeBIT Magazine, pp. 80-82, March. 2008. [28] Federal Tandberg, “Environmental and Corporate Benefits of Telework”, Intergovernment Solution Newsletter:GreenIT,Issue 21,pp.18-19,Fall.2008 [29] Ternbull Susan, “Collaborative Work is Green by Nature”, Intergovernment Solution Newsletter: Green IT, Issue 21, pp. 12-13, Fall. 2008. [30] FreimarkAlexander, “Recycling strikes gold”, GreenIT-Guide: The CeBIT Magazine, pp. 76-77, March. 2008.