SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
~ 1 ~
~ 2 ~
โครงการวิจัยเอกสาร ชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ
เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน
นาย ศตพงศ์ คาแก้ว 54210939 ว.ศ. วิศวกรรมโยธา
น.ส. กฤษณา นามวงศ์ 54211203 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
นาย ชัชนันท์ เชิดชู 54211214 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
น.ส. นภัสสร โตวิจิตร 54211223 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
นาย พิสิฐ แก้วคาปา 54211231 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
น.ส. รวีวรรณ ไทรย้อย 54211238 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
นาย อภิชัย ไฟเพ็ชร 54211249 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
น.ส. หนึ่งฤทัย เพ็งอ้น 54211284 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ
น.ส. กมลวรรณ มั่งถึก 54215101 ว.ศ. วิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ
~ 3 ~
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
การเปลี่ยนผ่านของภาวะเศรษฐกิจ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศที่สาคัญ โดยการ
วางรากฐานการพัฒนาที่เข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจทุกระดับ เพื่อนาไปสู่การแก้ไขปัญหาความยากจน และ
เสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขของคนไทยได้อย่างยั่งยืน แต่ถึงแม้ว่าการพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมาจะ
ประสบความสาเร็จในระดับหนึ่งก็ตาม แต่สถานการความยากจนก็ยังคงปรากฏอยู่ในสังคมไทย ดังนั้น
การแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนได้นั้น จาเป็นต้องให้ชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตาม
แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสามารถจาแนกได้ 5 ประการ
1. การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี หมายถึงการรู้จักใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ หมายถึง ความสามารถในการทามาหาเลี้ยงชีพที่มีความมั่นคง
3. การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่
มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยไม่ให้เสียสมดุลของธรรมชาติ
4. การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ หมายถึง สภาพจิตใจที่กล้าแข็งเพื่อที่จะสามารถต่อสู้กับปัญหา
อุปสรรคต่าง ๆ
5. การพึ่งตนเองได้ทางสังคม หมายถึง การที่คนกลุ่มหนึ่งมีความเป็นปึกแผ่นเหนียวแน่นมีผู้นาที่มี
ประสิทธิภาพสามารถนากลุ่มคนเหล่านี้ให้ดาเนินการใด ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง
พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ซึ่งมีหลักการสาคัญ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมี
ภูมิคุ้มกัน โดยอาศัยความรู้ ความรอบคอบ มาใช้ในการวางแผน และดาเนินการทุกขั้นตอน
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ความพอเหมาะ ความสมดุล
ความมีเหตุผล หมายถึง การพิจารณาถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลกระทบที่จะเกิด โดยต้องมี
เงื่อนไขของความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐานเพื่อการตัดสินใจ
การมีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมพร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้รอบด้านเกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ทั้งในอดีต ปัจจุบันและ
อนาคต
เงื่อนไขคุณธรรม หมายถึง คุณธรรมในการดารงชีพ เพื่อความสงบสุขและเจริญก้าวหน้าทั้งของ
ตนเอง
กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ของบุคคลในชุมชนตั้งแต่
การได้รับข้อมูลจนถึงการลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีศักยภาพได้
~ 4 ~
2. หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน
1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น
2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ
3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน คือ ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง
ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม
5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน
จุดเน้นของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. เน้นให้คนเข้าใจลักษณะพื้นฐานทางสังคมว่า “ความเปลี่ยนแปลง” คือความจริงแท้ทางสังคม
2. เน้นการสร้างความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลง
3. เน้นการสร้างความสมดุล มั่นคง และความยั่งยืนระยะยาว
4. เน้นความพอดี พอประมาณ รู้จักตนเอง รู้จักบริบท ในการที่จะทาให้องค์กรมีความสมดุล
ยั่งยืน
5. เน้นการมีความรู้ และความมีคุณธรรม
6. เน้นการพึ่งตนเอง การพึ่งพิงอิงกัน และความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
3. ปัจจัยและเงื่อนไขของเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มปัจจัยทุนทางสังคม ทุนทางสังคมแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ
1. ทุนทางสังคมที่เป็นรูปธรรมอันรวมถึงทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
2. ทุนทางสังคมที่เป็นนามธรรม เช่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ที่เป็นกรอบการดาเนินชีวิต
แนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความยากจน
1.ความหมายของความยากจน
คือความขัดสนทางเศรษฐกิจหรือด้านรายได้ และยังครอบคลุมถึงความยากจนเชิงโครงสร้างที่เกิดจาก
ความขัดสนในหลายๆด้าน ที่มีผลทาให้ขาดศักยภาพในการดารงชีวิต การที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการของ
รัฐ ซึ่งนาไปสู่ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม
2. สาเหตุของความยากจน
1) ปัจจัยบุคคลและครัวเรือน ได้แก่ ขาดความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ ขาดความ
ขยันหมั่นเพียร ขาดการประหยัดและอดออม มัวเมาหมกหมุ่นในอบายมุข มีเด็กและคนชราที่ไม่สามารถ
ดูแลตนเองได้อยู่ด้วยเป็นจานวนมาก เป็นต้น
~ 5 ~
2) ปัจจัยในระดับชุมชน ได้แก่ มีทุนทางสังคมที่ไม่ดี เช่น ไม่มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันไม่มีความผูกพันกัน
ไม่มีการสนับสนุนเกื้อกูลกัน และไม่มีการมีส่วนร่วมในชุมชน หรือถูกตัดขาดจากสังคม เป็นต้น
3) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ขาดแคลนสินทรัพย์ เช่น ที่ดิน ทุนต่าง ๆ การขาดอานาจการต่อรอง
ภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย เป็นต้น
3. การแก้ไขปัญหาความยากจน
สามารถแก้ไขโดยใช้หลักการเดินตามรอยพระยุคลบาทเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ
พอเพียง สามขั้นของการแก้ปัญหาความยากจน และการแก้ปัญหาโดยใช้ปัญญานาหน้า
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นหรือชุมชน
1. หลักการแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยกับการพัฒนาท้องถิ่น
ความหมายของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น เป็นกระบวนการที่คนในชุมชนได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้ง
คาถามวางแผน หาข้อมูล ทดลองทา วิเคราะห์ สรุปคาตอบ และถอดบทเรียนเพื่อปรับปรุงงานต่อไป ซึ่ง
คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย ตั้งแต่การเริ่มคิด ตั้งคาถาม การวางแผนและค้นหา
คาตอบอย่างเป็นระบบโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติการจริง (Action Research)
2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น
1) งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นบนฐานคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้สร้างเงื่อนไขคุณธรรมอันประกอบด้วยคุณธรรม
ด้านจิตใจและปัญญาความรู้ ดังจะเห็นได้จาก คาที่ว่า สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
2) คุณธรรมในงานวิจัยที่ว่านี้เป็นการเน้นความรู้คู่คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อโครงการวิจัย ไม่ว่า
จะเป็นวิธีคิดที่จะทางานร่วมกัน รวมตลอดถึงข้อมูลและงบประมาณ
3) ทีมวิจัยมีความรอบรู้ที่เหมาะสมที่จะนาพาโครงการวิจัยและจุดมุ่งหมายของงานให้บรรลุเป้าหมาย
ของท้องถิ่นได้
