SlideShare a Scribd company logo
“วัดบ้านโป่ง”
ประวัติ
• วัดบ้านโป่ง คาว่า “โป่ง” มาจากคาว่า “ดินโป่ง” ซึ่งเป็นดินที่มีรสเค็ม
และเป็นอาหารมีรสอันโอชะของสัตว์นานาชนิด เดิมเขตอาเภอบ้าน
โป่งนี้เป็นป่าใหญ่เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่ของสัตว์น้อย
ใหญ่ทั้งหลายและยังมีแม่น้าแม่กลองไหลผ่าน จึงนับได้ว่าดินแดนแถบ
นี้อุดมสมบูรณ์ เมื่อมีคนมาอาศัยดินแดนแถบนี้ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยเป็น
หมู่บ้าน หมู่บ้านนี้จึงเรียกชื่อตามลักษณะดินในแถบนี้ว่า “บ้านโป่ง”
และเมื่อมีวัดเกิดขึ้นก็เรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านนั้นว่า “วัดบ้านโป่ง”
• วัดบ้านโป่ง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่งมีอายุนานเกือบ ๒๐๐ ปี ตั้งอยู่
ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งไม่ห่างจากสถานีรถไฟเท่าใด
นัก เนื้อที่รอบๆ บริเวณวัดประมาณ ๕๐ กว่าไร่ มีประวัติความเป็นมา
ตามที่ผู้เฒ่าได้เล่าสืบต่อๆ กันมาพอจะจับใจความได้ดังนี้ เดิมทีได้มี
พระภิกษุลาวรูปหนึ่ง ได้มาสร้างกระท่อมมุงด้วยแฝกและได้จัดตั้งเป็น
สานักสงฆ์ขึ้นหากแต่ที่วัดบ้านโป่ง นั้นเต็มไปด้วยป่าไม้ใบหนา เป็นที่
อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึงไม่มีผู้ใด
อาศัยอยู่ ต่อมาจึงเสื่อมโทรมลงและไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุลาวรูป
นั้นไปไหนและที่ใด
• ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมืองหงสาวดีเกิดความปั่นป่วนขึ้น
เนื่องจากภัยทางสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุ
ให้ชาวรามัญพากันอพยพหลบภัยแล้วข้ามมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร
พระมหากษัตริย์ไทย โดยเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์บ้าง ด่านสิงขร
บ้าง และได้เข้ามาตั้งรกรากทามาหากินกันเป็นหมู่ๆ ตามแถบฝั่ง
แม่น้าแม่กลอง ในครั้งกระนั้นก็ได้มีพระภิกษุชาวรามัญรูปหนึ่งที่ได้
อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาในเมืองไทยด้วย พระภิกษุรามัญรูปนั้น
ชื่อว่า “พระภิกษุด่าง”
• หลวงพ่อด่างได้เข้ามาในสภาพที่เป็นพระสงฆ์ จึงไม่อาจจะอยู่ใน
หมู่บ้านรามัญร่วมกับเขาได้ จึงได้มาหาที่พานักใหม่และได้มาปลูก
กระท่อมมุงแฝก ณ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งเดิมเป็น
สานักสงฆ์เก่าที่รกร้างไปแล้วนั้น หลวงพ่อด่างได้นาพระธาตุจากเมือง
ย่างกุ้งติดตัวมาด้วย และเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลังให้ระลึกถึง
มาตุภูมิเดิม หลวงพ่อด่างจึงได้สร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่งมี ๕ ยอด คล้าย
กับเจดีย์ชะเวดากองที่เมืองย่างกุ้ง เจดีย์องค์นี้ประชาชนทั่ว ๆ ไป
เรียกกันว่า“เจดีย์ ๕ ยอด” อันเป็นปูชนีสถานอันศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของ
วัดบ้านโป่งนี้ด้วย
ศาสนสถานภายในวัด
• พระพิศาลพัฒนโสภณ เกิดวันที่ ๖ กรกฏาคม ๒๔๗๕ วิทยฐานะ ป.ธ.
๕ น.ธ.เอก เจ้าอาวาสวัดบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๒ – ๒๑๑๒๐๑ มือถือ ๐๘๑ – ๘๑๔๙๘๗๒
ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับศาลาการเปรียญวัดบ้านโป่ง ดังนี้
• เป็นศาลาเอนกประสงค์ ใช้เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ทั้งอาเภอบ้านโป่ง
และเป็นที่บาเพ็ญบุญของประชาชนที่มาทาบุญตามประเพณีเทศกาล
ต่าง ๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันตรุษสงกรานต์ วัน วิ
สาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ฯลฯ นอกจากนี้ทางราชการ สถานศึกษา
ได้มาขอใช้เป็นสถานที่ประชุมหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นประจา
• ศาลาเอนกประสงค์หลังนี้ เป็นศาลาหลังใหญ่ที่สุดในเขตภาค ๑๕ มี
ขนาดความยาว ๕๖ เมตร กว้าง ๒๘ เมตร มีความจุ ประมาณ ๓,๐๐๐
คน เป็นอาคาร ๒ชั้นชั้นล่างใช้ประโยชน์ทาเป็นห้องต่าง ๆ ได้แก่
สานักงานเจ้าคณะอาเภอบ้านโป่ง ศาลาบาเพ็ญกุศลย่อย เป็นห้องเก็บ
พัสดุของวัด ชั้นบนเป็นห้องโถงทั้งหมด มีแท่นพระประธานตรงกลาง
ศาลา
• องค์พระประธานมีนามว่า “สมเด็จพระพุทธมงคลบพิตร” ซึ่งได้กระทา
พิธีหล่อ ณ วัดบ้านโป่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และสมเด็จพระพุทธโฆษา
จารย์ประทานนามให้ สาหรับผนังภายในศาลาการเปรียญ มีภาพพระ
พุทธประวัติและภาพโพธิ์ตรัสรู้
• ศาลาเอนกประสงค์แห่งนี้มีชื่อว่า “วิจิตรธรรมรสวิโรจน์ประชาพิทักษ์”
คาว่า “วิจิตรธรรมรส” หมายถึง พระครูวิจิตรธรรมรส “วิโรจน์”
หมายถึง พระครูวิโรจน์ธรรมาภรณ์ “ประชา” หมายถึง ประชาชน
ทั่วไป และ”พิทักษ์” หมายถึง เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันในสมัยนั้น คือ
พระครูพิทักษ์โลนภูมิ
• การก่อสร้างยังไม่สมบูรณ์แบบ เพราะยังไม่ได้ยกช่อฟ้า และชาวบ้าน
มีความเลื่อมใสจงรักภักดีในองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม
บรมราชกุมารี จึงกราบบังคมทูลขอพระปรมาภิไธยย่อ “สธ” มา
ประดิษฐานบนหน้าบันลงรักปิดทองกระจกเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๑๑
เมษายน ๒๕๓๗ และเสด็จมาเป็นประธานประกอบพิธียกช่อฟ้าศาลา
การเปรียญและทรงเปิดหน้าบัน “สธ” ศาลาการเปรียญ ในวันที่ ๒๙
กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งนับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่วัดบ้าน
โป่งและชาวบ้านโป่ง
แผนผังภายในวัดบ้านโป่ง
จัดทาโดย
มัธยมศึกษาปีที่ 4/1
นายเกียรติศักดิ์ วันนะ เลขที่ 2
นายณัฐชานนท์ ทองประเพียร เลขที่ 4
นายธันวา สระสม เลขที่ 5
นางสาวนวลจรี แจ้งคา เลขที่ 18
นางสาวฐิชฌาภรณ์ จันทร์ที เลขที่ 31
นางสาวนนทพัทธ์ ลี่รัตนวิสุทธิ์ เลขที่ 32
นางสาวเปมิกา ผานาค เลขที่ 33
นางสาวศศิมณฑา รอดเทศ เลขที่ 34

