SlideShare a Scribd company logo
รายชื่อสมาชิก
นางสาวขนิษฐา ฝองสูงเนิน เลขที่ 2
นางสาวดนิตา โชติวัทนี เลขที่ 8
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1
หน่วย : โลกและการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
เปลือกโลกมีการเปลี่ยนลักษณะ เนื่องมาจากการเคลื่อนที่
ของแผ่นธรณี ลักษณะการเปลี่ยนที่สาคัญและพบเห็นได้
ได้แก่ ชั้นหินคดโค้งและรอยเลื่อน
การเปลี่ยนลักษณะของเปลือกโลก
การโค้งงอของชั้นหิน เป็นการเปลี่ยนลักษณะของชั้นหิน ซึ่ง
เป็นผลของความเค้น ทาให้ชั้นหินบริเวณนั้นเกิดการคดโค้ง
โก่งงอ หรือหักพับ
ชั้นหินคดโค้ง (fold)
• รูปร่าง
- คดโค้งเป็นไปได้อย่างไร้ขอบเขตและไม่ตายตัว
ชั้นหินคดโค้ง (fold)
• ขนาด
- ขนาดเล็กแบบดูด้วยตาเปล่าไม่เห็น
- ขนาดเท่ากามือ
- ใหญ่ (ปรากฏในภาพถ่ายทางอากาศ หรือ
ดาวเทียมได้)
• ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน / ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนคว่า (anticline)
• ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline)
รูปแบบการโค้งงอ
ชั้นหินคดโค้งรูปประทุน / ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนคว่า
(anticline)
ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนหงาย (syncline)
ประโยชน์ของโครงสร้างชั้นหินคดโค้ง
โครงสร้างชั้นหินคดโค้งพบว่าเป็นโครงสร้างของแหล่งแร่เศรษฐกิจ
เช่น แร่ควอตซ์ แร่โลหะ ตะกั่ว สังกะสี เงินและ โครงสร้างชั้นหินคดโค้งแบบ
ประทุนคว่าเป็นแหล่งกักเก็บที่ดีของน้ามันและแก๊สธรรมชาติ
ถ้ารอยคดโค้งโก่งงอของชั้นหินติดต่อกันเป็นบริเวณกว้าง
กินพื้นที่มาก ก็อาจกลายเป็นเทือกเขา
หิมาลัย แอลป์
ร็อกกี้ ภูพาน
คือ รอยแตกแยกในหิน ซึ่งมีการเคลื่อนที่
ของหินทั้งสองข้างโดยขนานกับระนาบ
รอยเลื่อน
หินเพดาน hanging wall
คือ หินที่วางอยู่บนระนาบรอยเลื่อน
หินพื้น foot wall
คือ หินที่อยู่ด้านล่างของระนาบรอยเลื่อน
หากยึดการเกิดรอยเลื่อนเป็นเกณฑ์ในการจาแนกจะได้ 3 ประเภทดังนี้
1. รอยเลื่อนปกติ normal fault
เป็นรอยเลื่อนที่หินเพดานเลื่อนลง เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น
ภาพรอยเลื่อนปกติ normal fault
หินพื้น หินเพดาน
2. รอยเลื่อนย้อน reverse fault
เป็นรอยเลื่อนที่หินเพดานเลื่อนขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับหินพื้น
ถ้ารอยเลื่อนย้อนมีค่ามุมเทเท่ากับหรือน้อยกว่า 45 องศา
เรียกว่า รอยเลื่อนย้อนมุมต่า thrust fault
ภาพรอยเลื่อนย้อน reverse fault
☆มุมเท Dip Angle คือมุมที่ชั้นหินเอียงไปจากแนวระดับ โดยทิศทางของแนว
เทจะตั้งฉากกับแนวระดับ มุมเทที่ใหญ่หรือเล็กจะแสดงชนิดต่างๆ ของรอยคดโค้ง
หินพื้น
หินเพดาน
3. รอยเลื่อนตามแนวระดับ strike-slip fault
หรือ รอยเลื่อนเหลื่อมข้าง transcurrent fault เป็นรอยเลื่อนในหินที่
ทั้งสองฟากของรอยเลื่อนเคลื่อนตัวในแนวราบ
ภาพรอยเลื่อนตามแนวระดับ strike-slip fault
☆ แนวระดับ Strike คือทิศทางของเส้นตรงสมมติซึ่งเกิดจากชั้นหินตัดกับแนวระนาบ
หินพื้น
หินเพดาน
• เปลือกโลกยกตัวสูงขึ้น ลดระดับลง หรือ เอียงไปจากแนวเดิม
• ตามแนวรอยเลื่อนมักจะมีหินที่ถูกบดอัด หรือ กรวดเหลี่ยม ซึ่งง่ายต่อการกัด
กร่อนมากกว่าหินที่อยู่ข้างเคียง
• รอยเลื่อนอาจพาเอาหินพวกที่มีความทนทานน้อยมาอยู่ติดกับหินที่มีความ
ทนทาน มาก ทาให้เกิดความแตกต่างของการกัดกร่อนทาลายในบริเวณสอง
ข้างของรอยเลื่อน
การเกิดรอยเลื่อนมักจะมีความสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศเสมอ ซึ่งอาจทาให้