4) เงื่อนไขคุณธรรมยังเน้นที่การกระทา หรือแนวทางการดาเนินงานวิจัย โดยเน้นความอดทน ความ
เพียรพยายาม สติปัญญาและความรอบคอบ
3. กระบวนการประชาพิจัย
ประชาพิจัยเป็นกระบวนการวิจัยและพัฒนาของประชาชน มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่ม
ประชาชนที่เข้าร่วมกระบวนการประชาพิจัย เป็นกระบวนการวิจัยที่เกิดจากการสรุปประสบการณ์ของ
ชุมชนในชนบท จึงมีรากฐานมาจากสังคมเกษตรกรรม การนากระบวนประชาพิจัยไปใช้ในชุมชนเมือง
หรือสังคมอื่นแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของชุมชน
1.กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
หมายถึง การแสวงหาความรู้ของบุคคลในชุมชน ตั้งแต่การได้รับข้อมูล จนถึงการลงมือปฏิบัติจริงโดยมี
รากฐานอยู่ที่ชุมชน ท้องถิ่น วิถีชีวิต ซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีศักยภาพได้
2. ลักษณะการเรียนรู้ของชุมชน
~ 6 ~
ลักษณะที่สาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
1) มีลักษณะเป็นกระบวนการกลุ่ม ที่เรียนรู้ร่วมกันการเรียนรู้ของคนแต่ละคนเพื่อยกระดับ
สติปัญญา
2) เป็นการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง จากกระบวนการคิด-ทา ซึ่งเป็นการช่วยให้คนในกลุ่มได้
เรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหา
3) เป็นการเรียนรู้จากปัญหาในชีวิตจริง เพื่อพยายามแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน
ชุมชนให้ดีขึ้น
4) เป็นการเรียนรู้และทางานร่วมกันในลักษณะเป็นเครือข่าย ที่เป็นความสัมพันธ์ในแนวราบ ไม่มี
โครงสร้างอานาจบังคับบัญชา
องค์ประกอบของการเรียนรู้
การเรียนรู้ของชุมชน คือ กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดของชุมชน เป็นวิธีการที่ชุมชนเรียนรู้
แลกเปลี่ยนกันทั้งระหว่างสมาชิกในชุมชนและบุคคลภายนอกที่อาศัยสื่อและวิธีการหลากหลายชนิด การ
ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชน จึงจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและบทบาทของคน
หลายฝ่าย ซึ่งมีจุดอ่อน จุดแข็งและความสามารถที่แตกต่างกัน
เป้ าหมายและการเสริมสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ของชุมชน
เป้าหมายของนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ชุมชนจะต้องสร้างขึ้นมา เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ
วัฒนธรรมที่ให้คุณค่ากับการเรียนรู้และศักยภาพในการพัฒนา การสร้างนวัตกรรมใหม่นั้นก็สร้างจากสิ่ง
ที่มีอยู่ เพื่อให้สิ่งที่มีอยู่นั้นดีกว่าเดิม
กลไกการจัดการเรียนรู้ของชุมชน
กลไกการจัดการเรียนรู้ของชุมชน คือ สิ่งที่ทาให้การเรียนรู้ของชุมชนสาเร็จ หรือหลัก
กระบวนการเรียนรู้ หรือหลักการวิเคราะห์ต่างๆ เพื่อให้ได้รับความสาเร็จจากสิ่งต่อไปนี้
1. ความพร้อมของผู้เรียน ที่จะรับรู้สิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างจากเดิม
2. ความพร้อมของนักจัดการความรู้ หรือผู้ทาหน้าที่สอน
3. กระบวนการถ่ายทอดที่เหมาะสม
4. องค์ความรู้ที่ใช้ในการถ่ายทอดเหมาะกับสถานการณ์
การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของคนเป็นกุญแจสาคัญของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนใน
การสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากนี้การเรียนรู้ยังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึง “ความเป็นมนุษย์” ของมนุษย์
การเรียนรู้แบบใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนมนุษย์ให้เกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันในสังคม
~ 7 ~
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อนุพงษ์ วาวงศ์มูล (2542) ศึกษาเรื่อง “การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวชนบทในภาวะวิกฤติ
เศรษฐกิจตามแนวพระราชดาริใหม่ : ศึกษาเฉพะกรณีสานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท” ผลพบว่า การ
ส่งเสริมการใช้น้าตามทฤฏีใหม่สามารถทาให้ คุณภาพชีวิตชาวชนบทเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นทั้ง
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