More Related Content

Viewers also liked

Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
Attebery
 
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
Attebery
 
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire" Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
Attebery
 
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
Attebery
 
Ch 12 sec 1 "Nationalism"
Ch 12 sec 1 "Nationalism" Ch 12 sec 1 "Nationalism"
Ch 12 sec 1 "Nationalism"
Attebery
 
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
Attebery
 
38.cahaya
38.cahaya38.cahaya
38.cahaya
Atiqah Azmi
 
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי חברת החשמל
 
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
Henry Sumampau
 
Priyanka manna graphics showreel
Priyanka manna graphics showreelPriyanka manna graphics showreel
Priyanka manna graphics showreel
impriyankamanna
 
36.hukum tekanan
36.hukum tekanan36.hukum tekanan
36.hukum tekanan
Atiqah Azmi
 
2.pkn ijah hal 150 157
2.pkn ijah hal 150   1572.pkn ijah hal 150   157
2.pkn ijah hal 150 157
Ilham Muhamad Rizal
 
4 pkn novi hal. 166 173
4 pkn novi hal. 166   1734 pkn novi hal. 166   173
4 pkn novi hal. 166 173
Ilham Muhamad Rizal
 
10 Must Know Facts For your Next Trade Show
10 Must Know Facts For your Next Trade Show10 Must Know Facts For your Next Trade Show
10 Must Know Facts For your Next Trade Show
Pepperi
 
43.formula kanta
43.formula kanta43.formula kanta
43.formula kanta
Atiqah Azmi
 
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s ModelArabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
Bahram Kazemian
 
3.pkn ilham hal 158 165
3.pkn ilham hal 158   1653.pkn ilham hal 158   165
3.pkn ilham hal 158 165
Ilham Muhamad Rizal
 

Viewers also liked (18)

Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
Ch 5 Sec 4 "Development of Culture in Europe"
 
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
Ch 2 sec 3 "Culture of Islam"
 
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire" Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
Ch 11 Sec 4 "Mughal Empire"
 
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
Ch 6 Sec 1 "The Renaissance"
 
Ch 12 sec 1 "Nationalism"
Ch 12 sec 1 "Nationalism" Ch 12 sec 1 "Nationalism"
Ch 12 sec 1 "Nationalism"
 
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
Ch 10 Sec 3 "Explorers - French & English"
 
38.cahaya
38.cahaya38.cahaya
38.cahaya
 
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי
התייעלות אנרגטית - מצגת של בית הספר כדורי
 
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
2004 job characteristics and personality as predictors of job satisfaction
 
Priyanka manna graphics showreel
Priyanka manna graphics showreelPriyanka manna graphics showreel
Priyanka manna graphics showreel
 
36.hukum tekanan
36.hukum tekanan36.hukum tekanan
36.hukum tekanan
 
2.pkn ijah hal 150 157
2.pkn ijah hal 150   1572.pkn ijah hal 150   157
2.pkn ijah hal 150 157
 
4 pkn novi hal. 166 173
4 pkn novi hal. 166   1734 pkn novi hal. 166   173
4 pkn novi hal. 166 173
 
10 Must Know Facts For your Next Trade Show
10 Must Know Facts For your Next Trade Show10 Must Know Facts For your Next Trade Show
10 Must Know Facts For your Next Trade Show
 
43.formula kanta
43.formula kanta43.formula kanta
43.formula kanta
 
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s ModelArabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
Arabic Fairy-tales: An Analysis of Hatim Tai’s Story within Propp’s Model
 
3.pkn ilham hal 158 165
3.pkn ilham hal 158   1653.pkn ilham hal 158   165
3.pkn ilham hal 158 165
 
Namayeshe jensiat
Namayeshe jensiatNamayeshe jensiat
Namayeshe jensiat
 

Recently uploaded

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (8)

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

วัดบ้านโป่ง

  • 3. • วัดบ้านโป่ง คาว่า “โป่ง” มาจากคาว่า “ดินโป่ง” ซึ่งเป็นดินที่มีรสเค็ม และเป็นอาหารมีรสอันโอชะของสัตว์นานาชนิด เดิมเขตอาเภอบ้าน โป่งนี้เป็นป่าใหญ่เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้นานาชนิด เป็นที่อยู่ของสัตว์น้อย ใหญ่ทั้งหลายและยังมีแม่น้าแม่กลองไหลผ่าน จึงนับได้ว่าดินแดนแถบ นี้อุดมสมบูรณ์ เมื่อมีคนมาอาศัยดินแดนแถบนี้ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยเป็น หมู่บ้าน หมู่บ้านนี้จึงเรียกชื่อตามลักษณะดินในแถบนี้ว่า “บ้านโป่ง” และเมื่อมีวัดเกิดขึ้นก็เรียกชื่อวัดตามหมู่บ้านนั้นว่า “วัดบ้านโป่ง”
  • 4. • วัดบ้านโป่ง เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่ง ซึ่งมีอายุนานเกือบ ๒๐๐ ปี ตั้งอยู่ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งไม่ห่างจากสถานีรถไฟเท่าใด นัก เนื้อที่รอบๆ บริเวณวัดประมาณ ๕๐ กว่าไร่ มีประวัติความเป็นมา ตามที่ผู้เฒ่าได้เล่าสืบต่อๆ กันมาพอจะจับใจความได้ดังนี้ เดิมทีได้มี พระภิกษุลาวรูปหนึ่ง ได้มาสร้างกระท่อมมุงด้วยแฝกและได้จัดตั้งเป็น สานักสงฆ์ขึ้นหากแต่ที่วัดบ้านโป่ง นั้นเต็มไปด้วยป่าไม้ใบหนา เป็นที่ อยู่อาศัยของสัตว์นานาชนิด เต็มไปด้วยภัยอันตรายมาก จึงไม่มีผู้ใด อาศัยอยู่ ต่อมาจึงเสื่อมโทรมลงและไม่มีผู้ใดทราบว่าพระภิกษุลาวรูป นั้นไปไหนและที่ใด
  • 5. • ต่อมาราวพุทธศตวรรษที่ ๒๓ เมืองหงสาวดีเกิดความปั่นป่วนขึ้น เนื่องจากภัยทางสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นระหว่างพม่ากับอังกฤษ เป็นเหตุ ให้ชาวรามัญพากันอพยพหลบภัยแล้วข้ามมาพึ่งพระบรมโพธิสมภาร พระมหากษัตริย์ไทย โดยเข้ามาทางด่านเจดีย์สามองค์บ้าง ด่านสิงขร บ้าง และได้เข้ามาตั้งรกรากทามาหากินกันเป็นหมู่ๆ ตามแถบฝั่ง แม่น้าแม่กลอง ในครั้งกระนั้นก็ได้มีพระภิกษุชาวรามัญรูปหนึ่งที่ได้ อพยพหลบภัยสงครามเข้ามาในเมืองไทยด้วย พระภิกษุรามัญรูปนั้น ชื่อว่า “พระภิกษุด่าง”
  • 6. • หลวงพ่อด่างได้เข้ามาในสภาพที่เป็นพระสงฆ์ จึงไม่อาจจะอยู่ใน หมู่บ้านรามัญร่วมกับเขาได้ จึงได้มาหาที่พานักใหม่และได้มาปลูก กระท่อมมุงแฝก ณ ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้าแม่กลอง ซึ่งเดิมเป็น สานักสงฆ์เก่าที่รกร้างไปแล้วนั้น หลวงพ่อด่างได้นาพระธาตุจากเมือง ย่างกุ้งติดตัวมาด้วย และเพื่อเป็นอนุสรณ์แห่งความหลังให้ระลึกถึง มาตุภูมิเดิม หลวงพ่อด่างจึงได้สร้างเจดีย์ขึ้นองค์หนึ่งมี ๕ ยอด คล้าย กับเจดีย์ชะเวดากองที่เมืองย่างกุ้ง เจดีย์องค์นี้ประชาชนทั่ว ๆ ไป เรียกกันว่า“เจดีย์ ๕ ยอด” อันเป็นปูชนีสถานอันศักดิ์สิทธิ์เก่าแก่ของ วัดบ้านโป่งนี้ด้วย
  • 8. • พระพิศาลพัฒนโสภณ เกิดวันที่ ๖ กรกฏาคม ๒๔๗๕ วิทยฐานะ ป.ธ. ๕ น.ธ.เอก เจ้าอาวาสวัดบ้านโป่ง อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี หมายเลขโทรศัพท์ ๐๓๒ – ๒๑๑๒๐๑ มือถือ ๐๘๑ – ๘๑๔๙๘๗๒ ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับศาลาการเปรียญวัดบ้านโป่ง ดังนี้
  • 9. • เป็นศาลาเอนกประสงค์ ใช้เป็นสถานที่ประชุมสงฆ์ทั้งอาเภอบ้านโป่ง และเป็นที่บาเพ็ญบุญของประชาชนที่มาทาบุญตามประเพณีเทศกาล ต่าง ๆ เช่น วันเข้าพรรษา วันออกพรรษา วันตรุษสงกรานต์ วัน วิ สาขบูชา วันอาสาฬหบูชา ฯลฯ นอกจากนี้ทางราชการ สถานศึกษา ได้มาขอใช้เป็นสถานที่ประชุมหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ เป็นประจา • ศาลาเอนกประสงค์หลังนี้ เป็นศาลาหลังใหญ่ที่สุดในเขตภาค ๑๕ มี ขนาดความยาว ๕๖ เมตร กว้าง ๒๘ เมตร มีความจุ ประมาณ ๓,๐๐๐ คน เป็นอาคาร ๒ชั้นชั้นล่างใช้ประโยชน์ทาเป็นห้องต่าง ๆ ได้แก่ สานักงานเจ้าคณะอาเภอบ้านโป่ง ศาลาบาเพ็ญกุศลย่อย เป็นห้องเก็บ พัสดุของวัด ชั้นบนเป็นห้องโถงทั้งหมด มีแท่นพระประธานตรงกลาง ศาลา
  • 10. • องค์พระประธานมีนามว่า “สมเด็จพระพุทธมงคลบพิตร” ซึ่งได้กระทา พิธีหล่อ ณ วัดบ้านโป่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๒ และสมเด็จพระพุทธโฆษา จารย์ประทานนามให้ สาหรับผนังภายในศาลาการเปรียญ มีภาพพระ พุทธประวัติและภาพโพธิ์ตรัสรู้ • ศาลาเอนกประสงค์แห่งนี้มีชื่อว่า “วิจิตรธรรมรสวิโรจน์ประชาพิทักษ์” คาว่า “วิจิตรธรรมรส” หมายถึง พระครูวิจิตรธรรมรส “วิโรจน์” หมายถึง พระครูวิโรจน์ธรรมาภรณ์ “ประชา” หมายถึง ประชาชน ทั่วไป และ”พิทักษ์” หมายถึง เจ้าอาวาสองค์ปัจจุบันในสมัยนั้น คือ พระครูพิทักษ์โลนภูมิ
  • 11. • การก่อสร้างยังไม่สมบูรณ์แบบ เพราะยังไม่ได้ยกช่อฟ้า และชาวบ้าน มีความเลื่อมใสจงรักภักดีในองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยาม บรมราชกุมารี จึงกราบบังคมทูลขอพระปรมาภิไธยย่อ “สธ” มา ประดิษฐานบนหน้าบันลงรักปิดทองกระจกเรียบร้อยเมื่อวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๓๗ และเสด็จมาเป็นประธานประกอบพิธียกช่อฟ้าศาลา การเปรียญและทรงเปิดหน้าบัน “สธ” ศาลาการเปรียญ ในวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ ซึ่งนับว่าเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่วัดบ้าน โป่งและชาวบ้านโป่ง
  • 13. จัดทาโดย มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 นายเกียรติศักดิ์ วันนะ เลขที่ 2 นายณัฐชานนท์ ทองประเพียร เลขที่ 4 นายธันวา สระสม เลขที่ 5 นางสาวนวลจรี แจ้งคา เลขที่ 18 นางสาวฐิชฌาภรณ์ จันทร์ที เลขที่ 31 นางสาวนนทพัทธ์ ลี่รัตนวิสุทธิ์ เลขที่ 32 นางสาวเปมิกา ผานาค เลขที่ 33 นางสาวศศิมณฑา รอดเทศ เลขที่ 34