1. เปลือกโลกมีการเปลี่ยนลักษณะ เนื่องจากอะไร?
เฉลย
เนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี
2.ความเค้น คืออะไร?
เฉลย
แรงดันมหาศาลที่เกิดจากการเคลื่อนที่เข้าปะทะกัน
ของแผ่นเปลือกโลก หรือ การมุดตัวของแผ่นเปลือกโลก
3.ชั้นหินคดโค้งรูปประทุนคว่าและหงายต่างกันอย่างไร ?
เฉลย
หินคดโค้งรูปประทุนคว่า เป็นการโค้งงอของชั้นหินที่มี
ส่วนโค้งตั้งขึ้นเหมือนหลังคาเรือหรือกระทะคว่าแต่ชั้นหินคด
โค้งรูปประทุนหงายมีลักษณะเหมือนกระทะหงาย
4.ประโยชน์ของโครงสร้างชั้นหินคดโค้ง?
เฉลย
เป็นแหล่งแร่เศรษฐกิจ เช่น แร่ควอตซ์ แร่โลหะ
ตะกั่ว สังกะสี เงินและ และเป็นแหล่งกักเก็บที่ดีของน้ามัน
และแก๊สธรรมชาติ
5.จงยกตัวอย่างเทือกเขาที่เกิดจากการโค้งงอของชั้นหินมา
2 ชื่อ?
เฉลย
เทือกเขาหิมาลัย
เทือกเขาแอลป์
เทือกเขาร็อกกี้
เทือกเขาภูพาน
6. รอยเลื่อนคือ รอยแตกแยกในหิน ซึ่งมีการเคลื่อนที่ของหินทั้งสอง
ข้างโดยขนานกับระนาบรอยเลื่อน
คาถาม : หินทั้งสองข้างคือหินอะไรบ้าง? ลักษณะการวางตัวแตกต่าง
กันอย่างไร??
คาตอบ : หินทั้งสองข้างคือ หินพื้นและหินเพดาน หินพื้นวางตัวล่าง
ระนาบ ส่วนหินเพดานวางอยู่ด้านบนของระนาบของรอยเลื่อน
7. การจาแนกรอยเลื่อนจาแนกได้3 ประเภทคือ รอยเลื่อนปกติ รอย
เลื่อนย้อน และรอยเลื่อนตามแนวระดับ
คาถาม : ใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการจาแนก?
คาตอบ : การเกิดรอยเลื่อน
8. ลักษณะการเลื่อนที่ของหินพื้นระหว่างรอยเลื่อนปกติกับรอยเลื่อน
ย้อนแตกต่างกันอย่างไร?
คาตอบ : รอยเลื่อนปกติหินพื้นเลื่อนขึ้น รอยเลื่อนย้อนหินพื้นเลื่อนลง
เมื่อเปรียบเทียบกับหินเพดาน
รอยเลื่อนปกติ รอยเลื่อนย้อน
9. ปกติแล้วค่ามุมเทของรอยเลื่อนย้อนจะมีค่ากี่องศา?
คาตอบ : มากกว่า 45 องศา ถ้าน้อยกว่าหรือเท่ากับ เรียกว่า รอยเลื่อน
ย้อนมุมต่า
10. รอยเลื่อนตามแนวระดับ มีอีกชื่อว่าอะไร? การเกิดรอยเลื่อนมักจะ
สัมพันธ์กับอะไร??
คาตอบ : รอยเลื่อนตามแนวระดับ มีอีกชื่อว่า “รอยเลื่อนเหลื่อมข้าง ”
การเกิดรอยเลื่อนมักจะสัมพันธ์กับลักษณะภูมิประเทศ
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
naleesaetor
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
Ornrutai
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
Ta Lattapol
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
PornPimon Kwang
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
soysuwanyuennan
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
Taweesak Poochai
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
Pinutchaya Nakchumroon
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิKobwit Piriyawat
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
พัน พัน
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินKobwit Piriyawat
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)

What's hot (20)

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
เรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิเรื่องที่ 4 สึนามิ
เรื่องที่ 4 สึนามิ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหินเรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
เรื่องที่ 6 การลำดับชั้นหิน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 

การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก