SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
ekkachais@hotmail.com www.elifesara.com
อ้างอิง จาก FES และ DCAF
http://www.siamintelligence.com/security-sector-
governance-3/
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว
• ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล
หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ
ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา
• เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้
บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์
เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี
โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus)
อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military
Professionalism) ของกองทัพ
• มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น
ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ในอนาคตอันใกล้นี้
ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง
• เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้
เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
• ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ
มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่
กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม
• ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ
ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา
• ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ
ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ
• การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง
เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ
Security Sector กับคาว่า Governance
• คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา
แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ
มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ
มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน
• แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva
Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง
ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF)
• 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย
• 2) ผู้บริหาร
• 3) สภานิติบัญญัติ
• 4) ฝุายตุลาการ
• 5) องค์กรภาคประชาสังคม
• 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
• 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ
• 8) ตัวแสดงภายนอก
สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Development Program: UNDP)
ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม
1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง
2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล
3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม
4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ
5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
• ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ
ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ
เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ
• สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี
เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น
สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น
สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9)
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
Security Sector Governance
• ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ
กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ
รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่
ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ”
• ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่
สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ
สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง
ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ด้านต่างๆ ร่วมกัน
แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR)
และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง”
• สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือ
รัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น กาลังก่อร่างสร้างรัฐ
ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความ
เข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน
ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษา
ผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทาให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรร
มาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง
เพื่อเข้ามาช่วยจัดการหรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ
แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรร
มาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่าน
พ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3) ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่ง
นั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการ
นาแนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง
จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า
• นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์
ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล (Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner
Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา และหัวหน้า
การวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance
ว่า ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security
Sector Governance นั้นจะเป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security
Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
ตัวแสดงในประเทศไทย
• ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors)
• กลุ่มการเมือง (Political Groups)
• กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Groups)
• กลุ่มผู้นาทหาร (Military Leader Groups)
• กลุ่มข้าราชการ (Bureaucracy Groups)
• กลุ่มภาคประชาสังคม (Civil Society Group)
• กลุ่มสื่อสารมวลชน (Mass Media Groups)
• กลุ่มข้าราชการเป็นกลุ่มที่มีบทบาทตามกลุ่มการเมือง ภาคประชาสังคมยังไม่
ความเข้มแข็ง กลุ่มสื่อสารมวลชนมีบทบาทตามกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ
• อานาจตกอยู่ที่ กลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และ กลุ่มผู้นาทหาร
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย
• ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มี ความเกี่ยวพันของโครงสร้างเชิงอานาจ
• มีความสลับซับซ้อนมีลักษณะเฉพาะ
• การใช้แนวคิดจากต่างประเทศมาใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็น
ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดใหม่อย่างการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้าน
ความมั่นคง นั้น สามารถกล่าวได้ว่าเป็นแนวคิดใหม่ที่มีทิศทางที่ไม่สอดคล้อง
กับรูปแบบของการ ดาเนินการกิจการความมั่นคงของไทยที่ผ่านมา
• แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นกระแสโลกที่
ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้
• แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่เหมาะสม
กับ บริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย
• กลุ่มอานาจจะมีความสมดุลย์ในเชิงอานาจ ภาคประชาสังคมและ
สื่อสารมวลชน ต้องมีความเข้มแข็ง ที่จะสามารถทาหน้าที่ตรวจสอบกลุ่ม
อานาจที่มีบทบาทในสังคมได้
• ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและสื่อสารมวลชน จะมีความสัมพันธ์ที่
สมดุลย์กับกลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มผู้นาทหาร
• กลุ่มหนึ่งกลุ่มใดมีความห่างกลุ่มอื่นๆ หรือมีความอ่อนแอ จะทาให้เกิดภาวะไม่
สมดุลย์ทางอานาจ
• กลุ่มการเมืองที่มีความสนิทสนมกับกลุ่มผลประโยชน์มากเกินไป จะทาให้เอื้อ
ประโยชน์กับกลุ่มของตน หรือแต่ละกลุ่มมีความใกล้ชิดกันมากเกินไป จะทาให้
เกิดปฏิกริยาต่อต้านจากภาคส่วนอื่น
สื่อสารมวลชน
• สื่อสารมวลชนต้องมีส่วนร่วมกับภาคประชาสังคมในการตรวจสอบ ด้วยความ
เป็นมืออาชีพในวิชาชีพ
• สื่อสารมวลชนจะช่วยทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงให้กับภาคประชาสังคมในการ
ตรวจสอบ
• ที่สาคัญสื่อสารมวลชนต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม
• กลุ่มผลประโยชน์ มักจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกลุ่มสื่อสารมวลชน ทาให้
อานาจในการตรวจสอบจะมีน้าหนักน้อยลง
• แนวคิดเรื่องของธรรมาภิบาลความมั่นคงยัง จึงต้องใช้เวลาและกระบวนการขัด
เกลาทางสังคม (Socialization) จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การมี
ธรรมาภิบาลในงานความมั่นคงในอนาคต
การเปิดให้มีความอิสระของสื่อ
มาก →
น้อย
2014 (130) 37.94
2013 (135) 38.60
2012 (137) 61.50
2010 (153) 56.83
2009 (130) 44.00
2008 (124) 34.50
2007 (135) 53.50
2006 (122) 33.50
2005 (107) 28.00
2004 (059) 14.00
2003 (082) 19.67
2002 (065) 22.75
Challenges of Security Governance
• ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย
• พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง
• รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
• ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุม
ดูแลของตุลการฝุายพลเรือน
• ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์
ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ
Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia
• เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam School of
International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์ องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาดังนี้
1) การป้องกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขังและงานยุติธรรม
2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน
4) บทบาทของภาคประชาสังคม
5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน (ความเท่าเทียมทางเพศ)
6) การปลดอาวุธ การระดมพล
7) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ
• ธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงเป็นแนวคิดที่มีขอบเขตการศึกษาที่กว้าง ขวาง คลอบคลุมหลายมิติ หากจะทาความเข้าใจ
ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ต้องทาความเข้าใจกับ เรื่อง ความสัมพันธ์พลเรือนกับทหารภายใต้ระบอบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย
• พลเรือนจะมีบทบาท ในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การบริหาร และจัดการ หน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ
เพื่อให้เกิดธรรมภิบาล
• ธรรมภิบาลงานความมั่นคงลักษณใดหรือแนวทางใด เป็นเรื่องที่ต้องศึกษาหาแนวทางความเหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ
เพราะคงไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงที่มีลักษณะสาเร็จรูปและ ใช้ได้ในทุกสังคม
ธรรมาภิบาลความมั่นคงภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
• การปฏิบัติที่ดีสู่ความเป็นเลิศ (Best Practice) ควรประกอบด้วย
1) ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย
2) พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง
3) รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
4) ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ
ตุลการฝุายพลเรือน
5) ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์
ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ
Challenges of Security Governance
องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง
1) การปูองกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขังและงานยุติธรรม
2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน
4) บทบาทของภาคประชาสังคม
5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน
5) การปลดอาวุธ การระดมพล
6) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ [13]
• จะต้องทาความเข้าใจเรื่อง ความสัมพันธ์พลเรือนกับทหารภายใต้ระบอบ ปชต.
• พลเรือนจะมีบทบาท ในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การบริหาร และจัดการ
หน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ เพื่อให้เกิดธรรมภิบาล
• จะเกิดธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงในลักษณใดเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาหาแนวทางความ
เหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ เพราะคงไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลความมั่นคงที่มีลักษณะ
สาเร็จรูปและใช้ได้ในทุกสังคม
เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam
School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
วิวัฒนาการของกิจการด้านความมั่นคงในประเทศไทย
• ความมั่นคงของไทยมีการดาเนินการในลักษณะต่างๆ ได้ 3 ยุค
• ยุคเน้นพื้นฐานของภารกิจ (Mission-based) : เป็น ยุคที่หน่วยงานความมั่นคงช่วง
สงครามเย็น
• ยุคเน้นกระบวนการ (Process-based) : เป็นยุคหลังสงครามเย็นยุติ สหภาพโซ
เวียตล่มสลาย กระแสโลกาภิวัตน์แพร่กระจายไปรอบโลกอย่างรวดเร็ว จากเดิม
ที่ว่า “รู้เท่าที่จาเป็น” (Need to Know Basis) ไปสู่การ “รู้แล้วต้องแลกเปลี่ยน”
(Need to Share Basis)
• ยุคการทางานบนพื้นของธรรมาภิบาล (Governance-based) : เป็นยุคที่
คาดว่าจะเกิดขึ้นในทศวรรษนี้ เพราะกระแสธรรมาภิบาลจากประเทศตะวันตกได้
แพร่กระจายมายังประเทศไทย ทั้งในภาครัฐ ที่เรียกว่า การบริหารกิจการบ้านเมืองที่
ดี (Good Governance) และภาคเอกชน ที่เรียกว่า การกากับดูแลกิจการที่
ดี (Good Corporate Governance) ด้วยเหตุนี้ธรรมาภิบาลใน
ความท้าทายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• การยึดโยงกับอดีตและวัฒนธรรมองค์กรเป็นสิ่งที่ท้าทาย และยังอาจเป็น
อุปสรรคในการเดินไปสู่มิติของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง ในช่วง
สงครามเย็นและก่อนหน้านั้น ตั้งแต่ยุคของรัฐชาติ
• ยุคสงครามเย็น จะเผชิญกับภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เป็นภัยคุกคามทาง
ทหาร การรุกรานรัฐ และการปูองกันรัฐ เมื่อสงครามเย็นยุติรูปแบบภัย
คุกคามได้เปลี่ยนแปลงไป เป็นภัยคุกคามที่มีความผสมผสานกันระหว่าง
ภัยคุกคามทางทหาร และไม่ใช่ทางทหาร หรือเรียกว่าภัยคุกคามรูปแบบ
ใหม่ มีความคิดในเรื่องของความมั่นคงมนุษย์ (Human Security)
กลไกที่นามาใช้ คือการใช้ภาคประชาสังคม (Civil Society)
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่
• การแก้ปัญหายังไม่มีประสิทธิมากนัก เพราะยังคงใช้ชุดความคิดเดิม และ
กลไกเดิมในการแก้ปัญหาใหม่ ทาให้ไม่มีความสอดคล้องกับปัญหาที่กาลัง
เผชิญ
• ต้องกาหนดชุดความคิดที่เหมาะสมเพื่อนาไปสู่การรองรับกับปัญหาที่มี
ความสลับซับซ้อน
• ชุดความคิด “ความมั่นคงสมบูรณ์แบบ (Comprehensive
Security)” มุ่งเน้นการพัฒนากาลังอานาจของชาติทุกด้านให้ได้
สมดุลย์ คือ ให้ความสาคัญกับกาลังอานาจของชาติในทุก ๆ มิติไปพร้อม ๆ
กัน และเท่าเทียมกัน
แนวทางการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย
• ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มีการพัฒนาการมายาวนาน
โครงสร้างเชิงอานาจจึงมีความสลับซับซ้อน การใช้แนวคิดต่างประเทศมา
ใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็นไทย
• อย่างไรก็ตามถึงแม้จะเป็นแนวคิดใหม่ที่อาจจะส่งผลกระทบกิจการความ
มั่นคงก็ตาม แต่แนว คิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความ
มั่นคงเป็นกระแสโลกที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ ดังนั้น
แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่
เหมาะสมกับ บริบทของประเทศไทยจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับ
บทความนี้ได้นาเสนอแนวทางการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความ
มั่นคงของไทย ตามรายละเอียดต่อไปนี้
• 4.1 ยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง:
• การส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็งนั้นเป็นสิ่งที่ต้องเร่ง
ดาเนินการ ทั้งนี้เพราะภาคประชาสังคมนั้นเปรียบเสมือนกับผู้ที่คอยทา
หน้าที่ตรวจสอบการ ใช้อานาจของฝุายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุายบริหาร นิติ
บัญญัติ ตุลาการ แม้กระทั่งข้าราชการ หรือ แม้กระทั่งภาคเอกชนต่างๆ
เพราะประชาชนเป็นเจ้าของอานาจที่แท้จริง โดยการที่จะส่งเสริมให้ภาค
ประชาสังคมมีความเข้มแข็งได้ ประเทศไทยจะต้องการมีการส่งเสริมใน
ประเด็นต่างๆ ดังนี้
• 4.1.1 มีการออกนโยบายสาธารณะที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและภาค
ประชาสังคมได้มีบทบาท หน้าที่ และรวมไปถึงการมีอานาจในการ
• 4.2 รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์
• ความสาคัญของสื่อนั้นมีความสาคัญยิ่งในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน
นอกจากนี้ความต้องการในการบริโภคข้อมูลข่าวสารของปัจเจกบุคคลมี
แนวโน้มที่ สูงมากขึ้นเป็นลาดับ ดังนั้นการทาหน้าที่ของสื่อจึงมี
ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการตรวจสอบการ ดาเนินการต่างๆ ของภาค
ส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อนาไปสู่ความโปร่งใสตรวจสอบได้ อันเป็น
ปัจจัยพื้นฐานของธรรมาภิบาล การรณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์
ควรมีการดาเนินการดังนี้
• 4.2.1 สร้างความเข้มแข็งของประชาคมเครื่อข่ายสื่อมวลชน ด้วยการเน้น
การมีส่วนร่วมระหว่างสื่อมวลชนที่เป็นสมาชิกในการร่วมกันนาเสนอ
• 4.3 ส่งเสริมให้กองทัพมีความเป็นทหารอาชีพ
• ความเป็นทหารอาชีพของกองทัพนั้นจะช่วยให้การดาเนินการด้านต่างๆ
ในกิจการความมั่นคงของประเทศเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในประเด็นทางการด้านการเมือง ที่กองทัพจะต้องรักษาระยะให้มี
ความเหมาะสม คือไม่ห่างเหินหรือใกล้ชิดจนเกินไป เพราะความเหมาะสม
ของระยะของกองทัพกับกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ จะช่วยให้กองทัพมีความ
เป็นทหารอาชีพ โดยการดาเนินการที่มุ่งไปสู่ความเป็นทหารอาชีพมี
ประเด็นสาคัญได้แก่
• 4.3.1 ปรับโครงสร้างกองทัพให้มีความทันสมัยและเหมาะสม เพื่อให้มี
กระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ มีความชัดเจนในบทบาทและหน้าที่
• 4.4 เน้นกระบวนการมีส่วนรวมจากทุกภาคส่วน
• ในปัจจุบันการดาเนินการต่างที่จะสามารถผ่านไปได้อย่างดีนั้น เป็นที่
ทราบกันดีว่าจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่มีส่วนได้ส่วน
เสียในเรื่องนั้นๆ เพราะหากไม่ได้มีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว
ย่อมมีแนวโน้มว่าการดาเนินการนั้นยากที่จะประสบความสาเร็จ เพราะ
ปัจจุบันสังคมมีความสลับซับซ้อนที่มากขึ้นและที่สาคัญมีการเปลี่ยน แปลง
อยู่ตลอดเวลาในลักษณะที่เป็นพลวัตร การมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ
จึงเป็นเรื่องที่หน่วยงานด้านความมั่นคงไม่สามารถที่จะหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น
การดาเนินการใดๆ จึงมีความจาเป็นที่ต้องมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ
ลักษณะดังนี้
• 4.5 ปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องให้กับเยาวชน
• เยวชนเป็นกาลังสาคัญที่จะต้องเติบโตเป็นพลเมืองของประเทศในอนาคต
หากได้รับการปลูกฝังในสิ่งที่เหมาะสมและดีแล้วย่อมที่จะเป็นหลักประกัน
สาคัญ ประการหนึ่งในอนาคต ที่จะช่วยให้สังคมส่วนรวมมีการพัฒนาขึ้น
ไปในทางที่ดี ดังนั้นค่านิยมจึงกลายเป็นสิ่งที่สาคัญที่จะประคับประคองให้
สังคมพัฒนาไป อย่างมีทิศทาง
• 4.5.1 รณรงค์ให้เยาวชนตระหนักถึง สิทธิ และหน้าที่พลเมือง เพื่อให้
ตระหนักถึงสิทธิตนเองมีว่ามีขอบเขตเพียงไร และต้องไม่ลืมว่าอานาจเป็น
ของปวงชน ดังนั้นสิ่งที่สาคัญประการแรกคือ สิทธิการเป็นเจ้าของอานาจ
ที่จะต้องหวงแหนและรักษาเอาไว้ นอกจากนี้หน้าที่พลเมืองก็ยังเป็นสิ่งที่มี
• 5. บทสรุป
• ธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงเป็นแนวคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในยุคหลัง
สงครามเย็น มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยในยุคปัจจุบันที่ ให้ความสาคัญกับธรรมาภิบาล ควบคู่กันไป
โดยหลักการสาคัญของธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงนั้น คือ การที่
หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งรวมถึงกองทัพนั้นสามารถที่จะถูกควบคุม
ปกครอง จัดการ และ ตรวจสอบ โดยประชาชน ในฐานะที่ประชาชนเป็น
เจ้าของอานาจที่แท้จริงของประเทศ
• อย่างไรก็ดี ถึงแม้แนวความคิดเรื่องธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคง
จะเป็นเรื่องที่ถูก ขับเคลื่อนมาพร้อมกระแสประชาธิปไตย แต่การปรับปรุง
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว
• ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล
หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ
ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา
• เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้
บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์
เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี
โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus)
อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military
Professionalism) ของกองทัพ
• มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น
ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ในอนาคตอันใกล้นี้
ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง
• เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้
เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
• ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ
มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่
กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม
• ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ
ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา
• ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ
ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ
• การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง
เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ
Security Sector กับคาว่า Governance
• คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา
แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ
มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ
มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน
• แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva
Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง
ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF)
• 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย
• 2) ผู้บริหาร
• 3) สภานิติบัญญัติ
• 4) ฝุายตุลาการ
• 5) องค์กรภาคประชาสังคม
• 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
• 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ
• 8) ตัวแสดงภายนอก
สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Development Program: UNDP)
ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม
1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง
2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล
3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม
4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ
5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
• ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ
ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ
เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ
• สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี
เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น
สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น
สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9)
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
Security Sector Governance
• ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ
กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ
รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่
ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ”
• ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่
สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ
สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง
ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ด้านต่างๆ ร่วมกัน
แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR) และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความ
มั่นคง”
• สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น
กาลังก่อร่างสร้างรัฐ ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความเข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก
หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทา
ให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง เพื่อเข้ามาช่วยจัดการ
หรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ
• ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรรมาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ
การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3)
ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่งนั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการนา
แนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า
• นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล
(Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพ
ประจากรุงเจนีวา และหัวหน้าการวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance ว่า
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security Sector Governance นั้นจะ
เป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
ตัวแสดงในประเทศไทย
• ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors)
• กลุ่มการเมือง (Political Groups)
• กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Groups)
• กลุ่มผู้นาทหาร (Military Leader Groups)
• กลุ่มข้าราชการ (Bureaucracy Groups)
• กลุ่มภาคประชาสังคม (Civil Society Group)
• กลุ่มสื่อสารมวลชน (Mass Media Groups)
• กลุ่มข้าราชการเป็นกลุ่มที่มีบทบาทตามกลุ่มการเมือง ภาคประชาสังคมยังไม่
ความเข้มแข็ง กลุ่มสื่อสารมวลชนมีบทบาทตามกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ
• อานาจตกอยู่ที่ กลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และ กลุ่มผู้นาทหาร
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย
• ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มี ความเกี่ยวพันของโครงสร้างเชิงอานาจ
• มีความสลับซับซ้อนมีลักษณะเฉพาะ
• การใช้แนวคิดจากต่างประเทศมาใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็น
ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดใหม่อย่างการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้าน
ความมั่นคง นั้น สามารถกล่าวได้ว่าเป็นแนวคิดใหม่ที่มีทิศทางที่ไม่สอดคล้อง
กับรูปแบบของการ ดาเนินการกิจการความมั่นคงของไทยที่ผ่านมา
• แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นกระแสโลกที่
ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้
• แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่เหมาะสม
กับ บริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
• กลุ่มอานาจจะมีความสมดุลย์ในเชิงอานาจ ภาคประชาสังคมและ
สื่อสารมวลชน ต้องมีความเข้มแข็ง ที่จะสามารถทาหน้าที่ตรวจสอบกลุ่ม
อานาจที่มีบทบาทในสังคมได้
• ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและสื่อสารมวลชน จะมีความสัมพันธ์ที่
สมดุลย์กับกลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มผู้นาทหาร
• กลุ่มหนึ่งกลุ่มใดมีความห่างกลุ่มอื่นๆ หรือมีความอ่อนแอ จะทาให้เกิดภาวะไม่
สมดุลย์ทางอานาจ
• กลุ่มการเมืองที่มีความสนิทสนมกับกลุ่มผลประโยชน์มากเกินไป จะทาให้เอื้อ
ประโยชน์กับกลุ่มของตน หรือแต่ละกลุ่มมีความใกล้ชิดกันมากเกินไป จะทาให้
เกิดปฏิกริยาต่อต้านจากภาคส่วนอื่น
สื่อสารมวลชน
• สื่อสารมวลชนต้องมีส่วนร่วมกับภาคประชาสังคมในการตรวจสอบ ด้วยความ
เป็นมืออาชีพในวิชาชีพ
• สื่อสารมวลชนจะช่วยทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงให้กับภาคประชาสังคมในการ
ตรวจสอบ
• ที่สาคัญสื่อสารมวลชนต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม
• กลุ่มผลประโยชน์ มักจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกลุ่มสื่อสารมวลชน ทาให้
อานาจในการตรวจสอบจะมีน้าหนักน้อยลง
• แนวคิดเรื่องของธรรมาภิบาลความมั่นคงยัง จึงต้องใช้เวลาและกระบวนการขัด
เกลาทางสังคม (Socialization) จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การมี
ธรรมาภิบาลในงานความมั่นคงในอนาคต
การเปิดให้มีความอิสระของสื่อ
มาก →
น้อย
2014 (130) 37.94
2013 (135) 38.60
2012 (137) 61.50
2010 (153) 56.83
2009 (130) 44.00
2008 (124) 34.50
2007 (135) 53.50
2006 (122) 33.50
2005 (107) 28.00
2004 (059) 14.00
2003 (082) 19.67
2002 (065) 22.75
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว
• ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล
หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ
ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา
• เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้
บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์
เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี
โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus)
อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
Security Sector Governance (SSG)
• ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military
Professionalism) ของกองทัพ
• มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น
ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก
ในอนาคตอันใกล้นี้
ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง
• เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้
เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา
• ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ
มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่
กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม
• ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ
ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา
• ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ
ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ
• การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง
เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ
Security Sector กับคาว่า Governance
• คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา
แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ
มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ
มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน
• แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva
Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง
ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF)
• 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย
• 2) ผู้บริหาร
• 3) สภานิติบัญญัติ
• 4) ฝุายตุลาการ
• 5) องค์กรภาคประชาสังคม
• 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
• 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ
• 8) ตัวแสดงภายนอก
สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ
(United Nations Development Program: UNDP)
ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม
1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง
2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล
3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม
4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ
5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ
• ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ
ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ
เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ
• สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี
เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น
สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น
สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9)
เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
Security Sector Governance
• ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ
กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ
รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่
ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ”
• ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่
สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ
สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง
ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน
ด้านต่างๆ ร่วมกัน
แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR) และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความ
มั่นคง”
• สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น
กาลังก่อร่างสร้างรัฐ ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความเข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก
หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทา
ให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง เพื่อเข้ามาช่วยจัดการ
หรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ
• ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรรมาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ
การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3)
ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่งนั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการนา
แนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า
• นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล
(Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพ
ประจากรุงเจนีวา และหัวหน้าการวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance ว่า
ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security Sector Governance นั้นจะ
เป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
ธรรมาภิบาลความมั่นคงภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
• การปฏิบัติที่ดีสู่ความเป็นเลิศ (Best Practice) ควรประกอบด้วย
1) ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย
2) พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง
3) รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น
4) ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ
ตุลการฝุายพลเรือน
5) ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์
ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ
(Challenges of Security Governance)
องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง
1) การป้องกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขัง
และงานยุติธรรม
2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง
3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน
4) บทบาทของภาคประชาสังคม
5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน
5) การปลดอาวุธ การระดมพล
6) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ
เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam
School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง
• จะต้องทาความเข้าใจเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือนกับทหาร
ภายใต้ระบอบ ปชต.
• พลเรือนจะมีบทบาทในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การ
บริหาร และการบริหารหน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ เพื่อให้เกิด
ธรรมาภิบาล
• ธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงจะเป็นลักษณใดนั้นเป็นเรื่องที่ต้อง
ศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ
• ไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลความมั่นคงที่มีลักษณะสาเร็จรูปและใช้ได้ใน
ทุกสังคม
เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam
School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
วิวัฒนาการของงานด้านความมั่นคงในประเทศไทย
• แบ่งเป็น 3 ยุค ที่ยุคแรกเน้นพื้นฐานของภารกิจ (Mission-based) : เป็น ยุคที่
หน่วยงานความมั่นคงช่วงสงครามเย็น
• ยุคที่สองเน้นกระบวนการ (Process-based) : เป็นยุคหลังสงครามเย็นยุติ สหภาพ
โซเวียตล่มสลาย กระแสโลกาภิวัตน์แพร่กระจายไปรอบโลกอย่างรวดเร็ว จากเดิม
ที่ว่า “รู้เท่าที่จาเป็น” (Need to Know Basis) ไปสู่การ “รู้แล้วต้องแลกเปลี่ยน”
(Need to Share Basis)
• ยุคที่สามการทางานบนพื้นของธรรมาภิบาล (Governance-based) : ปัจจุบัน มี
กระแสธรรมาภิบาลจากตะวันตกแพร่มายังประเทศไทย ในภาครัฐเรียกว่า การ
บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) และภาคเอกชนเรียกว่า การกากับ
ดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ในหน่วยงานความมั่นคง จึง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องนามาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม เพื่อรองรับการตรวจสอบ ติดตาม
ควบคุมและการบริหารของฝุายบริหารที่ถูกตรวจสอบจากภาคประชาชน
ความท้าทายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• สิ่งที่ท้าทาย คือการยึดโยงกับอดีตและวัฒนธรรมองค์กรยังเป็นอุปสรรคใน
การเดินไปสู่มิติของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง
• ยุคสงครามเย็น จะเผชิญกับภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เป็นภัยคุกคามทาง
ทหาร การรุกรานรัฐ และการปูองกันรัฐ
• เมื่อสงครามเย็นยุติรูปแบบภัยคุกคามได้เปลี่ยนแปลงไป เป็นภัยคุกคามที่มี
ความผสมผสานกันระหว่างภัยคุกคามทางทหาร และไม่ใช่ทางทหาร หรือ
เรียกว่าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มีความคิดในเรื่องของความมั่นคงมนุษย์
(Human Security) กลไกที่นามาใช้ คือการใช้ภาคประชาสังคม (Civil
Society)
ภัยคุกคามรูปแบบใหม่
• การจัดการกับปัญหายังไม่มีประสิทธิมากนัก เพราะยังคงใช้ชุดความคิด
เดิมๆ และกลไกเดิมๆในการแก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น ทาให้ไม่มีความ
สอดคล้องกับปัญหาที่กาลังเผชิญ
• ต้องกาหนดชุดความคิดที่เหมาะสมเพื่อนาไปสู่การรองรับกับปัญหาที่มี
ความสลับซับซ้อน
• ชุดความคิด “ความมั่นคงสมบูรณ์แบบ (Comprehensive Security)”
มุ่งเน้นการพัฒนากาลังอานาจของชาติทุกด้านให้ได้สมดุลย์ คือ ให้
ความสาคัญกับกาลังอานาจของชาติในทุก ๆ มิติไปพร้อม ๆ กัน และเท่า
เทียมกัน
แนวทางจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย
• ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มีการพัฒนาการมายาวนาน
โครงสร้างเชิงอานาจจึงมีความสลับซับซ้อน การใช้แนวคิดต่างประเทศมา
ใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็นไทย
• ถึงแม้จะเป็นแนวคิดใหม่ที่อาจจะส่งผลกระทบกับกิจการความมั่นคงก็
ตามแต่แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็น
กระแสโลกที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้
• ดังนั้นแนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่
เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไรจึงมีความจาเป็น
อย่างยิ่ง
การยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง
• ต้องเร่งดาเนินการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง เพราะภาค
ประชาสังคมนั้นเปรียบเสมือนกับผู้ที่คอยทาหน้าที่ตรวจสอบการ ใช้
อานาจของฝุายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุายบริหาร นิติบัญญัติ ตุลาการ
แม้กระทั่งข้าราชการ หรือภาคเอกชนต่างๆ
• ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจที่แท้จริง โดยการที่จะส่งเสริมให้ภาคประชา
สังคมมีความเข้มแข็งได้ ประเทศไทยจะต้องการมีการส่งเสริมในประเด็น
ต่างๆ เช่น
– การออกนโยบายสาธารณะที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและภาคประชาสังคมได้มี
บทบาทหน้าที่ และรวมไปถึงการมีอานาจในการตรวจสอบการทาหน้าที่ของภาค
ส่วนต่างๆ ในระดับที่มีความเป็นรูปธรรมและเหมาะสม
การยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง
• จัดให้ประชาชนทุกคนได้มีโอกาสทางการศึกษาในระดับสูงสุดเท่าที่เป็นไป
ได้ และให้ครอบคลุมมากที่สุด เพื่อยกระดับคุณภาพทางการศึกษาของ
ประชาชนในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มภูมิคุ้มกันและมีความรู้เท่าทัน
ในสถานการณ์ความเป็นไปของประเทศ
รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์
• ความสาคัญของสื่อนั้นมีความสาคัญยิ่งในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน
นอกจากนี้ความต้องการในการบริโภคข้อมูลข่าวสารของปัจเจก
บุคคลมีแนวโน้มที่สูงมากขึ้นเป็นลาดับ
• การทาหน้าที่ของสื่อจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการตรวจสอบ
การ ดาเนินการต่างๆ ของภาคส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อนาไปสู่
ความโปร่งใสตรวจสอบได้ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานของธรรมาภิบาล
รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์
• สร้างความเข้มแข็งของประชาคมเครื่อข่ายสื่อมวลชน ด้วยการเน้นการมี
ส่วนร่วมระหว่างสื่อมวลชนที่เป็นสมาชิกในการร่วมกันนาเสนอ ข้อมูล
ข่าวสารที่เป็นจริง ถูกต้อง ทันเวลา และเป็นข่าวสารเชิงสร้างสรรต่อ
สังคมไทย
• คานึงถึงบทบาทในการเป็นเครื่องมือหนึ่งของสังคมในการทาหน้าที่
ตรวจสอบ นโยบายสาธารณะที่กาหนดใช้โดยหน่วยงานภาครัฐ
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอานาจที่อาจนาไปสู่การเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและ
กัน การตรวจสอบการทุจริตและคอร์รัปชั่น เป็นต้น
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง
ธรรมาภิบาลความมั่นคง

More Related Content

More from Taraya Srivilas

More from Taraya Srivilas (20)

โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ธรรมาภิบาลความมั่นคง

  • 2. อ้างอิง จาก FES และ DCAF http://www.siamintelligence.com/security-sector- governance-3/
  • 3. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว • ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา • เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้ บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์ เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus) อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
  • 4. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military Professionalism) ของกองทัพ • มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ในอนาคตอันใกล้นี้
  • 5. ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง • เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้ เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา • ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่ กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม • ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา • ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ • การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • 6. ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ Security Sector กับคาว่า Governance • คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน • แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
  • 7. หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF) • 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย • 2) ผู้บริหาร • 3) สภานิติบัญญัติ • 4) ฝุายตุลาการ • 5) องค์กรภาคประชาสังคม • 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง • 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ • 8) ตัวแสดงภายนอก
  • 8. สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program: UNDP) ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม 1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง 2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล 3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม 4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ 5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ • ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ • สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9) เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
  • 9. Security Sector Governance • ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ” • ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่ สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน ด้านต่างๆ ร่วมกัน
  • 10. แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR) และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง” • สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือ รัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น กาลังก่อร่างสร้างรัฐ ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความ เข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษา ผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทาให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรร มาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง เพื่อเข้ามาช่วยจัดการหรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ
  • 11. แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรร มาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่าน พ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3) ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่ง นั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการ นาแนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า • นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์ ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล (Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา และหัวหน้า การวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance ว่า ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security Sector Governance นั้นจะเป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
  • 12. ตัวแสดงในประเทศไทย • ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) • กลุ่มการเมือง (Political Groups) • กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Groups) • กลุ่มผู้นาทหาร (Military Leader Groups) • กลุ่มข้าราชการ (Bureaucracy Groups) • กลุ่มภาคประชาสังคม (Civil Society Group) • กลุ่มสื่อสารมวลชน (Mass Media Groups) • กลุ่มข้าราชการเป็นกลุ่มที่มีบทบาทตามกลุ่มการเมือง ภาคประชาสังคมยังไม่ ความเข้มแข็ง กลุ่มสื่อสารมวลชนมีบทบาทตามกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ • อานาจตกอยู่ที่ กลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และ กลุ่มผู้นาทหาร
  • 13. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย • ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มี ความเกี่ยวพันของโครงสร้างเชิงอานาจ • มีความสลับซับซ้อนมีลักษณะเฉพาะ • การใช้แนวคิดจากต่างประเทศมาใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็น ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดใหม่อย่างการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้าน ความมั่นคง นั้น สามารถกล่าวได้ว่าเป็นแนวคิดใหม่ที่มีทิศทางที่ไม่สอดคล้อง กับรูปแบบของการ ดาเนินการกิจการความมั่นคงของไทยที่ผ่านมา • แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นกระแสโลกที่ ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ • แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่เหมาะสม กับ บริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
  • 14. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย • กลุ่มอานาจจะมีความสมดุลย์ในเชิงอานาจ ภาคประชาสังคมและ สื่อสารมวลชน ต้องมีความเข้มแข็ง ที่จะสามารถทาหน้าที่ตรวจสอบกลุ่ม อานาจที่มีบทบาทในสังคมได้ • ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและสื่อสารมวลชน จะมีความสัมพันธ์ที่ สมดุลย์กับกลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มผู้นาทหาร • กลุ่มหนึ่งกลุ่มใดมีความห่างกลุ่มอื่นๆ หรือมีความอ่อนแอ จะทาให้เกิดภาวะไม่ สมดุลย์ทางอานาจ • กลุ่มการเมืองที่มีความสนิทสนมกับกลุ่มผลประโยชน์มากเกินไป จะทาให้เอื้อ ประโยชน์กับกลุ่มของตน หรือแต่ละกลุ่มมีความใกล้ชิดกันมากเกินไป จะทาให้ เกิดปฏิกริยาต่อต้านจากภาคส่วนอื่น
  • 15. สื่อสารมวลชน • สื่อสารมวลชนต้องมีส่วนร่วมกับภาคประชาสังคมในการตรวจสอบ ด้วยความ เป็นมืออาชีพในวิชาชีพ • สื่อสารมวลชนจะช่วยทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงให้กับภาคประชาสังคมในการ ตรวจสอบ • ที่สาคัญสื่อสารมวลชนต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม • กลุ่มผลประโยชน์ มักจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกลุ่มสื่อสารมวลชน ทาให้ อานาจในการตรวจสอบจะมีน้าหนักน้อยลง • แนวคิดเรื่องของธรรมาภิบาลความมั่นคงยัง จึงต้องใช้เวลาและกระบวนการขัด เกลาทางสังคม (Socialization) จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การมี ธรรมาภิบาลในงานความมั่นคงในอนาคต
  • 16.
  • 17.
  • 19. 2014 (130) 37.94 2013 (135) 38.60 2012 (137) 61.50 2010 (153) 56.83 2009 (130) 44.00 2008 (124) 34.50 2007 (135) 53.50 2006 (122) 33.50 2005 (107) 28.00 2004 (059) 14.00 2003 (082) 19.67 2002 (065) 22.75
  • 20. Challenges of Security Governance • ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย • พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง • รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น • ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุม ดูแลของตุลการฝุายพลเรือน • ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์ ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ
  • 21. Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia • เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์ องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาดังนี้ 1) การป้องกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขังและงานยุติธรรม 2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง 3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน 4) บทบาทของภาคประชาสังคม 5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน (ความเท่าเทียมทางเพศ) 6) การปลดอาวุธ การระดมพล 7) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ • ธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงเป็นแนวคิดที่มีขอบเขตการศึกษาที่กว้าง ขวาง คลอบคลุมหลายมิติ หากจะทาความเข้าใจ ให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ต้องทาความเข้าใจกับ เรื่อง ความสัมพันธ์พลเรือนกับทหารภายใต้ระบอบการปกครองแบบ ประชาธิปไตย • พลเรือนจะมีบทบาท ในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การบริหาร และจัดการ หน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ เพื่อให้เกิดธรรมภิบาล • ธรรมภิบาลงานความมั่นคงลักษณใดหรือแนวทางใด เป็นเรื่องที่ต้องศึกษาหาแนวทางความเหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ เพราะคงไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงที่มีลักษณะสาเร็จรูปและ ใช้ได้ในทุกสังคม
  • 22. ธรรมาภิบาลความมั่นคงภายใต้ระบอบประชาธิปไตย • การปฏิบัติที่ดีสู่ความเป็นเลิศ (Best Practice) ควรประกอบด้วย 1) ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย 2) พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง 3) รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น 4) ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ ตุลการฝุายพลเรือน 5) ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์ ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ Challenges of Security Governance
  • 23. องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง 1) การปูองกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขังและงานยุติธรรม 2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง 3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน 4) บทบาทของภาคประชาสังคม 5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน 5) การปลดอาวุธ การระดมพล 6) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ [13] • จะต้องทาความเข้าใจเรื่อง ความสัมพันธ์พลเรือนกับทหารภายใต้ระบอบ ปชต. • พลเรือนจะมีบทบาท ในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การบริหาร และจัดการ หน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ เพื่อให้เกิดธรรมภิบาล • จะเกิดธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงในลักษณใดเป็นเรื่องที่ต้องศึกษาหาแนวทางความ เหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ เพราะคงไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลความมั่นคงที่มีลักษณะ สาเร็จรูปและใช้ได้ในทุกสังคม เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
  • 24. วิวัฒนาการของกิจการด้านความมั่นคงในประเทศไทย • ความมั่นคงของไทยมีการดาเนินการในลักษณะต่างๆ ได้ 3 ยุค • ยุคเน้นพื้นฐานของภารกิจ (Mission-based) : เป็น ยุคที่หน่วยงานความมั่นคงช่วง สงครามเย็น • ยุคเน้นกระบวนการ (Process-based) : เป็นยุคหลังสงครามเย็นยุติ สหภาพโซ เวียตล่มสลาย กระแสโลกาภิวัตน์แพร่กระจายไปรอบโลกอย่างรวดเร็ว จากเดิม ที่ว่า “รู้เท่าที่จาเป็น” (Need to Know Basis) ไปสู่การ “รู้แล้วต้องแลกเปลี่ยน” (Need to Share Basis) • ยุคการทางานบนพื้นของธรรมาภิบาล (Governance-based) : เป็นยุคที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นในทศวรรษนี้ เพราะกระแสธรรมาภิบาลจากประเทศตะวันตกได้ แพร่กระจายมายังประเทศไทย ทั้งในภาครัฐ ที่เรียกว่า การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ ดี (Good Governance) และภาคเอกชน ที่เรียกว่า การกากับดูแลกิจการที่ ดี (Good Corporate Governance) ด้วยเหตุนี้ธรรมาภิบาลใน
  • 25. ความท้าทายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • การยึดโยงกับอดีตและวัฒนธรรมองค์กรเป็นสิ่งที่ท้าทาย และยังอาจเป็น อุปสรรคในการเดินไปสู่มิติของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง ในช่วง สงครามเย็นและก่อนหน้านั้น ตั้งแต่ยุคของรัฐชาติ • ยุคสงครามเย็น จะเผชิญกับภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เป็นภัยคุกคามทาง ทหาร การรุกรานรัฐ และการปูองกันรัฐ เมื่อสงครามเย็นยุติรูปแบบภัย คุกคามได้เปลี่ยนแปลงไป เป็นภัยคุกคามที่มีความผสมผสานกันระหว่าง ภัยคุกคามทางทหาร และไม่ใช่ทางทหาร หรือเรียกว่าภัยคุกคามรูปแบบ ใหม่ มีความคิดในเรื่องของความมั่นคงมนุษย์ (Human Security) กลไกที่นามาใช้ คือการใช้ภาคประชาสังคม (Civil Society)
  • 26. ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ • การแก้ปัญหายังไม่มีประสิทธิมากนัก เพราะยังคงใช้ชุดความคิดเดิม และ กลไกเดิมในการแก้ปัญหาใหม่ ทาให้ไม่มีความสอดคล้องกับปัญหาที่กาลัง เผชิญ • ต้องกาหนดชุดความคิดที่เหมาะสมเพื่อนาไปสู่การรองรับกับปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน • ชุดความคิด “ความมั่นคงสมบูรณ์แบบ (Comprehensive Security)” มุ่งเน้นการพัฒนากาลังอานาจของชาติทุกด้านให้ได้ สมดุลย์ คือ ให้ความสาคัญกับกาลังอานาจของชาติในทุก ๆ มิติไปพร้อม ๆ กัน และเท่าเทียมกัน
  • 27. แนวทางการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย • ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มีการพัฒนาการมายาวนาน โครงสร้างเชิงอานาจจึงมีความสลับซับซ้อน การใช้แนวคิดต่างประเทศมา ใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็นไทย • อย่างไรก็ตามถึงแม้จะเป็นแนวคิดใหม่ที่อาจจะส่งผลกระทบกิจการความ มั่นคงก็ตาม แต่แนว คิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความ มั่นคงเป็นกระแสโลกที่ไม่สามารถ หลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ ดังนั้น แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่ เหมาะสมกับ บริบทของประเทศไทยจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับ บทความนี้ได้นาเสนอแนวทางการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความ มั่นคงของไทย ตามรายละเอียดต่อไปนี้
  • 28. • 4.1 ยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง: • การส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็งนั้นเป็นสิ่งที่ต้องเร่ง ดาเนินการ ทั้งนี้เพราะภาคประชาสังคมนั้นเปรียบเสมือนกับผู้ที่คอยทา หน้าที่ตรวจสอบการ ใช้อานาจของฝุายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุายบริหาร นิติ บัญญัติ ตุลาการ แม้กระทั่งข้าราชการ หรือ แม้กระทั่งภาคเอกชนต่างๆ เพราะประชาชนเป็นเจ้าของอานาจที่แท้จริง โดยการที่จะส่งเสริมให้ภาค ประชาสังคมมีความเข้มแข็งได้ ประเทศไทยจะต้องการมีการส่งเสริมใน ประเด็นต่างๆ ดังนี้ • 4.1.1 มีการออกนโยบายสาธารณะที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและภาค ประชาสังคมได้มีบทบาท หน้าที่ และรวมไปถึงการมีอานาจในการ
  • 29. • 4.2 รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์ • ความสาคัญของสื่อนั้นมีความสาคัญยิ่งในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน นอกจากนี้ความต้องการในการบริโภคข้อมูลข่าวสารของปัจเจกบุคคลมี แนวโน้มที่ สูงมากขึ้นเป็นลาดับ ดังนั้นการทาหน้าที่ของสื่อจึงมี ความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการตรวจสอบการ ดาเนินการต่างๆ ของภาค ส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อนาไปสู่ความโปร่งใสตรวจสอบได้ อันเป็น ปัจจัยพื้นฐานของธรรมาภิบาล การรณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์ ควรมีการดาเนินการดังนี้ • 4.2.1 สร้างความเข้มแข็งของประชาคมเครื่อข่ายสื่อมวลชน ด้วยการเน้น การมีส่วนร่วมระหว่างสื่อมวลชนที่เป็นสมาชิกในการร่วมกันนาเสนอ
  • 30. • 4.3 ส่งเสริมให้กองทัพมีความเป็นทหารอาชีพ • ความเป็นทหารอาชีพของกองทัพนั้นจะช่วยให้การดาเนินการด้านต่างๆ ในกิจการความมั่นคงของประเทศเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในประเด็นทางการด้านการเมือง ที่กองทัพจะต้องรักษาระยะให้มี ความเหมาะสม คือไม่ห่างเหินหรือใกล้ชิดจนเกินไป เพราะความเหมาะสม ของระยะของกองทัพกับกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ จะช่วยให้กองทัพมีความ เป็นทหารอาชีพ โดยการดาเนินการที่มุ่งไปสู่ความเป็นทหารอาชีพมี ประเด็นสาคัญได้แก่ • 4.3.1 ปรับโครงสร้างกองทัพให้มีความทันสมัยและเหมาะสม เพื่อให้มี กระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ มีความชัดเจนในบทบาทและหน้าที่
  • 31. • 4.4 เน้นกระบวนการมีส่วนรวมจากทุกภาคส่วน • ในปัจจุบันการดาเนินการต่างที่จะสามารถผ่านไปได้อย่างดีนั้น เป็นที่ ทราบกันดีว่าจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่มีส่วนได้ส่วน เสียในเรื่องนั้นๆ เพราะหากไม่ได้มีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องแล้ว ย่อมมีแนวโน้มว่าการดาเนินการนั้นยากที่จะประสบความสาเร็จ เพราะ ปัจจุบันสังคมมีความสลับซับซ้อนที่มากขึ้นและที่สาคัญมีการเปลี่ยน แปลง อยู่ตลอดเวลาในลักษณะที่เป็นพลวัตร การมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ จึงเป็นเรื่องที่หน่วยงานด้านความมั่นคงไม่สามารถที่จะหลีกเลี่ยงได้ ดังนั้น การดาเนินการใดๆ จึงมีความจาเป็นที่ต้องมีส่วนร่วมจากภาคส่วนต่างๆ ลักษณะดังนี้
  • 32. • 4.5 ปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องให้กับเยาวชน • เยวชนเป็นกาลังสาคัญที่จะต้องเติบโตเป็นพลเมืองของประเทศในอนาคต หากได้รับการปลูกฝังในสิ่งที่เหมาะสมและดีแล้วย่อมที่จะเป็นหลักประกัน สาคัญ ประการหนึ่งในอนาคต ที่จะช่วยให้สังคมส่วนรวมมีการพัฒนาขึ้น ไปในทางที่ดี ดังนั้นค่านิยมจึงกลายเป็นสิ่งที่สาคัญที่จะประคับประคองให้ สังคมพัฒนาไป อย่างมีทิศทาง • 4.5.1 รณรงค์ให้เยาวชนตระหนักถึง สิทธิ และหน้าที่พลเมือง เพื่อให้ ตระหนักถึงสิทธิตนเองมีว่ามีขอบเขตเพียงไร และต้องไม่ลืมว่าอานาจเป็น ของปวงชน ดังนั้นสิ่งที่สาคัญประการแรกคือ สิทธิการเป็นเจ้าของอานาจ ที่จะต้องหวงแหนและรักษาเอาไว้ นอกจากนี้หน้าที่พลเมืองก็ยังเป็นสิ่งที่มี
  • 33. • 5. บทสรุป • ธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงเป็นแนวคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในยุคหลัง สงครามเย็น มีความสัมพันธ์และสอดคล้องกับการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยในยุคปัจจุบันที่ ให้ความสาคัญกับธรรมาภิบาล ควบคู่กันไป โดยหลักการสาคัญของธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงนั้น คือ การที่ หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งรวมถึงกองทัพนั้นสามารถที่จะถูกควบคุม ปกครอง จัดการ และ ตรวจสอบ โดยประชาชน ในฐานะที่ประชาชนเป็น เจ้าของอานาจที่แท้จริงของประเทศ • อย่างไรก็ดี ถึงแม้แนวความคิดเรื่องธรรมาภิบาลในหน่วยงานความมั่นคง จะเป็นเรื่องที่ถูก ขับเคลื่อนมาพร้อมกระแสประชาธิปไตย แต่การปรับปรุง
  • 34. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว • ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา • เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้ บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์ เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus) อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
  • 35. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military Professionalism) ของกองทัพ • มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ในอนาคตอันใกล้นี้
  • 36. ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง • เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้ เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา • ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่ กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม • ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา • ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ • การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • 37. ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ Security Sector กับคาว่า Governance • คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน • แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
  • 38. หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF) • 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย • 2) ผู้บริหาร • 3) สภานิติบัญญัติ • 4) ฝุายตุลาการ • 5) องค์กรภาคประชาสังคม • 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง • 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ • 8) ตัวแสดงภายนอก
  • 39. สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program: UNDP) ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม 1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง 2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล 3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม 4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ 5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ • ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ • สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9) เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
  • 40. Security Sector Governance • ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ” • ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่ สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน ด้านต่างๆ ร่วมกัน
  • 41. แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR) และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความ มั่นคง” • สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น กาลังก่อร่างสร้างรัฐ ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความเข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทา ให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง เพื่อเข้ามาช่วยจัดการ หรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ • ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรรมาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3) ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่งนั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการนา แนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า • นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล (Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพ ประจากรุงเจนีวา และหัวหน้าการวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance ว่า ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security Sector Governance นั้นจะ เป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
  • 42. ตัวแสดงในประเทศไทย • ตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) • กลุ่มการเมือง (Political Groups) • กลุ่มผลประโยชน์ (Interest Groups) • กลุ่มผู้นาทหาร (Military Leader Groups) • กลุ่มข้าราชการ (Bureaucracy Groups) • กลุ่มภาคประชาสังคม (Civil Society Group) • กลุ่มสื่อสารมวลชน (Mass Media Groups) • กลุ่มข้าราชการเป็นกลุ่มที่มีบทบาทตามกลุ่มการเมือง ภาคประชาสังคมยังไม่ ความเข้มแข็ง กลุ่มสื่อสารมวลชนมีบทบาทตามกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ • อานาจตกอยู่ที่ กลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และ กลุ่มผู้นาทหาร
  • 43. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย • ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มี ความเกี่ยวพันของโครงสร้างเชิงอานาจ • มีความสลับซับซ้อนมีลักษณะเฉพาะ • การใช้แนวคิดจากต่างประเทศมาใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็น ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งแนวคิดใหม่อย่างการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้าน ความมั่นคง นั้น สามารถกล่าวได้ว่าเป็นแนวคิดใหม่ที่มีทิศทางที่ไม่สอดคล้อง กับรูปแบบของการ ดาเนินการกิจการความมั่นคงของไทยที่ผ่านมา • แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นกระแสโลกที่ ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ • แนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่เหมาะสม กับ บริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร
  • 44. • กลุ่มอานาจจะมีความสมดุลย์ในเชิงอานาจ ภาคประชาสังคมและ สื่อสารมวลชน ต้องมีความเข้มแข็ง ที่จะสามารถทาหน้าที่ตรวจสอบกลุ่ม อานาจที่มีบทบาทในสังคมได้ • ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมและสื่อสารมวลชน จะมีความสัมพันธ์ที่ สมดุลย์กับกลุ่มการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ และกลุ่มผู้นาทหาร • กลุ่มหนึ่งกลุ่มใดมีความห่างกลุ่มอื่นๆ หรือมีความอ่อนแอ จะทาให้เกิดภาวะไม่ สมดุลย์ทางอานาจ • กลุ่มการเมืองที่มีความสนิทสนมกับกลุ่มผลประโยชน์มากเกินไป จะทาให้เอื้อ ประโยชน์กับกลุ่มของตน หรือแต่ละกลุ่มมีความใกล้ชิดกันมากเกินไป จะทาให้ เกิดปฏิกริยาต่อต้านจากภาคส่วนอื่น
  • 45. สื่อสารมวลชน • สื่อสารมวลชนต้องมีส่วนร่วมกับภาคประชาสังคมในการตรวจสอบ ด้วยความ เป็นมืออาชีพในวิชาชีพ • สื่อสารมวลชนจะช่วยทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงให้กับภาคประชาสังคมในการ ตรวจสอบ • ที่สาคัญสื่อสารมวลชนต้องมีคุณธรรมและจริยธรรม • กลุ่มผลประโยชน์ มักจะมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับกลุ่มสื่อสารมวลชน ทาให้ อานาจในการตรวจสอบจะมีน้าหนักน้อยลง • แนวคิดเรื่องของธรรมาภิบาลความมั่นคงยัง จึงต้องใช้เวลาและกระบวนการขัด เกลาทางสังคม (Socialization) จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนผ่านไปสู่การมี ธรรมาภิบาลในงานความมั่นคงในอนาคต
  • 46.
  • 47.
