SlideShare a Scribd company logo
1แฟมสะสมงาน
ขอมูลประวัติสวนตัว-ประวัติการศึกษา
ขอมูลสวนตัว
ชื่อ นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน
เกิดวันที่ ๑๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๐๘ อายุ ๔๓ ป
ภูมิลําเนาเดิม ๘๑ หมูที่ ๓ ต.เขาพังไกร อ.หัวไทร จ. นครศรธรรมราช
ที่อยูปจจุบัน ๒๙๐/๙๗ หมูบานน้ําผึ้งวิลเลจ หมูที่ ๔ ต.หนองผึ้ง อ. สารภี จ.เชียงใหม
ชื่อบิดา นายเยื้อน ธรรมเสน (เสียชีวิต) ชื่อมารดา นางผอง ธรรมเสน จํานวนพีนอง ๕ คน
การศึกษา
ระดับประถม โรงเรียนวัดบูรณาวาส ต.เขาพังไกร อ.หัวไทร จ. นครศรีธรรมราช
ระดับมัธยมศึกษาตน โรงเรียนหัวไทรบํารุงราษฎร อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปวช. วิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา สาขา เกษตรกรรม
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาเขตเกษตรปทุมธานี สาขา เกษตรกรรม
ปริญญาตรี สถาบันราชภัฎเพชรบูรณ สาขาวิชา บริหารธุรกิจ จาก ป ๒๕๔๑
ปริญญาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ป พ.ศ.2551
ความสามารถพิเศษ
๑ คอมพิวเตอร Microsoft office ,การตัดตอทําวีดีโอ,มิกซเสียงตางๆ
๒. เลนดนตรี
ปฏิบัติหนาที่ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
ครั้งแรกวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖
รวมระยะเวลาจนถึงปจจุบัน ๑๑ป ๔เดือน
ปรัชญาชีวิต
.....มองโลกในแงดี….ความสงบสุขของชีวิตสามารถแสวงหาไดอยางเทาเทียมกัน……
คติพจนในการทํางาน
ทําในสิ่งที่ถูกตอง รักและจริงใจตองานและหนาที่
ประสบการณการทํางาน
2แฟมสะสมงาน
1.บริษัทเจริญโภคภัณฑ อาหารสัตวจํากัด ตําแหนง ผูชวยสัตวบาล ประสบการณ 5 ป
2.ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จ.พิจิตร ตําแหนง ครูอาสาสมัครฯ ประสบการณ 1ป 6 เดือน
3.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตําแหนง เจาหนาที่สวนและตกแตง ประสบการณ 1ป 10 เดือน
ประวัติความเปนมาของหมูบาน
ตามคําบอกเลาของชาวบานที่สืบตอกันมาเกี่ยวกับความเปนมาของหมูบาน เดิมมีชาวบานอพยพมาจากบานดอย
หลวง ไปอาศัยอยูที่ดอยกองเกี๊ยะ จํานวน 7 หลังคาเรือน (ซี่งอยูทางทิศเหนือของหมูบานปจจุบัน)ตอมามีปญหาเรื่องขโมย
เขามา ขโมยทรัพยสิน วัวควาย และเรื่องน้ําในการทําเกษตร จึงยายที่อยูมาอยูที่บานแมปอกในปจจุบัน และมีการยายเขามา
ท

ชื่อโครงการ /หลักสูตร
ว/ด/ป ระยะเวลา
หนวยงานที่จัด สถานที่จัด
1 การอบรมครูศศช.ภาคเหนือ 11-15 มิ.ย.55 กศน.ภาคเหนือ สถาบันพัฒนากศน.ภาคเหนือ
2 โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง
การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
27-31ส.ค.55 กศน.เชียงใหม มหาวิทยาลัยแมโจ
3 การพัฒนาครูอาสาสมัครกศน.เพื่อ
เสริมสรางเทคนิคการสรางสรรคกิจกรรม
เพื่อสงเสริมการเรียนรูและการนิเทศ
29 เม.ย. – 1
พ.ค. 56
สาบันการศึกษา
และพัฒนาตอเนื่อง
สิรินธร
โรงแรมจังหวัดนครราชสีมา
4 โครงการพัฒนาบุคลากรกศน.ดอยเตา 27-29 ส.ค.56 กศน.ดอยเตา หองประชุมกศน.ดอยเตา
5 โครงการถายทอดองคความรูโครงกาหลวง 18-21 มี.ค.57 สถาบันวิจัยบน
พื้นที่สูง
โรงแรมฟูรามา เชียงใหม
6 การฝกอบรมลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรูทั่วไป 24 -30 เมษายน
57
กศน.เชียงใหม คายลูกเสือเหนือเกลา จ.
เชียงใหม
7 โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง
การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
20-22 ม.ค..57 กศน.เชียงใหม อุทยานหลวงราชพฤกษ
8
โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง
การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
21-23 ม.ค..57 กศน.เชียงใหม ศูนยประชุมแสดงสินคา
นานาชาติเฉลิมพระเกียรติ จ.
เชียงใหม
9 โครงการถายทอดองคความรูโครงกาหลวง 23-27 มี.ค.57 สถาบันวิจัยบน
พื้นที่สูง
สถานีเกษตรหลวงปางดะ
3แฟมสะสมงาน
เรื่อยๆ จนมีจํานวนหลังคาเรือนเพิ่มขึ้น ตอมาทางหนวยงานราชการ ไดเขามาดูแลพัฒนาคุณภาพชีวิตเขาอยูในการปกครอง
ของสภาตําบลมืดกา และโอนเขามาอยูในความดูแล ขององคการบริหารสวนตําบลทาเดื่อ เมื่อมีพ.ศ. 2547 ทําใหการพัฒนา
ชีวิตความเปนอยูดีขึ้นเปนลําดับ
สําหรับศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอดอยเตา เขามาสงเสริมดานการศึกษาใหกับประชาชนตั้งแตป 2540
โดยจัดตั้ง ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” บานแมปอกบนขึ้นครั้งแรกโดยไดรับการสนับสรางอาคารเรียน
จาก สภาตําบลมืดกา
สภาพภูมิประเทศ
เปนพื้นที่ที่มีปาสนสองสามใบ(เกี๊ยะ)และ ตนยางคอนขางจะอุดมสมบูรณของปาไม บริเวณสันดอยมีความลาดชัน
สลับเปนชวงๆ มีลําหวยและสายน้ําตลอดทั้งปพื้นที่อยูอาศัย จะเปนบริเวณพื้นที่ราบบนสันดอย ไกลกับลําหวยเล็กนอย
พื้นที่ทํานาจะอยูบริเวณที่ราบลุม มีสายน้ําไหลผานซึ่งทํานาไดปละ 1 ครั้งมีลําหวยซึ่งเปนตนน้ําที่นําไปใชเปนระบบประปา
ถึง 1 แหลงคือ
1. หวยแมปอก เปนแหลงตนน้ําซึ่งมีน้ําใชตลอดทั้งป
สภาพอากาศ
1. ฤดูฝน เริ่ม มิถุนายน – ธันวาคม
2. ฤดูหนาว เริ่ม ธันวาคม – เมษายน
3. ฤดูรอน เริ่ม เมษายน– กรกฎาคม
อุณหภูมิต่ําสุด ประมาณ 7 องศา สูงสุด ประมาณ 31 องศาเซลเซียส
สถานที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ
สถานที่ตั้ง หมูที่ 5 ตําบลมืดกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม
อาณาเขตติดตอ
ทิศเหนือ ติดตอกับ หวยแมลายและพระธาตุดอยเกิ้ง อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม
ทิศใต ติดตอกับ บานหลายทุง หมู4 ต.มืดกา อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม
ทิศตะวันออก ติดตอกับ บานแมปอกลาง และทะเลสาบดอยเตา อ.ดอยเตา
จ.เชียงใหม
ทิศตะวันตก ติดตอกับ บานยางเปยง ต.ยางเปยง อ.อมกอย จ.เชียงใหม
4แฟมสะสมงาน
สภาพทางเศรษฐกิจ
การประกอบอาชีพและรายได
1.การเลี้ยงสัตว ไดแก วัว,ควายซึ่งเปนรายไดหลัก และมีการเลี้ยงไกพื้นเมือง สุกรพันธุพื้นเมืองเสริม เพื่อไว
ประกอบพิธีกรรมทางความเชื่อ
2 การเพาะปลูกไดแก การทํานา โดยทําไดปละ 1 ครั้ง เพื่อบริโภคในครัวเรือน
3. อาชีพเสริมไดแก การทอผา จักสาน และหาของปา
จํานวนครัวเรือนและประชากร
มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด 57 หลังคาเรือน
มีจํานวนประชากรทั้งหมด 205 คน
ชาย 99 คน
หญิง 106 คน
การปกครอง
ปจจุบันไดรวมอยูในความดูแลของเขตการปกครององคการบริหารสวนทองถิ่นตําบลทาเดื่อ
ผูนําทองถิ่น
1.นายเสงี่ยม ใจรินทร กํานันหมูที่5 ต.มืดกา
2.นายอุทิศ หลามุย ผูใหญบาน หมู5
3. นายหลา คําอาย ผูชวยผูใหญบาน หมู5
4.นายผัด ดอกแยะ ผูชวยผูใหญบาน หมู5
5.นายเสาร ปูมา สมาชิกอบต.หมูท5
6.นายชาติชาย เงินยง สมาชิกอบต.หมูท5
5แฟมสะสมงาน
คณะกรรมการโรงเรียน
1. นายก่ํา ดอกอิน ประธานกรรมการ
2.นายสุกฤษฎิ์ แกละวัน รองประธานกรรมการ
3.จอวัน ผัด กรรมการ
4.นายนิเชา สองเมียนายดี กรรมการ
5.นายดี เงินยง กรรมการ
6.นายทองสุข ปูมา กรรมการ
7.นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน กรรมการและเลขานุการ
ภูมิปญญาทองถิ่น
1.นายหลา ดอกอิน เกงทางดาน ผูนําทางความเชื่อ
2.นายจอวัน ผัดดี เกงทางดาน จักสาน
3. นางเกี๋ยง แกวติ๊บ เกงทางดาน ทอผา
4. นายยงค ปูจอ เกงทางดาน สมุนไพร
สถานที่สําคัญและหนวยงานองคกรในชุมชน
1. วัดพระธาตุแมปอกบน มีพระจําพรรษา 1 รูป
2. ศูนยบริการสาธารณสุขบานดอยแกว มีเจาหนาที่ 1 คน คือนายวีรพล แกละวัน
3. กลุมกองทุนหมูบานดอยแกว นายสมชาย ปูมา เปนประธาน
4. กลุมสตรี มี นางแสงหลา ผัดดี เปนประธานกลุม
6แฟมสะสมงาน
7แฟมสะสมงาน
ขอมูล ณ เดือน ตุลา 2557
ตารางรางแสดงจํานวนประชากร ศศช.”แมฟาหลวง”บานแมปอกบนป ๒๕๕๘
1.ประชากรจําแนกตามอายุ
อายุ/เพศ 0-2 ป 3-6 ป 7-15 ป 16–25ป 26–35ป 36–50ป 51–60ป 60ปขึ้นไป รวม
ชาย 2 5 23 20 12 25 7 5 99
หญิง 3 5 18 24 17 16 9 14 106
รวม 5 10 41 44 29 41 16 19 205
จํานวนครัวเรือน 57 ครัวเรือน
ตารางระดับการรูภาษาไทยของ ประชากรบานแมปอกบน หมูที่ ๕ ต.มืดกา อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม
ชวงอายุ
ระดับการรูภาษาไทย
ฟง - พูด - อาน - เขียน ไมได ฟง - พูด - อาน ได เขียน ไมได
ฟง - พูด ได อาน - เขียน
ไมได
ฟง - พูด - อาน - เขียน ได รวม
ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม
ตามชวง
อายุ
3-6 4 5 9 0 0 0 4 2 6 0 0 0 15
7-15 0 1 1 0 0 0 2 2 4 23 21 44 49
16-25 0 0 0 0 0 0 3 0 3 17 15 32 35
26-35 0 0 0 0 0 0 3 13 16 9 1 10 26
36-50 0 0 0 0 5 5 19 13 32 3 2 5 42
51-60 0 0 0 0 0 0 2 6 8 0 1 1 9
61ขึ้นไป 0 2 2 1 4 5 4 7 11 0 0 0 18
รวม 12 10 80 92 194
8แฟมสะสมงาน
ขอมูลจํานวนนักเรียนกลุมเปาหมายศศช."แมฟาหลวง" บานแมปอกบน อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม
ปพ.ศ.
จํานวนนักเรียนแยกตามระดับชั้น
ผูไมรู
หนังสือ
นักศึกษาทางไกล
รวม
ทั้งหมดกอนวัย
เรียน
ป.1
ป.
2
ป.
3
ป.
4
ป.
5
ป.
6
รวม ประถม
ม.
ตน
ม.
ปลาย
2556
ชาย 4 2 - 5 2 3 2 18 25 2 8 1 56
หญิง 4 4 - 3 5 5 5 26 25 1 12 1 60
รวม 8 6 - 8 7 8 7 44 37 3 19 2 111
2557
ชาย 5 2 2 5 1 3 3 21 25 2 8 1 56
หญิง 4 3 1 2 5 2 1 19 25 1 12 1 60
รวม 9 5 3 7 6 6 11 40 37 3 19 2 111
9แฟมสะสมงาน
เปาหมายการทํางาน
1. จัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน2544 ตามหลักสูตรการศึกษาบนพื้นที่สูง
2. ปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบตามขอบเขตของงานและนโยบายของหนวยงานตามที่ไดรับมอบหมาย
3. จัดศูนยการเรียนใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
4. กระตุนใหชุมชนเห็นความสําคัญของการศึกษาและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา
5. ทํางานอยางมีความสุขพัฒนาตนเองอยูเสมอ
³ş¸ď×þęŔ₣ď˘₣ĺĞĘń˝ İď¸ćĎş/ĿˆęğİýĘ¹Ďýİ/ˆďİğˆğ╟ø þęŔŇÝ╠İĎ¹˝ďˆˆďݲŽĘ¹Ďýʸď×(.....Þ̸²╗²╥˝˝Ĺ¹Ď×)
๑. ไดรับเข็มมอบวิทยพัฒน จากการอบรมการพัฒนาบุคลากรครูกศน.ที่โรงแรมเดอะสตาร จ.ระยอง
๒. ศิษยเกาดีเดนป2558 จากคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลปทุมธานีดานพัฒนาชุมชน
10แฟมสะสมงาน
แนวทางการพัฒนาการศึกษา
ความตองการในการพัฒนาตนเอง 1) การสนับสนุน สงเสริม เกี่ยวกับกับการ อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน
1. การจัดการศึกษาทางไกลผานระบบอินเตอรเน็ต
2. การทําหลักสูตรผลิตภัณฑจากไมไผ
ชวงเวลาและระยะเวลาที่เหมาะสม
- กอนเปดภาคเรียน
ขอเสนอแนะ
1. .....................................................................................................................................................
2. .....................................................................................................................................................
3. .....................................................................................................................................................
4. .....................................................................................................................................................
ความตองการในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน 1) ปญหา /ความตองการเรงดวนที่
ตองเรงปรับปรุงพัฒนา
1. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่อประกอบการเรียน
2. ....................................................................................................................................................
3. .....................................................................................................................................................
4. .....................................................................................................................................................
โครงการ/กิจกรรมที่กําหนดเพื่อแกปญหาหรือพัฒนา
1. .....โครงการทัศนะศึกษาทองฟาจําลอง.......
2. ........คายยุวชนรักษสิ่งแวดลอม..........................................................................................................
3. .........คายวิทยาศาสตร..................................................................................................
4. .....................................................................................................................................................
3)อื่น ๆ
1. .....................................................................................................................................................
2. .....................................................................................................................................................
3. .....................................................................................................................................................
11แฟมสะสมงาน
แผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ๒๕๕๘ ศศช.บานแมปอกบน
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม
ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไขความสําเร็จ
1 ดานโภชนาการและสุขภาพอนามัย
-โครงการศศช.สงเสริมสุขภาพกาย-
สุขภาพจิต
1 เพื่อสงเสริมและพัฒนาใหเด็ก
ระดับปฐมวัยและนักเรียน
ประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง
มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี
ตามเกณฑของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข
2 เพื่อสงเสริมใหเด็กระดับ
ปฐมวัยและนักเรียน
ประถมศึกษามีน้ําหนัก สวนสูง
และสมรรถนะทางรางกาย ตาม
เกณฑมาตรฐานของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ผูเรียนทุกคนใน ศศช.
ที่เรียนกอนวัยเรียน
และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นอกระบบสําหรับบนพื้นที่
สูง
1.จัดทําโครงการเสนอ
ขออนุมัติตอ
คณะกรรมการกองทุน
หลักประกันสุขภาพ
องคการบริหารสวน
ตําบลทาเดือ
2 แตงตั้ง
คณะกรรมการดําเนินการ
โครงการโรงเรียน
สงเสริมสุขภาพ
3 ดําเนินการจัด
กิจกรรมตามโครงการ
โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ
5.4 ประเมินผลการ
ดําเนินการและรายงาน
-รอยละ 80 ของผูเรียน
ศศช. มีความรูความ
เขาใจเกี่ยวกับการดูแล
สุขภาพอนามัยที่ดี
-รอยละ80ผูเรียนมี
สุขภาพกาย-สุขภาพจิต
ตามเกณฑมาตรฐาน
ผูเรียนสามารถเลนกีฬา
ที่ชอบไดไมนอยกวา 1
ชนิด
12แฟมสะสมงาน
ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไขความสําเร็จ
โครงการเกษตรในศศช. -เพื่อใหผูเรียนสามารถปลูก
ผักไวเพื่อบริโภคในศศช.
ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 -จัดกระบวนการเรียนการสอนและ
ปฏิบัติเรื่องการปลูกผักสวนครัวและ
การเลี้ยงปลา
รอยละ 80 ของผูเรียน
ศศช. มีความรูความ
เขาใจและสามารถ
ปลูกผักเลี้ยงปลากิน
เองได
ผูเรียนทําแปลงปลูก
ผักอยางนอยคนละ2
ชนิด
3 ครั้งตลอดป
การศึกษา
2 ดานการศึกษา
-กิจกรรมรักการอาน
-เพื่อปลูกฝงนิสัยการรักการ
อาน
ผูเรียนทุกคนใน ศศช.
ที่เรียนกอนวัยเรียน
และการศึกษาขั้น
พื้นฐานนอกระบบ
สําหรับบนพื้นที่สูง
-สรางกิจกรรมกิจรักการอานจากเพลง-
นิทานทุกๆเชากอนเรียนชั่วโมงแรก
-
-รอยละ 80 ของ
ผูเรียน นักเรียนสา
รามารถอานสะกดคํา
ไดถูกตองตามตาม
แบบทดสอบการอาน
-นักเรียนทุกคนตอง
ออกมาอานนิทาน
และรองเพลงหนาชั้น
เรียนเรียงตาม
ระดับชั้นและจด
บันทึกคําใหมตามที่
ครูกําหนดและอานคํา
จากบัตรคําไดถูกตอง
การสงเสริมการรูหนังสือ -เพื่อจัดการเรียนการสอนผูที่
ไมรูหนังสือสามารถฟง-พูด-
อาน-เขียนภาษาไทยและ
สื่อสารกับประชาชนทั่วไปได
ผูไมรูหนังสือจํานวนที่
ลงทะเบียนเรียน จํานวน
๒๐ คน
-สํารวจผูไมรูหนังสือ
-รับลงทะเบียน
-เสนอขออนุมัติเปดสอน
-เปดสอนในวันเสารและตอนเย็นตาม
แผนการจัดการเรียนรู
รอยละ 80 ของผูเรียน
ฟง-พูด-อาน-เขียน
ภาษาไทยไดตาม
เกณฑ
-ผูเรียนมาเรียนอยาง
ตอเนื่องสามารถเขียน
ชื่อและอานคํา
ภาษาไทยจากบัตรคํา
ไดเกินรอยละ50
13แฟมสะสมงาน
ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไข
ความสําเร็จ
เพื่อสรางการรับรู และความ
เขาใจในคานิยมหลัก 12
ประการ 2. เพื่อกระตุนจิต
สํานึกของประชาชนให
ประพฤติปฏิบัติตามคานิยม
หลักของไทย 3. เพื่อเสริม
สรางการมีสวนรวมในการ
รณรงค เผยแพรความรู
ความเขาใจและเชิญชวนให
ผูอื่น
ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.ออกแบบ-วางแผนการเรียนรู
2.เสนอแผนการจัดการเรียนรูคานิยม
หลัก12 ประการ
3.นําไปใชกับนักเรียนโดยอาศัยสื่อจาก
อินเตอรเน็ต
4.ใหนักเรียนทองบทอาขยาย..และ
บันทึกความดีที่เขากับหลักคุณธรรม
พัฒนาสื่อการเรียนการสอน -เพื่อการสรางแบบฝกทักษะ
ใชในการประกอบการจัดการ
เรียนใหผูเรียนเขาใจใน
เนื้อหาและผานการวัด
ประเมินผลในรายวิชาภาค
เรียนที่2/57
ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.เสนอโครงการขอการอนุมัติ
ซอมแซมเครื่องคอมพิวเตอรที่ชํารุด
และขอความอนุเคราะหเพิ่มเติม
2.ขอติดตั้งอุปกรณปลอยสัญญาณไวไฟ
ในศศช.
-ศศช.มีระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการพัฒนาใหเกิด
สังคมแหงการเรียนรู
นักเรียนสามารถ
เรียนรู
คนควาไดดวนตนเอง
และความเนื้อหา
จัดทํารายงานตามที่
ครูมอบหมายไดทุกๆ
คน
-การวิจัยชั้นเรียน -จัดทําวิจัยชั้นเรียน 2 เรื่อง ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.ศึกษาสภาพปญหาของผูเรียน
2.วางแผนวิเคราะหผูเรียนตามสภาพ
ปญหา
3.กําหนดเรื่องการวิจัยและเครื่องมือ
,นวัตกรรมขั้นตอนการดําเนินการ
4.เสนอขอจัดทําการวิจัยตอผูบริหาร
สถานศึกษา
-นักเรียนรอยละ๘๐
ผานเกณฑการประ
ประเมินตามแบบการ
การติดตามและการ
สังเกตที่ครูจัดทําขึ้น
-นักเรียนสามารถใช
งานอินเตอรเน็ตใน
การสืบคนชวยในการ
เรียนตามใบงานที่ครู
มอบหมาย
14แฟมสะสมงาน
5.ดําเนินการวิจัยชั้นเรียนอยางงายตาม
เรื่อง
6.สรุปผลและรายงานผล
7.เผยแพรงานวิจัย
-อินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
1.เพื่อนําสื่อจากระบบ
อินเตอรเน็ตชวยใหจัดการ
เรียนการสอนเปนไปตาม
เปาหมายของหลักสูตร
2.เพื่อใหครูและนักเรียนมี
แหลงศึกษาเรียนรูไดคนควา
เพิ่มเติม
ผูเรียนชวงชั้นที่1-2
1.ครูศึกษาการใหบริการระบบ
อินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากผู
ใหบริการ ที่สามารถสงสัญญาณรับไดที่
ศศช.
2.คนหาจุดรับติดตั้งระบบรับสัญญาณ
และการเชื่อมตอสัญญาณ การปลอย
สัญญาณ wireless จากจุดรับสัญญาณ
มายังคอมพิวเตอรในชั้นเรียน
3.จัดระบบการนําเสนอภายในชั้นเรียน
เปนหองเรียนผานระบบออนไลนจาก
เ ว็ บ ไ ซ ต
http://edltv.dlf.ac.th/primary/แ ก
นักเรียนระดับชั้น ป.๕-ป.๖
4.ประสานงานเครือขายขอรับบริจาค
คอมพิวเตอร เพื่อใหนักเรียนชั้น ป.๕-
ป.๖ เรียนดวยตนเอง
5.จัดตกแตงหองสื่อการเรียนการสอน
ใหเกิดความสะดวกตอการนําระบบ
อินเตอรเน็ตมาชวยสอน และการตอ
จอมอนิเตอรเขากับโนตบุคเพื่อ
นําเสนอการสอน ใหผูเรียนเห็นภาพ
15แฟมสะสมงาน
อยางชัดเจน
6.จัดตารางเรียนใหผูเรียนทุกระดับเขา
ศึกษาเรียนรูจากระบบอินเตอรเน็ต
7.นําขาวสารรายการวิทยุออนไลนตอ
เขาระบบกระจายเสียงของหอกระจาย
ขาวประจําหมูบาน
8.จั ด ต า ร า ง เ รี ย น ผ า น ร ะ บ บ
อินเตอรเน็ตประจําสัปดาห
9.นักเรียนเลือกรายการและประกอบ
อ า ห า ร ก ล า ง วั น จ า ก จ า ก
เว็บไซต http://www.foodtravel.tv/
และนําไปปฏิบัติ
10.ครูทําแบบสังเกตพฤติกรรมของ
ผูเรียน และแบบประเมินผลความพึง
พอใจของผูเรียน
11.สรุปผลการจัดการเรียนการสอน
จากสื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
3 ดานการสงเสริมอาชีพ
-โครงการถายทอดองคความรูโครงการ
หลวงเรื่องการปลูกไมผลและการปลูก
กาแฟ
1.เพื่อสืบทอดวิธีการทอผา
กะเหรี่ยงแบบดั่งเดิม
2.เพื่อพัฒนาอาชีพและ
ประชาชนบนพื้นที่สูงใน
พื้นที่เขตความ
รับผิดชอบของ ศศช.
1.สํารวจและเก็บรวบรวมขอมูลการทอ
ผากะเหรี่ยง
2.วางแผนการจัดกิจกรรม
รอยละ 80 ของผูเรียน
มีความพึงพอใจระดับ
ดีขึ้นไป
ผูเรียนสามารถทอผา
เพื่อใชและจําหนายได
16แฟมสะสมงาน
สงเสริมรายไดใหแกครัวเรือน 3.ผลิตสื่อการทอผากะเหรี่ยง
4.ทําหลักสูตรการทอผากะเหรี่ยง
5.ดําเนินการจัดกิจกรรม
6.วัดผลประเมินผล
7.สรุปและติดตามผล
4 ดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
โครงการสรางชีวิต คืนชีวา ใหผืนปา เพื่อปลูกจิตสํานึกใหทุกคนรู
รักษธรรมชาติและรวมกัน
อนุรักษสิ่งแวดลอม
ประชาชนในพื้นที่ เขต
ความรับผิดชอบของ
ศศช.
1.ทําเวทีชาวบาน
2.ปลูกปาตนน้ํา
3.สรางฝายชะลอน้ํา
4.ทําแนวกันไฟ
รอยละ 80 ของ
ประชาชนตระหนัก
และมีสวนรวมในการ
อนุรักษทรัพยากร
ธรรมและสิ่งแวดลอม
5 ดานการอนุรักษวัฒนธรรม
โครงการอนุรักษ สืบสาน วัฒนธรรมชน
เผากะเหรี่ยง
1.เพื่อสงเสริมอนุรักษ
วัฒนธรรมชนเผากะเหรี่ยง
2.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู
วัฒนธรรมชนเผากะเหรี่ยง
ผูเรียนทุกคนใน ศศช.ที่
เรียนกอนวัยเรียน
และการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นอกระบบสําหรับบน
พื้นที่สูง
1.แตงชุดกะเหรี่ยงทุกวันศุกร
2.สืบทอดการทอผากะเหรี่ยง
3.อนุรักษภาษาชนเผา
4.ประเพณีสรงน้ําพระธาตุดอยเกิ้ง
1.รอยละ 80 ของ
ผูเรียนรวมอนุรักษและ
สืบทอดวัฒนธรรมชน
เผา
ผูเรียนไดรับการสืบ
ทอดและอนุรักษจาก
ภูมิปญญาชนเผา
ลงชื่อ.......................................................................ครูศศช.บานแมปอกบน
( นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน )
17แฟมสะสมงาน
รายงานผลการจัดกิจกรรม
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ไดกลายเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่ง ตอคนเราใน
ยุคปจจุบันไมวาจะเปนในเมืองหรือชนบทถิ่นทุรกันดาร การติดตอสื่อสารที่
รวดเร็ว โดยผานเครื่องมือที่ชวยในการสื่อสารรูปแบบตาง เชน
โทรศัพทเคลื่อนที่ จานรับสัญญาณดาวเทียม และมีการเชื่อมโยงผานโครงขาย
อินเตอรเน็ต ทําใหสามารถมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ที่สะดวกรวดเร็ว
และถูกตอง สามารถนําขอมูลองคความรูมาปรับใชประโยชนอยางมี
ประสิทธิภาพ การพัฒนาทางการศึกษาในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอยาง
มาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทสําคัญเปนอยาง
มากในการพัฒนาการศึกษาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง 'อินเทอรเน็ต' ที่ชวย
ขยายแหลงความรูนั้นใหกระจายไปยังเยาวชนนักเรียนนักศึกษา โดยสามารถ
เขาไปคนควาดวยตัวเองอยางไรขีดจํากัด และขยายโอกาสการเรียนรูให
กระจายไปยังกลุมนักเรียนที่อยูในภูมิภาคหางไกลดวย
ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”บานแมปอกบน
สังกัด กศน.ดอยเตา จังหวัดเชียงใหม มีจํานวนประชากรจํานวนทั้งหมด ๒๐๕
คน จํานวน ๕๓ หลังคาเรือน มีผูเรียน กอนวัยเรียนและในวัยเรียนจํานวน ๔๑ คน โดยครูแยกผูเรียนเปนชั้นเรียนตาม
ระดับชวงชั้น เพื่อใหเหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรูตามวัยของผูเรียน จึงทําใหเกิดปญหาการไดรับเนื้อหาไม
18แฟมสะสมงาน
เปนไปตามเปาหมายของหลักสูตร ครูตองรีบเรงการถายทอดเนื้อหาใหกับผูเรียน จนไมสามารถจัดการเรียนการสอน
ตามแผนการเรียนรูที่วางไวได
ดั้งนั้นครูจึงไดนําวิธีการตางๆมาแกไขปญหา เพื่อใหผูเรียนมีเวลาอยูกับการเรียนรู และเขาใจเนื้อหาตาม
หลักสูตร เชน การเรียนทางไกลผานดาวเทียม นักเรียนชวยสอนระดับอนุบาล แตผูเรียนก็ไมสามารถเรียนรูไดเหมือนมี
ครูสอนในชั้นเรียน ครูจึงเห็นวาการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชในศศช.สามารถชวยแกปญหา และเกิดประโยชนทั้ง
ผูเรียนและชุมชน เพราะเนื้อหาและสื่อที่ไดจากอินเตอรเน็ตในปจจุบันเปนรูปแบบ มัลติมีเดีย ผูเรียนสามารถเขาใจใน
เนื้อหาเรื่องราวที่ครูนํามาสอดแทรกและจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียนนาจะมีการพัฒนาการทาง
สติปญหาไดดีขึ้นอีกในระดับหนึ่ง ครูจึงทดลองคนหาจุดรับสัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากโครงขายผูใหบริการ
และสามารถเชื่อมโยงสัญญาณ ในระบบ 3G ไดสามารถดาวนโหลดสื่อเนื้อหา แบบฝกทักษะ มาประกอบการเรียนการ
สอนไดอยางรวดเร็ว นักเรียนจึงมีเวลาไดเรียนรูตามแผนการสอนที่ครูวางไวในทุกชั้นเรียน ผูเรียนยังเกิดความสนใจกับ
สื่อเนื้อหาเพิ่มขึ้น
วัตถุประสงค
๑. เพื่อนําสื่อจากระบบอินเตอรเน็ตชวยใหจัดการเรียนการสอนเปนไปตามเปาหมายของหลักสูตร
๒. เพื่อใหครูและนักเรียนมีแหลงศึกษาเรียนรูไดคนควาเพิ่มเติม
เปาหมาย
เชิงปริมาณ
๑. นักเรียนทั้งหมดของศศช.บานแมปอกบน ๔ ระดับชั้นเรียนจบตามเปาหมายของหลักสูตร
๒. ปรับปรุงหองเรียนศศช.บานแมปอกบน ใหเปนมีหองเรียนผานสื่อระบบไอซีทีจํานวน ๑ หองเรียน
เชิงคุณภาพ
ครูสามารถสรางกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากสื่ออินเตอรเน็ตไดอยางหลากหลาย เกิดการกระตุนให
ผูเรียนเกิดความสนใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอน ประหยัดงบประมาณจากการจัดซื้อสื่อ ตําราเรียน แบบฝกทักษะ
ในรายวิชาตางๆ
กระบวนการดําเนินงาน
อินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรูในศศช.บานแมปอกบนเพื่อ
พัฒนาสื่อวิธีการเรียนในชั้นเรียนใหมีคุณภาพที่เนนผูเรียนเปน
ศูนยกลางมีขั้นตอนดังนี้
19แฟมสะสมงาน
๑. ครูศึกษาการใหบริการระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากผูใหบริการ ที่สามารถสงสัญญาณรับไดที่ศศช.
๒. คนหาจุดรับติดตั้งระบบรับสัญญาณ และการเชื่อมตอสัญญาณ การปลอยสัญญาณ wireless จากจุดรับ
สัญญาณมายังคอมพิวเตอรในชั้นเรียน
๓. จัดระบบการนําเสนอภายในชั้นเรียนเปนหองเรียนผานระบบออนไลนจากเว็บไซต
http://edltv.dlf.ac.th/primary/แกนักเรียนระดับชั้น ป.๕-ป.๖
๔. ประสานงานเครือขายขอรับบริจาคคอมพิวเตอร เพื่อใหนักเรียนชั้น ป.๕-ป.๖ เรียนดวยตนเอง
๕. จัดตกแตงหองสื่อการเรียนการสอนใหเกิดความสะดวกตอการนําระบบอินเตอรเน็ตมาชวยสอน และการ
ตอจอมอนิเตอรเขากับโนตบุคเพื่อนําเสนอการสอน ใหผูเรียนเห็นภาพอยางชัดเจน
๖. จัดตารางเรียนใหผูเรียนทุกระดับเขาศึกษาเรียนรูจากระบบอินเตอรเน็ต
๗. นําขาวสารรายการวิทยุออนไลนตอเขาระบบกระจายเสียงของหอกระจายขาวประจําหมูบาน
๘. จัดตารางเรียนผานระบบอินเตอรเน็ตประจําสัปดาห
๙. นักเรียนเลือกรายการและประกอบอาหารกลางวันจากจากเว็บไซต http://www.foodtravel.tv/
และนําไปปฏิบัติ
๑๐.ครูทําแบบสังเกตพฤติกรรมของผูเรียน และแบบประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียน
๑๑.สรุปผลการจัดการเรียนการสอนจากสื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
20แฟมสะสมงาน
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนผาน สื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ลงในชองรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ
เลขที่ ชื่อ - สกุล
รายการ
สรุปผล
การประเมินการมาเรียน
การนําความรู
จากสื่อปปฏิบัติ
ตามขั้นตอน
เขารวมกิจกรรม
ด ว ย ค ว า ม
สนุกสนาน
เพลิดเพลิน
ผาน
ไ ม
ผาน
ผาน ไมผาน ผาน ไมผาน ผาน ไมผาน
ด.ช. ดวงจันทร ติ๊บดอก √ √ √ √
ด.ญ มีนา จั๋นจั๋น √ √ √ √
ด.ญ เกษร เงินยง √ √ √ √
ด.ช. จันทร ดอกแยะ √ √ √ √
ด.ญ อําพร แกวอาย √ √ √ √
ด.ช. พงษเพรช เงินยง √ √ √ √
เกณฑการประเมิน
ผานตั้งแต 2 รายการ ถือวา ผาน
ผาน 1 รายการ ถือวา ไมผาน
ลงชื่อ ผูประเมิน
( )
/ / /
จากการติดตามสังเกตพฤติกรรม จากการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียน
ป.๕-๖ ศศช.บานแมปอกบน ในภาคเรียนที่๒ ปการศึกษา ๒/๒๕๕๗ ปรากฏวาผูเรียนเกิดความเพลิดเพลิน มีความ
สนใจตั้งใจเรียน และยังสามารถนําความรูไปปฏิบัติไดดวยตนเองเกี่ยวกับ การดูสื่อและเลือกรายการประกอบอาหาร
กลางวันของนักเรียนเองดังปรากฏตามตารางแบบบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล
21แฟมสะสมงาน
ผลการดําเนินงาน
๑. ครูสามารถจัดเวลาการสอนนักเรียนในแตละชั้นเรียนไดเพิ่มขึ้น
๒. นักเรียนไดรับความรูจากเนื้อหารายวิชาทันตามหลักสูตร
๓. นักเรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สนใจเรียนดีขึ้น
๔. ครูสามารถนําเนื้อหารายวิชา สื่อมัลติมีเดีย แบบฝกทักษะตางๆ
มาประกอบการเรียนไดอยางรวดเร็ว
๕. นักเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง
๖. ภายใน ศศช.มีหองสื่อการเรียนรูผานระบบไอซีที จํานวน ๑ หอง
๗. ไดรับการติดตอบริจาคเครื่องคอมพิวเตอร จํานวน ๒ เครื่องจากบริษัทอะแวร คอเปอรเรชั่น จํากัด
การเผยแพร
๑. ครูนําภาพกิจกรรมและวิดีโอเผยแพรผาน
social network และเว็บไซด เชน
facebook , youtube. เว็บไซต ครูกศน.
ค รู บ น พื้ น ที่
สูง http://papayadoi.blogspot.com/
๒. ทําเอกสารสรุปรายงานเสนอตนสังกัด
ปญหาและอุปสรรค
๑. นักเรียนมีพื้นฐานทางความเขาใจดานคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตยังไมดีพอตองเรียนรูเพิ่มเติม
๒. ขาดงบประมาณในการสนับสนุนอยางเพียงพอ
๓. ชวงฤดูฝนกระแสไฟฟามีไมเพียงพอตอการใชงานคอมพิวเตอรเปนเวลานาน
ขอเสนอแนะ
ใหทางตนสังกัดอนุมัติงบประมาณคาใชจายจัดทําโครงการอินเตอรเน็ตในศศช.เพราะเกี่ยวของกับการ
ประเมินคุณภาพสถานศึกษา ดานผูเรียนการเขาถึงโลกอินเตอรเน็ต
เอกสารอางอิง
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม. “Edltv:eDLTV e-Learning ของการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม”
แหลงที่มาhttp://edltv.dlf.ac.th/primary/. (๑ตุลาคม๒๕๕๗)
ท รู ป ลู ก ป ญ ญ า . “ โ ค ร ง ก า ร อิ น เ ต อ ร เ น็ ต เ พื ่อ สั ง ค ม แ ห ง ก า ร เ รี ย น รู ”
แหลงที่มา http://www.bmasmartschool.com/index.php/ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๗).
22แฟมสะสมงาน
โครงการถายทอดองคความรูโครงการหลวงและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง ประจําปงบประมาณ พ.ศ 2557 ศศช.
บานแมปอกบน ตําบลมืดกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม
ความเปนมา
จากการที่ครูไดเขาไปอยูในพื้นที่ ไดศึกษาสภาพการดําเนินชีวิตชาวบานในพื้นที่ยังขาดความรูในเรื่อง
การประกอบอาชีพการเกษตรอยางมาก เนื่องจากเปนพื้นที่อยางไกลจากหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่อง
การเกษตร ทําใหชาวบานไมมีโอกาสในการนําทรัพยากรในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนและเสริมสรางอาชีพ
และรายได พรอมกับการเรียนรูสรางองคความรูใหม เมื่อสถาบันวิจัยและพัฒนาศักยภาพบนพื้นที่สูงเขามาทํา
โครงการถายทอดองคความรูและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง โดยใหครูในศศช.เขาไปมีบทบาทหนาที่ใน
การจัดกระบวนการเรียนรูและสงเสริมสรางองคความรูในเรื่องตางๆที่เหมาะสมกับสภาพและวิถีชีวิตของคนใน
ชุมชนตอไปในอนาคต
23แฟมสะสมงาน
บานแมปอกบน เปนหมูบานชาวเขาเผากระเหรี่ยง ตั้งอยูหมูที่ ๕ ต. มืดกา อ.ดอยเตา จังหวัด
เชียงใหม มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น ๒๐๕ คน ๕๗ หลังคาเรือน ประชากรในชุมชนสวนใหญปลูกขาวเพื่อ
การบริโภคในครัวเรือนโดยทําในรูปแบบของการทํานาดําและขาวไร และปลูกพืชผักตามฤดูกาลไวบริโถคใน
ครัวเรือน เชน ฟกทอง แตงดอย การหาของปาขาย และการเลี้ยงสัตว ที่สืบทอดกันมาในอดีต พื้นที่ในชุมชน
มีความเหมาะสมในเรื่องการปลูกกาแฟ เนื่องจากมีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๗๐๐- ๙๐๐เมตร
สภาพอากาศเย็นตลอดทั้งป แตชาวบานยังขาดความรูเรื่องวิธีการปลูกและการดูแลรักษาที่ถูกตอง ดังนั้นครู
จึงเห็นสมควรในการจัดทําโครงการนี้เพื่อใหสมาชิกเกิดทักษะประสบการณจากการถายทอดองคความรูเรื่อง
การปลูกกาแฟนําไปฝกปฏิบัติอยางถูกวิธีตอไป
วัตถุประสงค
๑.เพื่อใหชุมชนมีความรู ความเขาใจมีทักษะและประสบการณในการปลูกกาแฟพันธุอราบิกาได
๒.เพื่อสงเสริมอาชีพและสรางรายไดเสริมแกชาวบานในชุมชน
วิธีการดําเนินงาน
การสงเสริมการปลูกกาแฟพันธุอราบิกา
๑.ประชุมชี้แจงแจงความเปนมาของโครงการ ปญหา
และความตองการของชุมชน(จัดทําเวทีชาวบาน)
๒.จัดสรางสื่อตางๆใหความรู ในการสงเสริม
๓. การดําเนินการ(วางแผนและคิดรวมกัน)
-ลงทะเบียนสํารวจและรับสมัครชาวบานที่สนใจและ
มีคุณสมบัติเขารวมโครงการ
- ประชุมจัดทําแผนโครงการรูปแบบการ
สงเสริมใหความรูประสบการณและขั้นตอนการลงมือ
ปฏิบัติ
24แฟมสะสมงาน
-การเตรียมสถานที่หาพื้นที่
๔. จัดทําแปลงเพาะกลาและแปลงสาธิต
-การตั้งกฎ กติกา/การบริหารจัดการกลุม
๕. การอบรมใหความรูดานการดูแลรักษา
-เริ่มการเตรียมพื้นที่ปลูก
-วิธีการปลูกและการดูแลรักษา
๖.สรุปการดําเนินงานศึกษาสภาพปญหาและแนว
ทางแกไขปญหา(กระบวนการกลุม)
ระยะเวลาดําเนินการ
ต.ค. ๕๖ - ก.ย. ๕๗
25แฟมสะสมงาน
ผลผลิต (output )
๑.จํานวนตนกาแฟ ๑๕๐๐ ตนพื้นที่๒ ไร
๒.แปลงตัวอยางของเกษตรกร ๑รายจากสมาชิก ๒๐ราย
ผลลัพธ (outcome)
๑.ชุมชนมีองคความรูดานการปลูกกาแฟพันธุอราบิกา
๒.เพิ่มพื้นที่ปาใหกับชุมชน
๓.ชุมชนมีแปลงตัวอยางในการเรียนรูฝกประสบการณเรื่อง
การรปลูกกาแฟที่ถูกตอง
งบประมาณ
-คาวัสดุโครงการจํานวน ๘,๐๐๐. บาท
ที่ รายการ จํานวน หนวย หมายเหตุ
1 ตนกลากาแฟพันธุอราบิกาอายุ ๑ ป 200 ตน
2 ทอพีอี ½ นิ้ว ยาว 100 เมตร 2 มวน
3 มินิสปริงเกอร ½ เกลียวใน 50 หัว
4 กาวยาทอพีอี 2 กระปอง
5 ขอตอตรงเกลียวใน ½ นิ้ว 12 ตน
6 ขอตอตรงเกลียวนอก ½ นิ้ว 2 กิโลกรัม
7 ขอตอของอ ½ นิ้ว 2 ปาย
8 กากน้ําตาล 10 ลิตร
9 ตาขายพรางแสง 75 เปอรเซ็นต 50 เมตร
26แฟมสะสมงาน
คาอุปกรณสื่อถายทอดโครงการ
จํานวน ๑๕,๐๐๐ บาท
๑. เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร จํานวน ๑ ชุด
๒. จานดาวเทียม จํานวน ๑ ชุด
๓. กลองถายรูปดิจิตอล จํานวน ๑ เครื่อง
สรุปสภาพปญหาและแนวทางแกไขปญหา
๑. เขาสูฤดูเก็บเกี่ยวขาวชาวบานไมมีเวลาในการดูแลรักษา
๒. เกษตรกรบางรายไมสามารถหาพื้นที่เพาะปลูกไกลชุมชนได
๓. สมาชิกบางรายขาดความสนใจ...ไมตั้งใจทําตามคําแนะนํา
๔. ตนกลาแตกใบแทเลยกําหนดการลงถุงทําใหรากกระทบกระเทือนบาง
27แฟมสะสมงาน
28แฟมสะสมงาน
29แฟมสะสมงาน
30แฟมสะสมงาน
31แฟมสะสมงาน
32แฟมสะสมงาน
33แฟมสะสมงาน
34แฟมสะสมงาน
35แฟมสะสมงาน
36แฟมสะสมงาน
37แฟมสะสมงาน
38แฟมสะสมงาน
39แฟมสะสมงาน
40แฟมสะสมงาน
41แฟมสะสมงาน
42แฟมสะสมงาน
43แฟมสะสมงาน
44แฟมสะสมงาน
45แฟมสะสมงาน
46แฟมสะสมงาน
47แฟมสะสมงาน
48แฟมสะสมงาน
49แฟมสะสมงาน
50แฟมสะสมงาน
51แฟมสะสมงาน
52แฟมสะสมงาน

More Related Content

Viewers also liked

แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานพัน พัน
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลง
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลงกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลง
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลงกศน.
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
Tanawat Wattanamanon
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
yoonkeyhun
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
Amr Thabet
 
แฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติแฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติ
rorsuelee
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceFarlamai Mana
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้นเฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
peter dontoom
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
KruKaiNui
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
การจัดทำแฟ้มสะสมงานการจัดทำแฟ้มสะสมงาน
การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
 

Viewers also liked (20)

แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
Sar and portfolio
Sar and portfolioSar and portfolio
Sar and portfolio
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลง
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลงกิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลง
กิจกรรมส่งเสริมรักการอ่านด้วยเพลง
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชาแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน นันทิชา
 
VB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development FrameworkVB2013 - Security Research and Development Framework
VB2013 - Security Research and Development Framework
 
แฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติแฟ้มประวัติ
แฟ้มประวัติ
 
เทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolioเทคนิคการทำ Portfolio
เทคนิคการทำ Portfolio
 
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurfaceภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
ภาคผนวก ก. รูปภาพSurface
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้นเฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
เฉลยทัศนศิลป์ ม.ต้น
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORDแบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
แบบปกรายงานสวยๆ โดย MS WORD
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
การจัดทำแฟ้มสะสมงานการจัดทำแฟ้มสะสมงาน
การจัดทำแฟ้มสะสมงาน
 

Similar to แฟ้มสะสมงาน๕๘

บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนkrunoi55
 
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52jib jibs
 
O net m3-math_52
O net m3-math_52O net m3-math_52
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
ภาษาไทย  คณิตศาสตร์ภาษาไทย  คณิตศาสตร์
ภาษาไทย คณิตศาสตร์Nirut Uthatip
 
Test o net m.3 52
Test o net m.3 52Test o net m.3 52
Test o net m.3 52seelopa
 
O netม.3 53
O netม.3 53O netม.3 53
O netม.3 53Lunla Nui
 
C5384166a8e64c116cb19039398fe76f
C5384166a8e64c116cb19039398fe76fC5384166a8e64c116cb19039398fe76f
C5384166a8e64c116cb19039398fe76fwaranyuati
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
weskaew yodmongkol
 
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1warijung2012
 
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556KruKaiNui
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3PrapatsornPalmmy
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3Prapatsorn Chaihuay
 

Similar to แฟ้มสะสมงาน๕๘ (20)

บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
4
44
4
 
School
SchoolSchool
School
 
โรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสนโรงเรียนบ้านหนองแสน
โรงเรียนบ้านหนองแสน
 
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
รายชื่อผู้รับทุนวิจัยปี 51 52
 
O net m3-math_52
O net m3-math_52O net m3-math_52
O net m3-math_52
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
ภาษาไทย  คณิตศาสตร์ภาษาไทย  คณิตศาสตร์
ภาษาไทย คณิตศาสตร์
 
O net math3 y53
O net math3 y53O net math3 y53
O net math3 y53
 
Test o net m.3 52
Test o net m.3 52Test o net m.3 52
Test o net m.3 52
 
O netม.3 53
O netม.3 53O netม.3 53
O netม.3 53
 
C5384166a8e64c116cb19039398fe76f
C5384166a8e64c116cb19039398fe76fC5384166a8e64c116cb19039398fe76f
C5384166a8e64c116cb19039398fe76f
 
Bestmaecharao
BestmaecharaoBestmaecharao
Bestmaecharao
 
แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียน
 
แนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียนแนะนำโรงเรียน
แนะนำโรงเรียน
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน1
 
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
หนังสืออนุสรณ์ ม 3 2556
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
แบบสำรวจงานของปาล์มมี่3
 

More from กศน.

บัตรคำหมวดผลไม้
บัตรคำหมวดผลไม้บัตรคำหมวดผลไม้
บัตรคำหมวดผลไม้
กศน.
 
บัตรคำหมวดสัตว์
บัตรคำหมวดสัตว์บัตรคำหมวดสัตว์
บัตรคำหมวดสัตว์
กศน.
 
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่มค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
กศน.
 
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูกสื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
กศน.
 
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
กศน.
 
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้าโครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
กศน.
 
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
กศน.
 
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวนจำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
กศน.
 

More from กศน. (8)

บัตรคำหมวดผลไม้
บัตรคำหมวดผลไม้บัตรคำหมวดผลไม้
บัตรคำหมวดผลไม้
 
บัตรคำหมวดสัตว์
บัตรคำหมวดสัตว์บัตรคำหมวดสัตว์
บัตรคำหมวดสัตว์
 
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่มค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
ค่าประจำหลักและการนับเพิ่ม
 
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูกสื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
สื่อนำเสนอการอ่านแจกลูก
 
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
 
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้าโครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
โครงการส่งเสริมการปลูกกาแฟอราบิก้า
 
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
สรุปผลการปฏิบัติงาน๕๕
 
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวนจำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
จำนวนนับการอ่านเขียนตัวเลขแทนค่าจำนวน
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

แฟ้มสะสมงาน๕๘

  • 1. 1แฟมสะสมงาน ขอมูลประวัติสวนตัว-ประวัติการศึกษา ขอมูลสวนตัว ชื่อ นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน เกิดวันที่ ๑๕ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๐๘ อายุ ๔๓ ป ภูมิลําเนาเดิม ๘๑ หมูที่ ๓ ต.เขาพังไกร อ.หัวไทร จ. นครศรธรรมราช ที่อยูปจจุบัน ๒๙๐/๙๗ หมูบานน้ําผึ้งวิลเลจ หมูที่ ๔ ต.หนองผึ้ง อ. สารภี จ.เชียงใหม ชื่อบิดา นายเยื้อน ธรรมเสน (เสียชีวิต) ชื่อมารดา นางผอง ธรรมเสน จํานวนพีนอง ๕ คน การศึกษา ระดับประถม โรงเรียนวัดบูรณาวาส ต.เขาพังไกร อ.หัวไทร จ. นครศรีธรรมราช ระดับมัธยมศึกษาตน โรงเรียนหัวไทรบํารุงราษฎร อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช ประกาศนียบัตรวิชาชีพปวช. วิทยาลัยเกษตรกรรมสงขลา สาขา เกษตรกรรม ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาเขตเกษตรปทุมธานี สาขา เกษตรกรรม ปริญญาตรี สถาบันราชภัฎเพชรบูรณ สาขาวิชา บริหารธุรกิจ จาก ป ๒๕๔๑ ปริญญาประกาศนียบัตรวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ป พ.ศ.2551 ความสามารถพิเศษ ๑ คอมพิวเตอร Microsoft office ,การตัดตอทําวีดีโอ,มิกซเสียงตางๆ ๒. เลนดนตรี ปฏิบัติหนาที่ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครั้งแรกวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๔๖ รวมระยะเวลาจนถึงปจจุบัน ๑๑ป ๔เดือน ปรัชญาชีวิต .....มองโลกในแงดี….ความสงบสุขของชีวิตสามารถแสวงหาไดอยางเทาเทียมกัน…… คติพจนในการทํางาน ทําในสิ่งที่ถูกตอง รักและจริงใจตองานและหนาที่ ประสบการณการทํางาน
  • 2. 2แฟมสะสมงาน 1.บริษัทเจริญโภคภัณฑ อาหารสัตวจํากัด ตําแหนง ผูชวยสัตวบาล ประสบการณ 5 ป 2.ศูนยการศึกษานอกโรงเรียน จ.พิจิตร ตําแหนง ครูอาสาสมัครฯ ประสบการณ 1ป 6 เดือน 3.มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ตําแหนง เจาหนาที่สวนและตกแตง ประสบการณ 1ป 10 เดือน ประวัติความเปนมาของหมูบาน ตามคําบอกเลาของชาวบานที่สืบตอกันมาเกี่ยวกับความเปนมาของหมูบาน เดิมมีชาวบานอพยพมาจากบานดอย หลวง ไปอาศัยอยูที่ดอยกองเกี๊ยะ จํานวน 7 หลังคาเรือน (ซี่งอยูทางทิศเหนือของหมูบานปจจุบัน)ตอมามีปญหาเรื่องขโมย เขามา ขโมยทรัพยสิน วัวควาย และเรื่องน้ําในการทําเกษตร จึงยายที่อยูมาอยูที่บานแมปอกในปจจุบัน และมีการยายเขามา ท  ชื่อโครงการ /หลักสูตร ว/ด/ป ระยะเวลา หนวยงานที่จัด สถานที่จัด 1 การอบรมครูศศช.ภาคเหนือ 11-15 มิ.ย.55 กศน.ภาคเหนือ สถาบันพัฒนากศน.ภาคเหนือ 2 โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 27-31ส.ค.55 กศน.เชียงใหม มหาวิทยาลัยแมโจ 3 การพัฒนาครูอาสาสมัครกศน.เพื่อ เสริมสรางเทคนิคการสรางสรรคกิจกรรม เพื่อสงเสริมการเรียนรูและการนิเทศ 29 เม.ย. – 1 พ.ค. 56 สาบันการศึกษา และพัฒนาตอเนื่อง สิรินธร โรงแรมจังหวัดนครราชสีมา 4 โครงการพัฒนาบุคลากรกศน.ดอยเตา 27-29 ส.ค.56 กศน.ดอยเตา หองประชุมกศน.ดอยเตา 5 โครงการถายทอดองคความรูโครงกาหลวง 18-21 มี.ค.57 สถาบันวิจัยบน พื้นที่สูง โรงแรมฟูรามา เชียงใหม 6 การฝกอบรมลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรูทั่วไป 24 -30 เมษายน 57 กศน.เชียงใหม คายลูกเสือเหนือเกลา จ. เชียงใหม 7 โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 20-22 ม.ค..57 กศน.เชียงใหม อุทยานหลวงราชพฤกษ 8 โครงการพัฒนาบุคลากรครูศศช.ตามโครง การกพด.เพื่อสนองงานตามพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 21-23 ม.ค..57 กศน.เชียงใหม ศูนยประชุมแสดงสินคา นานาชาติเฉลิมพระเกียรติ จ. เชียงใหม 9 โครงการถายทอดองคความรูโครงกาหลวง 23-27 มี.ค.57 สถาบันวิจัยบน พื้นที่สูง สถานีเกษตรหลวงปางดะ
  • 3. 3แฟมสะสมงาน เรื่อยๆ จนมีจํานวนหลังคาเรือนเพิ่มขึ้น ตอมาทางหนวยงานราชการ ไดเขามาดูแลพัฒนาคุณภาพชีวิตเขาอยูในการปกครอง ของสภาตําบลมืดกา และโอนเขามาอยูในความดูแล ขององคการบริหารสวนตําบลทาเดื่อ เมื่อมีพ.ศ. 2547 ทําใหการพัฒนา ชีวิตความเปนอยูดีขึ้นเปนลําดับ สําหรับศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอดอยเตา เขามาสงเสริมดานการศึกษาใหกับประชาชนตั้งแตป 2540 โดยจัดตั้ง ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง” บานแมปอกบนขึ้นครั้งแรกโดยไดรับการสนับสรางอาคารเรียน จาก สภาตําบลมืดกา สภาพภูมิประเทศ เปนพื้นที่ที่มีปาสนสองสามใบ(เกี๊ยะ)และ ตนยางคอนขางจะอุดมสมบูรณของปาไม บริเวณสันดอยมีความลาดชัน สลับเปนชวงๆ มีลําหวยและสายน้ําตลอดทั้งปพื้นที่อยูอาศัย จะเปนบริเวณพื้นที่ราบบนสันดอย ไกลกับลําหวยเล็กนอย พื้นที่ทํานาจะอยูบริเวณที่ราบลุม มีสายน้ําไหลผานซึ่งทํานาไดปละ 1 ครั้งมีลําหวยซึ่งเปนตนน้ําที่นําไปใชเปนระบบประปา ถึง 1 แหลงคือ 1. หวยแมปอก เปนแหลงตนน้ําซึ่งมีน้ําใชตลอดทั้งป สภาพอากาศ 1. ฤดูฝน เริ่ม มิถุนายน – ธันวาคม 2. ฤดูหนาว เริ่ม ธันวาคม – เมษายน 3. ฤดูรอน เริ่ม เมษายน– กรกฎาคม อุณหภูมิต่ําสุด ประมาณ 7 องศา สูงสุด ประมาณ 31 องศาเซลเซียส สถานที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ สถานที่ตั้ง หมูที่ 5 ตําบลมืดกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดตอกับ หวยแมลายและพระธาตุดอยเกิ้ง อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม ทิศใต ติดตอกับ บานหลายทุง หมู4 ต.มืดกา อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม ทิศตะวันออก ติดตอกับ บานแมปอกลาง และทะเลสาบดอยเตา อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม ทิศตะวันตก ติดตอกับ บานยางเปยง ต.ยางเปยง อ.อมกอย จ.เชียงใหม
  • 4. 4แฟมสะสมงาน สภาพทางเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพและรายได 1.การเลี้ยงสัตว ไดแก วัว,ควายซึ่งเปนรายไดหลัก และมีการเลี้ยงไกพื้นเมือง สุกรพันธุพื้นเมืองเสริม เพื่อไว ประกอบพิธีกรรมทางความเชื่อ 2 การเพาะปลูกไดแก การทํานา โดยทําไดปละ 1 ครั้ง เพื่อบริโภคในครัวเรือน 3. อาชีพเสริมไดแก การทอผา จักสาน และหาของปา จํานวนครัวเรือนและประชากร มีจํานวนครัวเรือนทั้งหมด 57 หลังคาเรือน มีจํานวนประชากรทั้งหมด 205 คน ชาย 99 คน หญิง 106 คน การปกครอง ปจจุบันไดรวมอยูในความดูแลของเขตการปกครององคการบริหารสวนทองถิ่นตําบลทาเดื่อ ผูนําทองถิ่น 1.นายเสงี่ยม ใจรินทร กํานันหมูที่5 ต.มืดกา 2.นายอุทิศ หลามุย ผูใหญบาน หมู5 3. นายหลา คําอาย ผูชวยผูใหญบาน หมู5 4.นายผัด ดอกแยะ ผูชวยผูใหญบาน หมู5 5.นายเสาร ปูมา สมาชิกอบต.หมูท5 6.นายชาติชาย เงินยง สมาชิกอบต.หมูท5
  • 5. 5แฟมสะสมงาน คณะกรรมการโรงเรียน 1. นายก่ํา ดอกอิน ประธานกรรมการ 2.นายสุกฤษฎิ์ แกละวัน รองประธานกรรมการ 3.จอวัน ผัด กรรมการ 4.นายนิเชา สองเมียนายดี กรรมการ 5.นายดี เงินยง กรรมการ 6.นายทองสุข ปูมา กรรมการ 7.นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน กรรมการและเลขานุการ ภูมิปญญาทองถิ่น 1.นายหลา ดอกอิน เกงทางดาน ผูนําทางความเชื่อ 2.นายจอวัน ผัดดี เกงทางดาน จักสาน 3. นางเกี๋ยง แกวติ๊บ เกงทางดาน ทอผา 4. นายยงค ปูจอ เกงทางดาน สมุนไพร สถานที่สําคัญและหนวยงานองคกรในชุมชน 1. วัดพระธาตุแมปอกบน มีพระจําพรรษา 1 รูป 2. ศูนยบริการสาธารณสุขบานดอยแกว มีเจาหนาที่ 1 คน คือนายวีรพล แกละวัน 3. กลุมกองทุนหมูบานดอยแกว นายสมชาย ปูมา เปนประธาน 4. กลุมสตรี มี นางแสงหลา ผัดดี เปนประธานกลุม
  • 7. 7แฟมสะสมงาน ขอมูล ณ เดือน ตุลา 2557 ตารางรางแสดงจํานวนประชากร ศศช.”แมฟาหลวง”บานแมปอกบนป ๒๕๕๘ 1.ประชากรจําแนกตามอายุ อายุ/เพศ 0-2 ป 3-6 ป 7-15 ป 16–25ป 26–35ป 36–50ป 51–60ป 60ปขึ้นไป รวม ชาย 2 5 23 20 12 25 7 5 99 หญิง 3 5 18 24 17 16 9 14 106 รวม 5 10 41 44 29 41 16 19 205 จํานวนครัวเรือน 57 ครัวเรือน ตารางระดับการรูภาษาไทยของ ประชากรบานแมปอกบน หมูที่ ๕ ต.มืดกา อ.ดอยเตา จ.เชียงใหม ชวงอายุ ระดับการรูภาษาไทย ฟง - พูด - อาน - เขียน ไมได ฟง - พูด - อาน ได เขียน ไมได ฟง - พูด ได อาน - เขียน ไมได ฟง - พูด - อาน - เขียน ได รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ตามชวง อายุ 3-6 4 5 9 0 0 0 4 2 6 0 0 0 15 7-15 0 1 1 0 0 0 2 2 4 23 21 44 49 16-25 0 0 0 0 0 0 3 0 3 17 15 32 35 26-35 0 0 0 0 0 0 3 13 16 9 1 10 26 36-50 0 0 0 0 5 5 19 13 32 3 2 5 42 51-60 0 0 0 0 0 0 2 6 8 0 1 1 9 61ขึ้นไป 0 2 2 1 4 5 4 7 11 0 0 0 18 รวม 12 10 80 92 194
  • 8. 8แฟมสะสมงาน ขอมูลจํานวนนักเรียนกลุมเปาหมายศศช."แมฟาหลวง" บานแมปอกบน อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ปพ.ศ. จํานวนนักเรียนแยกตามระดับชั้น ผูไมรู หนังสือ นักศึกษาทางไกล รวม ทั้งหมดกอนวัย เรียน ป.1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6 รวม ประถม ม. ตน ม. ปลาย 2556 ชาย 4 2 - 5 2 3 2 18 25 2 8 1 56 หญิง 4 4 - 3 5 5 5 26 25 1 12 1 60 รวม 8 6 - 8 7 8 7 44 37 3 19 2 111 2557 ชาย 5 2 2 5 1 3 3 21 25 2 8 1 56 หญิง 4 3 1 2 5 2 1 19 25 1 12 1 60 รวม 9 5 3 7 6 6 11 40 37 3 19 2 111
  • 9. 9แฟมสะสมงาน เปาหมายการทํางาน 1. จัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน2544 ตามหลักสูตรการศึกษาบนพื้นที่สูง 2. ปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบตามขอบเขตของงานและนโยบายของหนวยงานตามที่ไดรับมอบหมาย 3. จัดศูนยการเรียนใหเปนแหลงเรียนรูตลอดชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง 4. กระตุนใหชุมชนเห็นความสําคัญของการศึกษาและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 5. ทํางานอยางมีความสุขพัฒนาตนเองอยูเสมอ ³ş¸ď×þęŔ₣ď˘₣ĺĞĘń˝ İď¸ćĎş/ĿˆęğİýĘ¹Ďýİ/ˆďİğˆğ╟ø þęŔŇÝ╠İĎ¹˝ďˆˆďݲŽĘ¹Ďýʸď×(.....Þ̸²╗²╥˝˝Ĺ¹Ď×) ๑. ไดรับเข็มมอบวิทยพัฒน จากการอบรมการพัฒนาบุคลากรครูกศน.ที่โรงแรมเดอะสตาร จ.ระยอง ๒. ศิษยเกาดีเดนป2558 จากคณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลปทุมธานีดานพัฒนาชุมชน
  • 10. 10แฟมสะสมงาน แนวทางการพัฒนาการศึกษา ความตองการในการพัฒนาตนเอง 1) การสนับสนุน สงเสริม เกี่ยวกับกับการ อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน 1. การจัดการศึกษาทางไกลผานระบบอินเตอรเน็ต 2. การทําหลักสูตรผลิตภัณฑจากไมไผ ชวงเวลาและระยะเวลาที่เหมาะสม - กอนเปดภาคเรียน ขอเสนอแนะ 1. ..................................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................................... 4. ..................................................................................................................................................... ความตองการในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน 1) ปญหา /ความตองการเรงดวนที่ ตองเรงปรับปรุงพัฒนา 1. เครื่องคอมพิวเตอรเพื่อประกอบการเรียน 2. .................................................................................................................................................... 3. ..................................................................................................................................................... 4. ..................................................................................................................................................... โครงการ/กิจกรรมที่กําหนดเพื่อแกปญหาหรือพัฒนา 1. .....โครงการทัศนะศึกษาทองฟาจําลอง....... 2. ........คายยุวชนรักษสิ่งแวดลอม.......................................................................................................... 3. .........คายวิทยาศาสตร.................................................................................................. 4. ..................................................................................................................................................... 3)อื่น ๆ 1. ..................................................................................................................................................... 2. ..................................................................................................................................................... 3. .....................................................................................................................................................
  • 11. 11แฟมสะสมงาน แผนปฏิบัติงานประจําปงบประมาณ๒๕๕๘ ศศช.บานแมปอกบน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไขความสําเร็จ 1 ดานโภชนาการและสุขภาพอนามัย -โครงการศศช.สงเสริมสุขภาพกาย- สุขภาพจิต 1 เพื่อสงเสริมและพัฒนาใหเด็ก ระดับปฐมวัยและนักเรียน ประถมศึกษามีสุขภาพแข็งแรง มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ตามเกณฑของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 2 เพื่อสงเสริมใหเด็กระดับ ปฐมวัยและนักเรียน ประถมศึกษามีน้ําหนัก สวนสูง และสมรรถนะทางรางกาย ตาม เกณฑมาตรฐานของกรม อนามัย กระทรวงสาธารณสุข ผูเรียนทุกคนใน ศศช. ที่เรียนกอนวัยเรียน และการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกระบบสําหรับบนพื้นที่ สูง 1.จัดทําโครงการเสนอ ขออนุมัติตอ คณะกรรมการกองทุน หลักประกันสุขภาพ องคการบริหารสวน ตําบลทาเดือ 2 แตงตั้ง คณะกรรมการดําเนินการ โครงการโรงเรียน สงเสริมสุขภาพ 3 ดําเนินการจัด กิจกรรมตามโครงการ โรงเรียนสงเสริมสุขภาพ 5.4 ประเมินผลการ ดําเนินการและรายงาน -รอยละ 80 ของผูเรียน ศศช. มีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดูแล สุขภาพอนามัยที่ดี -รอยละ80ผูเรียนมี สุขภาพกาย-สุขภาพจิต ตามเกณฑมาตรฐาน ผูเรียนสามารถเลนกีฬา ที่ชอบไดไมนอยกวา 1 ชนิด
  • 12. 12แฟมสะสมงาน ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไขความสําเร็จ โครงการเกษตรในศศช. -เพื่อใหผูเรียนสามารถปลูก ผักไวเพื่อบริโภคในศศช. ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 -จัดกระบวนการเรียนการสอนและ ปฏิบัติเรื่องการปลูกผักสวนครัวและ การเลี้ยงปลา รอยละ 80 ของผูเรียน ศศช. มีความรูความ เขาใจและสามารถ ปลูกผักเลี้ยงปลากิน เองได ผูเรียนทําแปลงปลูก ผักอยางนอยคนละ2 ชนิด 3 ครั้งตลอดป การศึกษา 2 ดานการศึกษา -กิจกรรมรักการอาน -เพื่อปลูกฝงนิสัยการรักการ อาน ผูเรียนทุกคนใน ศศช. ที่เรียนกอนวัยเรียน และการศึกษาขั้น พื้นฐานนอกระบบ สําหรับบนพื้นที่สูง -สรางกิจกรรมกิจรักการอานจากเพลง- นิทานทุกๆเชากอนเรียนชั่วโมงแรก - -รอยละ 80 ของ ผูเรียน นักเรียนสา รามารถอานสะกดคํา ไดถูกตองตามตาม แบบทดสอบการอาน -นักเรียนทุกคนตอง ออกมาอานนิทาน และรองเพลงหนาชั้น เรียนเรียงตาม ระดับชั้นและจด บันทึกคําใหมตามที่ ครูกําหนดและอานคํา จากบัตรคําไดถูกตอง การสงเสริมการรูหนังสือ -เพื่อจัดการเรียนการสอนผูที่ ไมรูหนังสือสามารถฟง-พูด- อาน-เขียนภาษาไทยและ สื่อสารกับประชาชนทั่วไปได ผูไมรูหนังสือจํานวนที่ ลงทะเบียนเรียน จํานวน ๒๐ คน -สํารวจผูไมรูหนังสือ -รับลงทะเบียน -เสนอขออนุมัติเปดสอน -เปดสอนในวันเสารและตอนเย็นตาม แผนการจัดการเรียนรู รอยละ 80 ของผูเรียน ฟง-พูด-อาน-เขียน ภาษาไทยไดตาม เกณฑ -ผูเรียนมาเรียนอยาง ตอเนื่องสามารถเขียน ชื่อและอานคํา ภาษาไทยจากบัตรคํา ไดเกินรอยละ50
  • 13. 13แฟมสะสมงาน ที่ โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค กลุมเปาหมาย วิธีดําเนินงาน ตัวชี้วัด เงื่อนไข ความสําเร็จ เพื่อสรางการรับรู และความ เขาใจในคานิยมหลัก 12 ประการ 2. เพื่อกระตุนจิต สํานึกของประชาชนให ประพฤติปฏิบัติตามคานิยม หลักของไทย 3. เพื่อเสริม สรางการมีสวนรวมในการ รณรงค เผยแพรความรู ความเขาใจและเชิญชวนให ผูอื่น ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.ออกแบบ-วางแผนการเรียนรู 2.เสนอแผนการจัดการเรียนรูคานิยม หลัก12 ประการ 3.นําไปใชกับนักเรียนโดยอาศัยสื่อจาก อินเตอรเน็ต 4.ใหนักเรียนทองบทอาขยาย..และ บันทึกความดีที่เขากับหลักคุณธรรม พัฒนาสื่อการเรียนการสอน -เพื่อการสรางแบบฝกทักษะ ใชในการประกอบการจัดการ เรียนใหผูเรียนเขาใจใน เนื้อหาและผานการวัด ประเมินผลในรายวิชาภาค เรียนที่2/57 ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.เสนอโครงการขอการอนุมัติ ซอมแซมเครื่องคอมพิวเตอรที่ชํารุด และขอความอนุเคราะหเพิ่มเติม 2.ขอติดตั้งอุปกรณปลอยสัญญาณไวไฟ ในศศช. -ศศช.มีระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการพัฒนาใหเกิด สังคมแหงการเรียนรู นักเรียนสามารถ เรียนรู คนควาไดดวนตนเอง และความเนื้อหา จัดทํารายงานตามที่ ครูมอบหมายไดทุกๆ คน -การวิจัยชั้นเรียน -จัดทําวิจัยชั้นเรียน 2 เรื่อง ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.ศึกษาสภาพปญหาของผูเรียน 2.วางแผนวิเคราะหผูเรียนตามสภาพ ปญหา 3.กําหนดเรื่องการวิจัยและเครื่องมือ ,นวัตกรรมขั้นตอนการดําเนินการ 4.เสนอขอจัดทําการวิจัยตอผูบริหาร สถานศึกษา -นักเรียนรอยละ๘๐ ผานเกณฑการประ ประเมินตามแบบการ การติดตามและการ สังเกตที่ครูจัดทําขึ้น -นักเรียนสามารถใช งานอินเตอรเน็ตใน การสืบคนชวยในการ เรียนตามใบงานที่ครู มอบหมาย
  • 14. 14แฟมสะสมงาน 5.ดําเนินการวิจัยชั้นเรียนอยางงายตาม เรื่อง 6.สรุปผลและรายงานผล 7.เผยแพรงานวิจัย -อินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู 1.เพื่อนําสื่อจากระบบ อินเตอรเน็ตชวยใหจัดการ เรียนการสอนเปนไปตาม เปาหมายของหลักสูตร 2.เพื่อใหครูและนักเรียนมี แหลงศึกษาเรียนรูไดคนควา เพิ่มเติม ผูเรียนชวงชั้นที่1-2 1.ครูศึกษาการใหบริการระบบ อินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากผู ใหบริการ ที่สามารถสงสัญญาณรับไดที่ ศศช. 2.คนหาจุดรับติดตั้งระบบรับสัญญาณ และการเชื่อมตอสัญญาณ การปลอย สัญญาณ wireless จากจุดรับสัญญาณ มายังคอมพิวเตอรในชั้นเรียน 3.จัดระบบการนําเสนอภายในชั้นเรียน เปนหองเรียนผานระบบออนไลนจาก เ ว็ บ ไ ซ ต http://edltv.dlf.ac.th/primary/แ ก นักเรียนระดับชั้น ป.๕-ป.๖ 4.ประสานงานเครือขายขอรับบริจาค คอมพิวเตอร เพื่อใหนักเรียนชั้น ป.๕- ป.๖ เรียนดวยตนเอง 5.จัดตกแตงหองสื่อการเรียนการสอน ใหเกิดความสะดวกตอการนําระบบ อินเตอรเน็ตมาชวยสอน และการตอ จอมอนิเตอรเขากับโนตบุคเพื่อ นําเสนอการสอน ใหผูเรียนเห็นภาพ
  • 15. 15แฟมสะสมงาน อยางชัดเจน 6.จัดตารางเรียนใหผูเรียนทุกระดับเขา ศึกษาเรียนรูจากระบบอินเตอรเน็ต 7.นําขาวสารรายการวิทยุออนไลนตอ เขาระบบกระจายเสียงของหอกระจาย ขาวประจําหมูบาน 8.จั ด ต า ร า ง เ รี ย น ผ า น ร ะ บ บ อินเตอรเน็ตประจําสัปดาห 9.นักเรียนเลือกรายการและประกอบ อ า ห า ร ก ล า ง วั น จ า ก จ า ก เว็บไซต http://www.foodtravel.tv/ และนําไปปฏิบัติ 10.ครูทําแบบสังเกตพฤติกรรมของ ผูเรียน และแบบประเมินผลความพึง พอใจของผูเรียน 11.สรุปผลการจัดการเรียนการสอน จากสื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู 3 ดานการสงเสริมอาชีพ -โครงการถายทอดองคความรูโครงการ หลวงเรื่องการปลูกไมผลและการปลูก กาแฟ 1.เพื่อสืบทอดวิธีการทอผา กะเหรี่ยงแบบดั่งเดิม 2.เพื่อพัฒนาอาชีพและ ประชาชนบนพื้นที่สูงใน พื้นที่เขตความ รับผิดชอบของ ศศช. 1.สํารวจและเก็บรวบรวมขอมูลการทอ ผากะเหรี่ยง 2.วางแผนการจัดกิจกรรม รอยละ 80 ของผูเรียน มีความพึงพอใจระดับ ดีขึ้นไป ผูเรียนสามารถทอผา เพื่อใชและจําหนายได
  • 16. 16แฟมสะสมงาน สงเสริมรายไดใหแกครัวเรือน 3.ผลิตสื่อการทอผากะเหรี่ยง 4.ทําหลักสูตรการทอผากะเหรี่ยง 5.ดําเนินการจัดกิจกรรม 6.วัดผลประเมินผล 7.สรุปและติดตามผล 4 ดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม โครงการสรางชีวิต คืนชีวา ใหผืนปา เพื่อปลูกจิตสํานึกใหทุกคนรู รักษธรรมชาติและรวมกัน อนุรักษสิ่งแวดลอม ประชาชนในพื้นที่ เขต ความรับผิดชอบของ ศศช. 1.ทําเวทีชาวบาน 2.ปลูกปาตนน้ํา 3.สรางฝายชะลอน้ํา 4.ทําแนวกันไฟ รอยละ 80 ของ ประชาชนตระหนัก และมีสวนรวมในการ อนุรักษทรัพยากร ธรรมและสิ่งแวดลอม 5 ดานการอนุรักษวัฒนธรรม โครงการอนุรักษ สืบสาน วัฒนธรรมชน เผากะเหรี่ยง 1.เพื่อสงเสริมอนุรักษ วัฒนธรรมชนเผากะเหรี่ยง 2.เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู วัฒนธรรมชนเผากะเหรี่ยง ผูเรียนทุกคนใน ศศช.ที่ เรียนกอนวัยเรียน และการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกระบบสําหรับบน พื้นที่สูง 1.แตงชุดกะเหรี่ยงทุกวันศุกร 2.สืบทอดการทอผากะเหรี่ยง 3.อนุรักษภาษาชนเผา 4.ประเพณีสรงน้ําพระธาตุดอยเกิ้ง 1.รอยละ 80 ของ ผูเรียนรวมอนุรักษและ สืบทอดวัฒนธรรมชน เผา ผูเรียนไดรับการสืบ ทอดและอนุรักษจาก ภูมิปญญาชนเผา ลงชื่อ.......................................................................ครูศศช.บานแมปอกบน ( นายทวีศักดิ์ ธรรมเสน )
  • 17. 17แฟมสะสมงาน รายงานผลการจัดกิจกรรม ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เทคโนโลยีสารสนเทศ ไดกลายเปนปจจัยสําคัญอยางยิ่ง ตอคนเราใน ยุคปจจุบันไมวาจะเปนในเมืองหรือชนบทถิ่นทุรกันดาร การติดตอสื่อสารที่ รวดเร็ว โดยผานเครื่องมือที่ชวยในการสื่อสารรูปแบบตาง เชน โทรศัพทเคลื่อนที่ จานรับสัญญาณดาวเทียม และมีการเชื่อมโยงผานโครงขาย อินเตอรเน็ต ทําใหสามารถมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร ที่สะดวกรวดเร็ว และถูกตอง สามารถนําขอมูลองคความรูมาปรับใชประโยชนอยางมี ประสิทธิภาพ การพัฒนาทางการศึกษาในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอยาง มาก ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศไดเขามามีบทบาทสําคัญเปนอยาง มากในการพัฒนาการศึกษาที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่ง 'อินเทอรเน็ต' ที่ชวย ขยายแหลงความรูนั้นใหกระจายไปยังเยาวชนนักเรียนนักศึกษา โดยสามารถ เขาไปคนควาดวยตัวเองอยางไรขีดจํากัด และขยายโอกาสการเรียนรูให กระจายไปยังกลุมนักเรียนที่อยูในภูมิภาคหางไกลดวย ศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”บานแมปอกบน สังกัด กศน.ดอยเตา จังหวัดเชียงใหม มีจํานวนประชากรจํานวนทั้งหมด ๒๐๕ คน จํานวน ๕๓ หลังคาเรือน มีผูเรียน กอนวัยเรียนและในวัยเรียนจํานวน ๔๑ คน โดยครูแยกผูเรียนเปนชั้นเรียนตาม ระดับชวงชั้น เพื่อใหเหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรูตามวัยของผูเรียน จึงทําใหเกิดปญหาการไดรับเนื้อหาไม
  • 18. 18แฟมสะสมงาน เปนไปตามเปาหมายของหลักสูตร ครูตองรีบเรงการถายทอดเนื้อหาใหกับผูเรียน จนไมสามารถจัดการเรียนการสอน ตามแผนการเรียนรูที่วางไวได ดั้งนั้นครูจึงไดนําวิธีการตางๆมาแกไขปญหา เพื่อใหผูเรียนมีเวลาอยูกับการเรียนรู และเขาใจเนื้อหาตาม หลักสูตร เชน การเรียนทางไกลผานดาวเทียม นักเรียนชวยสอนระดับอนุบาล แตผูเรียนก็ไมสามารถเรียนรูไดเหมือนมี ครูสอนในชั้นเรียน ครูจึงเห็นวาการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชในศศช.สามารถชวยแกปญหา และเกิดประโยชนทั้ง ผูเรียนและชุมชน เพราะเนื้อหาและสื่อที่ไดจากอินเตอรเน็ตในปจจุบันเปนรูปแบบ มัลติมีเดีย ผูเรียนสามารถเขาใจใน เนื้อหาเรื่องราวที่ครูนํามาสอดแทรกและจัดการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูเรียนนาจะมีการพัฒนาการทาง สติปญหาไดดีขึ้นอีกในระดับหนึ่ง ครูจึงทดลองคนหาจุดรับสัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากโครงขายผูใหบริการ และสามารถเชื่อมโยงสัญญาณ ในระบบ 3G ไดสามารถดาวนโหลดสื่อเนื้อหา แบบฝกทักษะ มาประกอบการเรียนการ สอนไดอยางรวดเร็ว นักเรียนจึงมีเวลาไดเรียนรูตามแผนการสอนที่ครูวางไวในทุกชั้นเรียน ผูเรียนยังเกิดความสนใจกับ สื่อเนื้อหาเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค ๑. เพื่อนําสื่อจากระบบอินเตอรเน็ตชวยใหจัดการเรียนการสอนเปนไปตามเปาหมายของหลักสูตร ๒. เพื่อใหครูและนักเรียนมีแหลงศึกษาเรียนรูไดคนควาเพิ่มเติม เปาหมาย เชิงปริมาณ ๑. นักเรียนทั้งหมดของศศช.บานแมปอกบน ๔ ระดับชั้นเรียนจบตามเปาหมายของหลักสูตร ๒. ปรับปรุงหองเรียนศศช.บานแมปอกบน ใหเปนมีหองเรียนผานสื่อระบบไอซีทีจํานวน ๑ หองเรียน เชิงคุณภาพ ครูสามารถสรางกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากสื่ออินเตอรเน็ตไดอยางหลากหลาย เกิดการกระตุนให ผูเรียนเกิดความสนใจ ในเนื้อหาวิชาที่สอน ประหยัดงบประมาณจากการจัดซื้อสื่อ ตําราเรียน แบบฝกทักษะ ในรายวิชาตางๆ กระบวนการดําเนินงาน อินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรูในศศช.บานแมปอกบนเพื่อ พัฒนาสื่อวิธีการเรียนในชั้นเรียนใหมีคุณภาพที่เนนผูเรียนเปน ศูนยกลางมีขั้นตอนดังนี้
  • 19. 19แฟมสะสมงาน ๑. ครูศึกษาการใหบริการระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากผูใหบริการ ที่สามารถสงสัญญาณรับไดที่ศศช. ๒. คนหาจุดรับติดตั้งระบบรับสัญญาณ และการเชื่อมตอสัญญาณ การปลอยสัญญาณ wireless จากจุดรับ สัญญาณมายังคอมพิวเตอรในชั้นเรียน ๓. จัดระบบการนําเสนอภายในชั้นเรียนเปนหองเรียนผานระบบออนไลนจากเว็บไซต http://edltv.dlf.ac.th/primary/แกนักเรียนระดับชั้น ป.๕-ป.๖ ๔. ประสานงานเครือขายขอรับบริจาคคอมพิวเตอร เพื่อใหนักเรียนชั้น ป.๕-ป.๖ เรียนดวยตนเอง ๕. จัดตกแตงหองสื่อการเรียนการสอนใหเกิดความสะดวกตอการนําระบบอินเตอรเน็ตมาชวยสอน และการ ตอจอมอนิเตอรเขากับโนตบุคเพื่อนําเสนอการสอน ใหผูเรียนเห็นภาพอยางชัดเจน ๖. จัดตารางเรียนใหผูเรียนทุกระดับเขาศึกษาเรียนรูจากระบบอินเตอรเน็ต ๗. นําขาวสารรายการวิทยุออนไลนตอเขาระบบกระจายเสียงของหอกระจายขาวประจําหมูบาน ๘. จัดตารางเรียนผานระบบอินเตอรเน็ตประจําสัปดาห ๙. นักเรียนเลือกรายการและประกอบอาหารกลางวันจากจากเว็บไซต http://www.foodtravel.tv/ และนําไปปฏิบัติ ๑๐.ครูทําแบบสังเกตพฤติกรรมของผูเรียน และแบบประเมินผลความพึงพอใจของผูเรียน ๑๑.สรุปผลการจัดการเรียนการสอนจากสื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู
  • 20. 20แฟมสะสมงาน แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนผาน สื่ออินเตอรเน็ตเพื่อการเรียนรู คําชี้แจง ใหทําเครื่องหมาย / ลงในชองรายการสังเกตพฤติกรรมที่นักเรียนปฏิบัติ เลขที่ ชื่อ - สกุล รายการ สรุปผล การประเมินการมาเรียน การนําความรู จากสื่อปปฏิบัติ ตามขั้นตอน เขารวมกิจกรรม ด ว ย ค ว า ม สนุกสนาน เพลิดเพลิน ผาน ไ ม ผาน ผาน ไมผาน ผาน ไมผาน ผาน ไมผาน ด.ช. ดวงจันทร ติ๊บดอก √ √ √ √ ด.ญ มีนา จั๋นจั๋น √ √ √ √ ด.ญ เกษร เงินยง √ √ √ √ ด.ช. จันทร ดอกแยะ √ √ √ √ ด.ญ อําพร แกวอาย √ √ √ √ ด.ช. พงษเพรช เงินยง √ √ √ √ เกณฑการประเมิน ผานตั้งแต 2 รายการ ถือวา ผาน ผาน 1 รายการ ถือวา ไมผาน ลงชื่อ ผูประเมิน ( ) / / / จากการติดตามสังเกตพฤติกรรม จากการนําระบบอินเตอรเน็ตมาใชในการจัดการเรียนการสอนของนักเรียน ป.๕-๖ ศศช.บานแมปอกบน ในภาคเรียนที่๒ ปการศึกษา ๒/๒๕๕๗ ปรากฏวาผูเรียนเกิดความเพลิดเพลิน มีความ สนใจตั้งใจเรียน และยังสามารถนําความรูไปปฏิบัติไดดวยตนเองเกี่ยวกับ การดูสื่อและเลือกรายการประกอบอาหาร กลางวันของนักเรียนเองดังปรากฏตามตารางแบบบันทึกแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรายบุคคล
  • 21. 21แฟมสะสมงาน ผลการดําเนินงาน ๑. ครูสามารถจัดเวลาการสอนนักเรียนในแตละชั้นเรียนไดเพิ่มขึ้น ๒. นักเรียนไดรับความรูจากเนื้อหารายวิชาทันตามหลักสูตร ๓. นักเรียนเกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน สนใจเรียนดีขึ้น ๔. ครูสามารถนําเนื้อหารายวิชา สื่อมัลติมีเดีย แบบฝกทักษะตางๆ มาประกอบการเรียนไดอยางรวดเร็ว ๕. นักเรียนสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง ๖. ภายใน ศศช.มีหองสื่อการเรียนรูผานระบบไอซีที จํานวน ๑ หอง ๗. ไดรับการติดตอบริจาคเครื่องคอมพิวเตอร จํานวน ๒ เครื่องจากบริษัทอะแวร คอเปอรเรชั่น จํากัด การเผยแพร ๑. ครูนําภาพกิจกรรมและวิดีโอเผยแพรผาน social network และเว็บไซด เชน facebook , youtube. เว็บไซต ครูกศน. ค รู บ น พื้ น ที่ สูง http://papayadoi.blogspot.com/ ๒. ทําเอกสารสรุปรายงานเสนอตนสังกัด ปญหาและอุปสรรค ๑. นักเรียนมีพื้นฐานทางความเขาใจดานคอมพิวเตอรและอินเตอรเน็ตยังไมดีพอตองเรียนรูเพิ่มเติม ๒. ขาดงบประมาณในการสนับสนุนอยางเพียงพอ ๓. ชวงฤดูฝนกระแสไฟฟามีไมเพียงพอตอการใชงานคอมพิวเตอรเปนเวลานาน ขอเสนอแนะ ใหทางตนสังกัดอนุมัติงบประมาณคาใชจายจัดทําโครงการอินเตอรเน็ตในศศช.เพราะเกี่ยวของกับการ ประเมินคุณภาพสถานศึกษา ดานผูเรียนการเขาถึงโลกอินเตอรเน็ต เอกสารอางอิง มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม. “Edltv:eDLTV e-Learning ของการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม” แหลงที่มาhttp://edltv.dlf.ac.th/primary/. (๑ตุลาคม๒๕๕๗) ท รู ป ลู ก ป ญ ญ า . “ โ ค ร ง ก า ร อิ น เ ต อ ร เ น็ ต เ พื ่อ สั ง ค ม แ ห ง ก า ร เ รี ย น รู ” แหลงที่มา http://www.bmasmartschool.com/index.php/ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๗).
  • 22. 22แฟมสะสมงาน โครงการถายทอดองคความรูโครงการหลวงและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง ประจําปงบประมาณ พ.ศ 2557 ศศช. บานแมปอกบน ตําบลมืดกา อําเภอดอยเตา จังหวัดเชียงใหม ความเปนมา จากการที่ครูไดเขาไปอยูในพื้นที่ ไดศึกษาสภาพการดําเนินชีวิตชาวบานในพื้นที่ยังขาดความรูในเรื่อง การประกอบอาชีพการเกษตรอยางมาก เนื่องจากเปนพื้นที่อยางไกลจากหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่อง การเกษตร ทําใหชาวบานไมมีโอกาสในการนําทรัพยากรในชุมชนมาใชใหเกิดประโยชนและเสริมสรางอาชีพ และรายได พรอมกับการเรียนรูสรางองคความรูใหม เมื่อสถาบันวิจัยและพัฒนาศักยภาพบนพื้นที่สูงเขามาทํา โครงการถายทอดองคความรูและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง โดยใหครูในศศช.เขาไปมีบทบาทหนาที่ใน การจัดกระบวนการเรียนรูและสงเสริมสรางองคความรูในเรื่องตางๆที่เหมาะสมกับสภาพและวิถีชีวิตของคนใน ชุมชนตอไปในอนาคต
  • 23. 23แฟมสะสมงาน บานแมปอกบน เปนหมูบานชาวเขาเผากระเหรี่ยง ตั้งอยูหมูที่ ๕ ต. มืดกา อ.ดอยเตา จังหวัด เชียงใหม มีจํานวนประชากรทั้งสิ้น ๒๐๕ คน ๕๗ หลังคาเรือน ประชากรในชุมชนสวนใหญปลูกขาวเพื่อ การบริโภคในครัวเรือนโดยทําในรูปแบบของการทํานาดําและขาวไร และปลูกพืชผักตามฤดูกาลไวบริโถคใน ครัวเรือน เชน ฟกทอง แตงดอย การหาของปาขาย และการเลี้ยงสัตว ที่สืบทอดกันมาในอดีต พื้นที่ในชุมชน มีความเหมาะสมในเรื่องการปลูกกาแฟ เนื่องจากมีความสูงจากระดับน้ําทะเลประมาณ ๗๐๐- ๙๐๐เมตร สภาพอากาศเย็นตลอดทั้งป แตชาวบานยังขาดความรูเรื่องวิธีการปลูกและการดูแลรักษาที่ถูกตอง ดังนั้นครู จึงเห็นสมควรในการจัดทําโครงการนี้เพื่อใหสมาชิกเกิดทักษะประสบการณจากการถายทอดองคความรูเรื่อง การปลูกกาแฟนําไปฝกปฏิบัติอยางถูกวิธีตอไป วัตถุประสงค ๑.เพื่อใหชุมชนมีความรู ความเขาใจมีทักษะและประสบการณในการปลูกกาแฟพันธุอราบิกาได ๒.เพื่อสงเสริมอาชีพและสรางรายไดเสริมแกชาวบานในชุมชน วิธีการดําเนินงาน การสงเสริมการปลูกกาแฟพันธุอราบิกา ๑.ประชุมชี้แจงแจงความเปนมาของโครงการ ปญหา และความตองการของชุมชน(จัดทําเวทีชาวบาน) ๒.จัดสรางสื่อตางๆใหความรู ในการสงเสริม ๓. การดําเนินการ(วางแผนและคิดรวมกัน) -ลงทะเบียนสํารวจและรับสมัครชาวบานที่สนใจและ มีคุณสมบัติเขารวมโครงการ - ประชุมจัดทําแผนโครงการรูปแบบการ สงเสริมใหความรูประสบการณและขั้นตอนการลงมือ ปฏิบัติ
  • 24. 24แฟมสะสมงาน -การเตรียมสถานที่หาพื้นที่ ๔. จัดทําแปลงเพาะกลาและแปลงสาธิต -การตั้งกฎ กติกา/การบริหารจัดการกลุม ๕. การอบรมใหความรูดานการดูแลรักษา -เริ่มการเตรียมพื้นที่ปลูก -วิธีการปลูกและการดูแลรักษา ๖.สรุปการดําเนินงานศึกษาสภาพปญหาและแนว ทางแกไขปญหา(กระบวนการกลุม) ระยะเวลาดําเนินการ ต.ค. ๕๖ - ก.ย. ๕๗
  • 25. 25แฟมสะสมงาน ผลผลิต (output ) ๑.จํานวนตนกาแฟ ๑๕๐๐ ตนพื้นที่๒ ไร ๒.แปลงตัวอยางของเกษตรกร ๑รายจากสมาชิก ๒๐ราย ผลลัพธ (outcome) ๑.ชุมชนมีองคความรูดานการปลูกกาแฟพันธุอราบิกา ๒.เพิ่มพื้นที่ปาใหกับชุมชน ๓.ชุมชนมีแปลงตัวอยางในการเรียนรูฝกประสบการณเรื่อง การรปลูกกาแฟที่ถูกตอง งบประมาณ -คาวัสดุโครงการจํานวน ๘,๐๐๐. บาท ที่ รายการ จํานวน หนวย หมายเหตุ 1 ตนกลากาแฟพันธุอราบิกาอายุ ๑ ป 200 ตน 2 ทอพีอี ½ นิ้ว ยาว 100 เมตร 2 มวน 3 มินิสปริงเกอร ½ เกลียวใน 50 หัว 4 กาวยาทอพีอี 2 กระปอง 5 ขอตอตรงเกลียวใน ½ นิ้ว 12 ตน 6 ขอตอตรงเกลียวนอก ½ นิ้ว 2 กิโลกรัม 7 ขอตอของอ ½ นิ้ว 2 ปาย 8 กากน้ําตาล 10 ลิตร 9 ตาขายพรางแสง 75 เปอรเซ็นต 50 เมตร
  • 26. 26แฟมสะสมงาน คาอุปกรณสื่อถายทอดโครงการ จํานวน ๑๕,๐๐๐ บาท ๑. เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร จํานวน ๑ ชุด ๒. จานดาวเทียม จํานวน ๑ ชุด ๓. กลองถายรูปดิจิตอล จํานวน ๑ เครื่อง สรุปสภาพปญหาและแนวทางแกไขปญหา ๑. เขาสูฤดูเก็บเกี่ยวขาวชาวบานไมมีเวลาในการดูแลรักษา ๒. เกษตรกรบางรายไมสามารถหาพื้นที่เพาะปลูกไกลชุมชนได ๓. สมาชิกบางรายขาดความสนใจ...ไมตั้งใจทําตามคําแนะนํา ๔. ตนกลาแตกใบแทเลยกําหนดการลงถุงทําใหรากกระทบกระเทือนบาง