  • 49. 2014 (130) 37.94 2013 (135) 38.60 2012 (137) 61.50 2010 (153) 56.83 2009 (130) 44.00 2008 (124) 34.50 2007 (135) 53.50 2006 (122) 33.50 2005 (107) 28.00 2004 (059) 14.00 2003 (082) 19.67 2002 (065) 22.75
  • 50. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • เป็นเรื่องใหม่ในประเทศไทย แต่บางอย่างได้เกิดขึ้นในประเทศไทยแล้ว • ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงที่สาคัญที่ผ่านมามีอยู่ 2 เรื่อง คือการที่รัฐบาล หรือฝุายบริหารพลเรือน ได้สั่งใช้หน่วยงานความมั่นคงในการยุติสถานการความ ขัดแย้ง ในห้วงเดือน มี.ค.-พ.ค. 53 ที่ผ่านมา • เรื่องที่สองคือการปลด พล.อ.สแตนเลย์ แมคคริสตัล (Stanley A. McChrystal) ผู้ บัญชาการทหารสหรัฐฯ และกองกาลังนาโต้ในอัฟกานิสถาน ที่ไปวิพากษ์วิจารณ์ เจ้าหน้าที่ระดับสูง ในนิตยสาร โรลลิ่งสโตน (Rolling Stone) รวมถึงประธานาธิบดี โอบามาด้วย และการแต่งตั้ง พล.อ.เดวิด เพเทรอุส (David Howell Petraeus) อดีตผู้บัญชาการทหารสหรัฐในอิรัก ไปดารงตาแหน่งแทน
  • 51. ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง Security Sector Governance (SSG) • ทั้ง 2 กรณีเกิดการวิพากษ์ไปในทานองเปรียบเทียบ ถึงระดับการพัฒนาระบอบการ ปกครองแบบประชาธิปไตยกับระดับความเป็นทหารอาชีพ (Military Professionalism) ของกองทัพ • มีความเป็นไปได้ว่า เรื่องของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงจะกลายมาเป็น ดัชนีชี้วัดหนึ่ง ถึงระดับความเป็นทหารอาชีพของกองทัพในประเทศต่างๆ ทั่วโลก ในอนาคตอันใกล้นี้
  • 52. ธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง • เป็นเรื่องใหม่ในทางสากล และเป็นกระแสที่ประเทศที่พัฒนาแล้วนาแนวคิดเหล่านี้มาใช้ เป็นเครื่องมือต่อรองหรือสร้างความได้เปรียบกับประเทศที่กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนา • ระเบียบโลกใหม่(New World Order)กระแสประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม สิทธิ มนุษยชนและการเปิดเสรี โดยถูกหยิบยกเป็นประเด็นสาคัญ และบังคับให้ประเทศที่ กาลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาต้องทาตาม • ประเทศไทยนั้น ได้มีประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปเข้ามาขับเคลื่อน ผลักดัน และ ดาเนินการในเรื่องธรรมภิบาลในด้านความมั่นคง ในห้วง 2 – 3 ปีที่ผ่านมา • ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับงานด้านความมั่นคงไม่มีองค์ความรู้ ความเข้าใจอย่างดีพอ อาจ ส่งผลให้ประเทศไทยต้องเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกระแสนี้อย่างเสียเปรียบ • การทาความเข้าใจในธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงจึงเป็นสิ่งที่มีความ จาเป็นที่ต้อง เตรียมการเพื่อรองรับกับการเปลี่ยนผ่านที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • 53. ความหมายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • หมายถึงความมั่นคงแห่งชาติ จะต้องพิจารณาถึงความหมายของคาสองคาคือ Security Sector กับคาว่า Governance • คาว่า Security Sector หมายถึง หน่วยงานด้านความมั่นคง ซึ่งหากพิจารณา แล้วจะพบว่าเป็นการยากที่จะระบุว่าหน่วยงานใดบ้างเป็นหน่วย งานด้านความ มั่นคง เพราะภาคส่วนต่างๆ หากพิจารณาแล้วจะเกี่ยวข้องกับงานด้านความ มั่นคงเกือบทุกหน่วยงาน • แต่ ศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพประจากรุงเจนีวา (The Geneva Centre for the Democratic Control of Armed Forces: DCAF) ได้แบ่ง ลักษณะของหน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคงออกเป็น 8 กลุ่ม
  • 54. หน่วยงานที่มีบทบาทในหน่วยงานด้านความมั่นคง(DCAF) • 1) หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตามกฏหมาย • 2) ผู้บริหาร • 3) สภานิติบัญญัติ • 4) ฝุายตุลาการ • 5) องค์กรภาคประชาสังคม • 6) หน่วยงานภาคเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง • 7) องค์กรอิสระที่ทาหน้าที่ตรวจสอบ • 8) ตัวแสดงภายนอก
  • 55. สานักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program: UNDP) ได้แบ่งหน่วยงานด้านความมั่นคงไว้เป็น 5 กลุ่ม 1) หน่วยงานที่เป็นหน่วยงานใช้กาลัง 2) หน่วยงานที่จัดการด้านพลเรือนและควบคุมดูแล 3) หน่วยงานด้านงานยุติธรรม 4) กองกาลังต่างๆ ที่ไม่ใช่ของรัฐ 5) หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ • ประเทศไทยจะพิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เป็นเรื่องยากที่จะกาหนด เพราะ ด้วยบริบท และสถานกาณ์เฉพาะของประเทศไทย จะพิจารณาพื้นฐานมาจากหน่วยงานที่มีความ เกี่ยวข้องกับสภาความมั่นคงแห่งชาติ เพราะเป็นหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบด้านความมั่นคงของรัฐ • สภาความมั่นคงแห่งชาติมีองค์ประกอบหลักดังนี้ 1) นายกรัฐมนตรี เป็น ประธาน 2) รองนายกรัฐมนตรี เป็น รองประธาน 3) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเป็นสมาชิก 4) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็น สมาชิก 5) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นสมาชิก 6) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมเป็น สมาชิก 7) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นสมาชิก 8) ผู้บัญชาการทหารสูงสุด เป็นสมาชิก และ 9) เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติเป็นสมาชิกและเลขานุการ
  • 56. Security Sector Governance • ธรรมาภิบาลด้านความมั่นคง คือความโปร่งใสที่ครอบคลุมในเรื่องของ กระบวนการ การปฏิบัติ ทัศนคติ ค่านิยม ธรรมเนียม และรวมไปถึงความ รับผิดชอบในด้านความั่นคงที่ส่งผลกระทบต่อสาธารณะ เป็นการปฏิบัติที่ ชอบด้วยกฎหมายทั้งในและต่างประเทศ” • ธรรมภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นเรื่องที่มีความสลับซ้บซ้อน และที่ สาคัญจะต้องมีความสอดคล้องกับบริบทของประเทศหรือสังคมนั้นฯ และ สิ่งที่สาคัญคือหากต้องการให้แนวคิดนี้ประสบความสาเร็จ จะต้อง ดาเนินการโดยมีการยอมรับและมีส่วนร่วมจากผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียใน ด้านต่างๆ ร่วมกัน
  • 57. แนวคิดของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • มีการใช้ควบคู่ไปกับคาว่า Security Sector Reform (SSR) และนิยมใช้ในภาษาไทยคือ “การปฏิรูปในงานด้านความ มั่นคง” • สาเหตุที่แนวความคิดนี้เริ่มมีการแพร่หลายนั้นเกิดจาก การที่ประเทศหรือรัฐที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการยุติลงของสงครามเย็นนั้น กาลังก่อร่างสร้างรัฐ ซึ่งเป็นภาวะที่ไม่สามารถสร้างโดยตัวเองได้ง่าย เพราะรัฐยังไม่มีความเข้มแข็ง อาจถูกแทรกแซงจากภายนอก หรือปัญหาความขัดแย้งภายใน ทาให้ประเทศที่มีพลังอานาจสูงกว่าต้องเข้ามาช่วยจัดการ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติตนเอง ทา ให้มีการผลักดันแนวความคิดเรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง เพื่อเข้ามาช่วยจัดการ หรือสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นในรัฐ • ในเว็ปวิกิพีเดียได้มีการรวบรวมและให้ลักษณะของรัฐหรือประเทศ 3 ลักษณะที่นาแนวคิดทั้งธรรมาภิบาลในงานด้านคามมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง ได้แก่ 1) ประเทศที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง 2) ประเทศที่อยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่าน และ 3) ประเทศกาลังพัฒนา [9] ซึ่งนั้นก็หมายความว่า ประเทศ 3 ลักษณะนี้คือประเทศคือประเทศที่ถูกเลือกให้เป็นเปูาหมายของการนา แนวความคิด เรื่อง ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง และ การปฏิรูปในงานด้านความมั่นคง จากประเทศที่มีกาลังอานาจสูงกว่า • นอกจากนี้นักวิชาการจานวนมากได้มองว่าธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงมี ความสัมพันธ์ร่วมกับแนวคิดในเรื่องธรรมาภิบาล (Good Governance) ดังเช่น ไฮน์เนอร์ (Heiner Hänggi) ผู้ช่วยผู้อานวยการศูนย์เพื่อประชาธิปไตยของกองทัพ ประจากรุงเจนีวา และหัวหน้าการวิจัยของศูนย์ฯ ได้กล่าวไว้ในเอกสาร Challenges of Security Governance ว่า ธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็นมิติหนึ่งแนวคิดธรรมาภิบาล [10] โดย Security Sector Governance นั้นจะ เป็นแนวคิดในระดับรัฐ-ชาติ ส่วน Security Governance จะเป็นแนวคิดในระดับโลก หรือสากล หรือระดับภูมิภาค [11]
  • 58. ธรรมาภิบาลความมั่นคงภายใต้ระบอบประชาธิปไตย • การปฏิบัติที่ดีสู่ความเป็นเลิศ (Best Practice) ควรประกอบด้วย 1) ขอบเขตของการแบ่งแยกอานาจที่ชัดเจนในรัฐธรรมนูญและกฏหมาย 2) พลเรือนเป็นผู้ควบคุมและบริหารจัดการหน่วยงานความมั่นคง 3) รัฐสภาพเป็นผู้ควบคุมและตรวจสอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น 4) ควบคุมโดยศาลยุติธรรม เช่น ตุลาการทหารอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ ตุลการฝุายพลเรือน 5) ควบคุมโดยสาธารณะ เช่น สื่อหรือภาคประชาสังคมสามารถวิพากษ์ ประเด็นความมั่นคงได้ในฐานะประเด็นสาธารณะ (Challenges of Security Governance)
  • 59. องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง 1) การป้องกันประเทศ การข่าวกรอง การกาหนดนโยบาย การคุมขัง และงานยุติธรรม 2) บทบาทของบริษัทเอกชนที่ทางานด้านความมั่นคง 3) การตรวจสอบข้อผิดพลาดของกองทัพโดยประชาชน 4) บทบาทของภาคประชาสังคม 5) การนาเพศภาวะเป็นกระแสหลักของการทางาน 5) การปลดอาวุธ การระดมพล 6) การบูรณาการการทางานของหน่วยงานภาครัฐต่างๆ เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
  • 60. องค์ประกอบที่ใช้ศึกษาธรรมาภิบาลความมั่นคง • จะต้องทาความเข้าใจเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างพลเรือนกับทหาร ภายใต้ระบอบ ปชต. • พลเรือนจะมีบทบาทในเรื่องการปกครอง ควบคุม การตรวจสอบ การ บริหาร และการบริหารหน่วยงานความมั่นคงและกองทัพ เพื่อให้เกิด ธรรมาภิบาล • ธรรมภิบาลในหน่วยงานความมั่นคงจะเป็นลักษณใดนั้นเป็นเรื่องที่ต้อง ศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมตามบริบทของสังคมนั้นๆ • ไม่มีรูปแบบธรรมาภิบาลความมั่นคงที่มีลักษณะสาเร็จรูปและใช้ได้ใน ทุกสังคม เอกสาร Establishing Good Security Sector Governance in Southeast Asia ที่เขียนโดย เฮอร์แมน โจเซฟ (Herman Joseph S. Kraft) แห่ง S. Rajaratnam School of International Studies (RSIS) ของมหาวิทยาลัยนันยาง ประเทศสิงค์โปร์
  • 61. วิวัฒนาการของงานด้านความมั่นคงในประเทศไทย • แบ่งเป็น 3 ยุค ที่ยุคแรกเน้นพื้นฐานของภารกิจ (Mission-based) : เป็น ยุคที่ หน่วยงานความมั่นคงช่วงสงครามเย็น • ยุคที่สองเน้นกระบวนการ (Process-based) : เป็นยุคหลังสงครามเย็นยุติ สหภาพ โซเวียตล่มสลาย กระแสโลกาภิวัตน์แพร่กระจายไปรอบโลกอย่างรวดเร็ว จากเดิม ที่ว่า “รู้เท่าที่จาเป็น” (Need to Know Basis) ไปสู่การ “รู้แล้วต้องแลกเปลี่ยน” (Need to Share Basis) • ยุคที่สามการทางานบนพื้นของธรรมาภิบาล (Governance-based) : ปัจจุบัน มี กระแสธรรมาภิบาลจากตะวันตกแพร่มายังประเทศไทย ในภาครัฐเรียกว่า การ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance) และภาคเอกชนเรียกว่า การกากับ ดูแลกิจการที่ดี (Good Corporate Governance) ในหน่วยงานความมั่นคง จึง หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ต้องนามาปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม เพื่อรองรับการตรวจสอบ ติดตาม ควบคุมและการบริหารของฝุายบริหารที่ถูกตรวจสอบจากภาคประชาชน
  • 62. ความท้าทายของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • สิ่งที่ท้าทาย คือการยึดโยงกับอดีตและวัฒนธรรมองค์กรยังเป็นอุปสรรคใน การเดินไปสู่มิติของธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคง • ยุคสงครามเย็น จะเผชิญกับภัยคุกคามแบบดั้งเดิม เป็นภัยคุกคามทาง ทหาร การรุกรานรัฐ และการปูองกันรัฐ • เมื่อสงครามเย็นยุติรูปแบบภัยคุกคามได้เปลี่ยนแปลงไป เป็นภัยคุกคามที่มี ความผสมผสานกันระหว่างภัยคุกคามทางทหาร และไม่ใช่ทางทหาร หรือ เรียกว่าภัยคุกคามรูปแบบใหม่ มีความคิดในเรื่องของความมั่นคงมนุษย์ (Human Security) กลไกที่นามาใช้ คือการใช้ภาคประชาสังคม (Civil Society)
  • 63. ภัยคุกคามรูปแบบใหม่ • การจัดการกับปัญหายังไม่มีประสิทธิมากนัก เพราะยังคงใช้ชุดความคิด เดิมๆ และกลไกเดิมๆในการแก้ปัญหาใหม่ที่เกิดขึ้น ทาให้ไม่มีความ สอดคล้องกับปัญหาที่กาลังเผชิญ • ต้องกาหนดชุดความคิดที่เหมาะสมเพื่อนาไปสู่การรองรับกับปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน • ชุดความคิด “ความมั่นคงสมบูรณ์แบบ (Comprehensive Security)” มุ่งเน้นการพัฒนากาลังอานาจของชาติทุกด้านให้ได้สมดุลย์ คือ ให้ ความสาคัญกับกาลังอานาจของชาติในทุก ๆ มิติไปพร้อม ๆ กัน และเท่า เทียมกัน
  • 64. แนวทางจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทย • ประเทศไทยมีรูปแบบการปกครองที่มีการพัฒนาการมายาวนาน โครงสร้างเชิงอานาจจึงมีความสลับซับซ้อน การใช้แนวคิดต่างประเทศมา ใช้พิจารณาอาจทาให้ขาดมิติของความเป็นไทย • ถึงแม้จะเป็นแนวคิดใหม่ที่อาจจะส่งผลกระทบกับกิจการความมั่นคงก็ ตามแต่แนวคิดเรื่องการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงเป็น กระแสโลกที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธได้ • ดังนั้นแนวคิดการจัดการธรรมาภิบาลในงานด้านความมั่นคงของไทยที่ เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทยจะเป็นอย่างไรจึงมีความจาเป็น อย่างยิ่ง
  • 65. การยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง • ต้องเร่งดาเนินการส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมมีความเข้มแข็ง เพราะภาค ประชาสังคมนั้นเปรียบเสมือนกับผู้ที่คอยทาหน้าที่ตรวจสอบการ ใช้ อานาจของฝุายต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุายบริหาร นิติบัญญัติ ตุลาการ แม้กระทั่งข้าราชการ หรือภาคเอกชนต่างๆ • ประชาชนเป็นเจ้าของอานาจที่แท้จริง โดยการที่จะส่งเสริมให้ภาคประชา สังคมมีความเข้มแข็งได้ ประเทศไทยจะต้องการมีการส่งเสริมในประเด็น ต่างๆ เช่น – การออกนโยบายสาธารณะที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและภาคประชาสังคมได้มี บทบาทหน้าที่ และรวมไปถึงการมีอานาจในการตรวจสอบการทาหน้าที่ของภาค ส่วนต่างๆ ในระดับที่มีความเป็นรูปธรรมและเหมาะสม
  • 66. การยกระดับภาคประชาสังคมให้มีความเข้มแข็ง • จัดให้ประชาชนทุกคนได้มีโอกาสทางการศึกษาในระดับสูงสุดเท่าที่เป็นไป ได้ และให้ครอบคลุมมากที่สุด เพื่อยกระดับคุณภาพทางการศึกษาของ ประชาชนในประเทศ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มภูมิคุ้มกันและมีความรู้เท่าทัน ในสถานการณ์ความเป็นไปของประเทศ
  • 67. รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์ • ความสาคัญของสื่อนั้นมีความสาคัญยิ่งในสภาวะแวดล้อมปัจจุบัน นอกจากนี้ความต้องการในการบริโภคข้อมูลข่าวสารของปัจเจก บุคคลมีแนวโน้มที่สูงมากขึ้นเป็นลาดับ • การทาหน้าที่ของสื่อจึงมีความสาคัญเป็นอย่างยิ่งต่อการตรวจสอบ การ ดาเนินการต่างๆ ของภาคส่วนต่างๆ ในสังคม เพื่อนาไปสู่ ความโปร่งใสตรวจสอบได้ อันเป็นปัจจัยพื้นฐานของธรรมาภิบาล
  • 68. รณรงค์ส่งเสริมสื่อมวลชนสร้างสรรค์ • สร้างความเข้มแข็งของประชาคมเครื่อข่ายสื่อมวลชน ด้วยการเน้นการมี ส่วนร่วมระหว่างสื่อมวลชนที่เป็นสมาชิกในการร่วมกันนาเสนอ ข้อมูล ข่าวสารที่เป็นจริง ถูกต้อง ทันเวลา และเป็นข่าวสารเชิงสร้างสรรต่อ สังคมไทย • คานึงถึงบทบาทในการเป็นเครื่องมือหนึ่งของสังคมในการทาหน้าที่ ตรวจสอบ นโยบายสาธารณะที่กาหนดใช้โดยหน่วยงานภาครัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอานาจที่อาจนาไปสู่การเอื้อประโยชน์ซึ่งกันและ กัน การตรวจสอบการทุจริตและคอร์รัปชั่น เป็นต้น