อรสุดา เจริญรัถ (2543) ศึกษาเรื่อง “การเกิดขึ้นของการดารงอยู่และการปรับตัวของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย” ผลพบว่า
1. เศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นและดารงอยู่ภายใต้โครงสร้างสังคมประเพณี ด้วยเงื่อนไขร่วมกัน 2
ประการ คือ การมีวิถีการผลิตแบบยังชีพ และศักยภาพของชุมชนที่ยังคงรักษาอานาจ ในนการจัดการ
และดูแลทรัพยากรต่างๆ ของตนเองไว้ได้
2. การเปลี่ยนแปลงบริบทจากสังคมประเพณี มาสู่สังคมทันสมัย คือ การที่มีอิทธิพลภายนอก
เข้ามาแทรกแซง
วันฉัตร สุวรรณเกียรติ (2549) ศึกษาเรื่อง “โครงการติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผล
การแก้ไขปัญหาความยากจนของประเทศไทย ซึ่งเป็นงานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์วิจัยเศรษฐกิจประยุกต์
คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรกับสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติในช่วงปี พ.ศ. 2547” ผลพบว่า
1. ความยากจนในมิติรายได้เป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนสาหรับกลุ่ม
บุคคลทั่วไป
2. ความยากจนในมิติการศึกษาเป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนสาหรับกลุ่ม
เด็กและเยาวชน
3. ความยากจนในมิติการศึกษายังสมควรได้รับการแก้ไขปัญหาให้ดียิ่งขึ้นสาหรับกลุ่มสตรี
4. ความยากจนในมิติการศึกษาเป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนในกลุ่ม
ผู้สูงอายุ
5. ค่าดัชนีชี้วัดการแก้ไขปัญหาความยากจนจาแนกตามพื้นที่ พบว่า ความยากจนในมิติรายได้
เป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนต่อไป
วิธีการดาเนินการวิจัย
- ระยะที่ 1 การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจ
พอเพียง ใช้วิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research)
- ระยะที่ 2 การศึกษาชุมชนต้นแบบในการนาเอาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ใช้วิธีการวิจัยเอกสาร และศึกษาภาคสนาม (Filed Trip)
~ 8 ~
- ระยะที่ 3 การกาหนดแนวทางในการนาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการ
แก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่เป้าหมาย ใช้วิธีการประชุมระดมสมอง (Brainstorming)ซึ่ง
วิธีดาเนินการวิจัยดังกล่าว สามารถสรุปดังแผนภาพที่
ผลการวิจัย
โครงงานวิจัยนี้ทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน ในชุมชนต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ
โดยผลวิจัยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ตามวัตถุประสงค์ นั่นคือ
1.เพื่อสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวพระราชดาริเรื่อง
จากการที่ผู้จัดทาโครงงานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีข้อสรุปที่สาคัญ 2
ประการ คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความคิดหลักคือการดาเนินชีวิตในทางสายกลาง และมี
องค์ประกอบของคานิยามที่สาคัญ 3 ประการและสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1.ความ
พอประมาณ 2.ความมีเหตุผล(เป็นส่วนที่สร้างให้เกิดความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากรในสถานการณ์ที่
ปราศจากผลกระทบภายนอก) และ3.การมีภูมิคุ้มกันในตัว(เป็นส่วนที่เป็นองค์ประกอบที่เสริม
ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรให้พร้อมต่อการรองรับผลกระทบจากภายนอก) และมีเงื่อนไข 2
ประการคือ ความรู้และคุณธรรมเพื่อเป็นกรอบชี้นาทางปฏิบัติ
ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง คือการนาปรัชญามาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในการปฏิบัติ ซึ่ง
มีเงื่อนไขในการดารงอยู่ของชุมชนดังนี้ 1.ทุนทางสังคม คือการร่วมมือกันภายในชุมชนเพื่อแก้ไขและ
พัฒนาให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2.ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม คือ ที่ตั้งของชุมชนอยู่ในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ หรือยังสามารถฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร
เหล่านั้น รวมไปถึงการเข้าถึงหรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนอีกด้วย 3.
ทุนทางความรู้ สติปัญญาหรือเทคโนโลยี คือองค์ความรู้ที่เป็นทั้งภูมิปัญญา และองค์ความรู้เกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในชุมชนเองและจากการยอมรับภายนอก 4.
นโยบายหรือกระบวนการพัฒนาจากภายนอก คือ นโยบายจากภาครัฐและเอกชน ที่ได้ถูกนาไปใช้ใน
ชุมชนหรือท้องถิ่น โดยมีผลลกระทบโดยตรงต่อชุมชนนั้น
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับต่างๆ ได้แก่
~ 9 ~
1.ความพอเพียงในระดับบุคคลหรือครอบครัว คือการที่สมาชิกในครอบครัวสามารถใช้ชีวิต
พึ่งพาตนเองได้ โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่น อีกทั้งพอใจในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถ
ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆได้
2.ความพอเพียงในระดับชุมชน คือการที่บุคคลในชุมชนเกิดความพอเพียงระดับครอบครัว
เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว มารวมกลุ่มเพื่อทาประโยชน์ให้กับชุมชนที่ตนเองอยู่ โดยอาศัยความรู้ความสามารถ
มาช่วยเหลือแบ่งปันกัน
3.ความพอเพียงในระดับประเทศ คือการที่ชุมชนหลายๆชุมชนที่มีความพอเพียงเป็นพื้นฐาน
มารวมตัวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ อีกทั้งร่วมมือกันพัฒนาเพื่อสร้างเป็นเครือข่ายเชื่อม
โงระหว่างชุมชน จนเกิดเป็นสังคมแห่งความพอเพียง ก็จะทาให้สามารถวางนโยบายและกลยุทธ์ในการ
พัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไป
2. ผลการศึกษาชุมชนต้นแบบในการนาเอาแนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
ไปปฏิบัติ รวมทั้งสิ้น จานวน 38 ชุมชน โดยได้จากการสังเคราะห์เอกสารจานวน 32 ชุมชน และ
จากการลงศึกษาภาคสนามชุมชนต้นแบบในพื้นที่จริง จานวน 6 ชุมชน ซึ่งผลปรากฏดังต่อไปนี้
2.1โคกพยอม…. วิถีพึ่งพา ดิน น้า ป่า ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล
ชุมชนที่มีภูมิคุ้มกันทั้งในเรื่องการมีทรัพยากรที่สาคัญ นั่นคือ ป่าชายเลน การที่คนภายในชุมชนมีความ
เข้มแข็งในการรวมตัวกัน การร่วมไม้ ร่วมมือกัน ซึ่งจากเดิมประสบปัญหาป่าชายเลนหมด ซึ่งเท่ากับว่า
ภูมิคุ้มกันที่มีภายในชุมชนกาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย การร่วมมือกันของชาวบ้านภายในชุมชน ได้
มาร่วมคิด ร่วมทา เรียนรู้ปัญหากันและกันที่เกิดขึ้น เกิดการปรึกษาหารือกันในชุมชน จนสามารถเกิด
เป็นแนวคิดในการปลูกป่าทดแทนขึ้นมาได้ นอกจากจะเป็นทรัพยากรที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพ
แล้ว นั้นคือการที่ชุมชนมีปึกแผ่น สามัคคีกันนั่นเอง ทาให้ชุมชนโคกพยอม ใช้ภูมิคุ้มกันข้อนี้ผ่านปัญหา
มาได้
2.2 ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา
ชุมชนที่มีหลากหลายอาชีพและมากมายฐานความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านมีการพึ่งพากันอย่าง
ดี มีการสนับสนุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ภูมิคุ้มกันที่ดีที่ทางชุมชน บ้าน
ใหม่มี คือการมีป่า ที่ทุกคนภายในชุมชนช่วยกันดูแลรักษา มีการพึ่งพิงใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนได้
~ 10 ~
อย่างสมดุล การมีธนาคารแรงของชุมชน ซึ่งไม่ว่าจาทาการงานอะไรชาวบ้านก็จะมาช่วยกันเช่นเดียวกับ
การลงแขก เอาแรงกัน
2.3 ลุ่มแม่น้าเจ้าพระเยา พระยาบันลือ : ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระยาบันลือ
อาเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภูมิคุ้มกันที่ดีของชุมชนนี้ คือการมีสภาพพื้นที่ที่เหมาะแก่การทาเกษตร มีความสอดคล้องกับธรรมชาติ
มาก แต่จากปัญหาเดิมที่มีปัญหาทางการเกษตร ราคาตกต่า ประสบกับต้นทุนการผลิตสูง ชาวบ้านที่นี่
จึงดึงภูมิคุ้มกันที่ตัวเองมี มาใช้โดยเริ่มจากที่ชาวบ้านมีการรวมตัวกันอย่างดี จนสามารถแก้ปัญหาที่
เกิดขึ้นได้ โดยถึงแม้ระยะแรกอาจจะไม่ได้มีความรู้มากเพียงพอ แต่ก็ได้พยายามเรียนรู้และไปศึกษาดู
งานจนสามารถ นาความรู้มาใช้ภายในชุมชนได้ มีการล้มแล้วลุก
2.4 ชุมชนประดิษฐ์โทรการ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
ถึงแม้จะเป็นชุมชนที่อยู่ในตัวเมืองหลวง แต่คนในชุมชนกลับพยายามที่จะจัดการตนเอง ด้วยการ
ประกอบอาชีพงานหัตถศิลป์ เศรษฐกิจชุมชนตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอดี พอประมาณ ที่สามารถ
สะท้อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดีในฉบับของตนเอง ทั้งๆที่ความจริงชาวบ้านภายใน
ชุมชนมาจากต่างที่ต่างทางกัน แต่นั่นกลับไม่ใช่ปัญหาเลยที่คนที่นี่จะสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ภายในชุมชน
ให้ยึดเหนี่ยวกันจนเป็นปึกแผ่น ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันทากิจกรรมร่วมกันในวันสาคัญต่างๆ การ
รวมกลุ่มทางอาชีพ ปัจจุบันทางชุมชนยึดหลักความพอเพียง คือ พอกิน พออยู่ พอซื้อได้มาจาก
น้าพักน้าแรง สุจริตไม่เบียดเบียนใคร
2.5 ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
ภูมิคุ้มกันที่ดีของพื้นที่นี้คือเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูกผัก และผลไม้เป็นอย่างดี แต่กลับไม่ใช้
สิ่งที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์มากนัก โดยการทาเกษตรที่นี่มีการใช้สารเคมีเป็นอย่างมาก ทาให้สุขภาพของ
คนในชุมชนถดถอย สภาพแวดล้อมย่าแย่ แต่ต่อมาได้มีการตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้มีการระดม
แนวคิดและจัดการภายใน โดยได้มีการแบ่งงานกันไปตามความถนัดและสภาพพื้นที่ มีการปรับเปลี่ยน
และปรับตัวเข้าสู่เกษตรแบบปลอดสาร ซึ่งปัจจุบันสมาชิกภายในกลุ่มมีการทาเกษตรอยู่ 3 รูปแบบ
ด้วยกัน คือ สวนที่ลดการใช้สารเคมี ส่วนที่เลิกใช้สารเคมี และเมื่อสามารถปรับตัวได้ก็จะนาไปสู่วิถีการ
พึ่งพิงของพืชว่า “สวนเกษตรที่มีความหลากหลายของพืช” คือปล่อยให้ธรรมชาติดูแลกันเอง
2.6 “ปูม้า” อาชีพยั่งยืนของคนบ้านติงไหร ตาบลเกาะศรีบอยา อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
ชุมชนบ้านติงไหร จังหวัดกระบี่ ที่ยึดอาชีพการเลี้ยงปูม้า โดยในตอนแรกได้ประสบสาคัญคือปัญหา
ทรัพยากรที่กาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย ชาวบ้านก็ได้ดึงภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ คือการเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
~ 11 ~
มาร่วมมือประชุมกัน จนได้ข้อสรุปสุดท้ายว่า อาชีพที่เหมาะสมกับคนในชุมชนคือ การเลี้ยงปูม้า
เนื่องจากแต่เดิมที่นี่มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติมาก ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันปลูกป่า และฟื้นฟูป่าอีก
ครั้ง จนธรรมชาติกลับมาดีเหมือนเดิม ภูมิคุ้มกันที่เด่นของชุมชนนี้คือ ความสามัคคีความเป็นหนึ่ง
เดียวกันของคนภายในชุมชน เวลาทางานจะร่วมมือกันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย จริงจังและเสียสละ
นั่นเอง สิ่งนี้ ที่ทาให้ชุมชนบ้านติงไหรผ่านปัญหามาได้ และสามารถเป็นชุมชนที่เข้มแข็งได้จนถึงปัจจุบัน
นั่นเอง
2.7 “ข้าวหอม” วิถีเลี้ยงชีพใหม่ ชาวนาป่าภูเขียว อาเภอเกษตรสมบูรณ์ คอนสาน และ อาเภอ
หนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ
บริเวณรอบเชิงเขาภูเขียว อาเภอเกษตรสมบูรณ์ คอนสานและอาเภอหนองบัวแดง
จังหวัดชัยภูมิ มีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 308,630 ไร่ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานา แต่
ผลผลิตข้าวที่ได้ในแต่ละปีลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีคุณภาพต่า ขณะที่ต้นทุนการผลิตต้องมีค่าใช้จ่าย
จากการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น รายได้จากการจาหน่ายข้าวจึงลดน้อยลงไปอีก ทาให้ชาวบ้านส่วนหนึ่ง
ยังคงเข้าป่าไปทาลายทรัพยากรธรรมชาติในเขตอนุรักษ์เพื่อหาเลี้ยงชีพ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ทาให้เกิดความแห้งแล้งในพื้นที่เกษตรกรรมโดยรอบ จากปัญหาดังกล่าวทาให้ชาวบ้านชาวนาป่าภูเขียว
จึงเริ่มตระหนักและแสวงหาทางเลือกใหม่เพื่อพลิกฟื้นผืนดิน พร้อมใจกันระดมสมองเพื่อหา
แนวทางเพิ่มผลผลิตและเกิดการเรียนรู้ว่า การปลูกข้าวควรสอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ ร่วมดูแล
บารุงรักษาผืนดิน ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ชาวนาป่าภูเขียว ยังได้เรียนรู้วิธีสร้างเมล็ดพันธุ์คุณภาพ อีกทั้ง
ยังใส่ใจด้วยการไม่ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวเก่ามาปลูกซ้า ไม่มีวัชพืชปน สะอาดและปราศจากแมลง ด้วยการ
ปรับเปลี่ยนวิถีผลิตเดิมและสนใจในรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ทาให้ชาวนาป่าภูเขียวได้เมล็ดพันธุ์ข้าวมี
คุณภาพ ทนต่อโรค ตรงตามมาตรฐานพันธุ์ข้าวที่ดีของกรมการข้าว
2.8 สถาบันการเงินเพื่อสวัสดิการ : นวัตกรรมชุมชนพึ่งตนเอง ตาบลน้าขาว อาเภอจะนะ
จังหวัดสงขลา
ตาบลน้าขาว จังหวัดสงขลา จะมีการออมเงินกันในกลุ่มสมาชิก ด้วยความสมัครใจ
โดยกลุ่มสัจจะลดรายจ่ายวันละ ๑ บาท โดยมีแนวคิดมาจาก “เจ็ดร่วม” ในการดาเนินการ
คือ ร่วมคิด ร่วมตัดสิน ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติตามแผน ร่วมแก้ปัญหา ร่วมรับผลประโยชน์ ร่วม
ประเมินและขยายผล และมี 6 ขั้นตอนในการพัฒนาคือ ขั้นจุดประกาย ขั้นให้ความรู้ ขั้นรับสมาชิก
ขั้นติดตามผล ขั้นจ่ายสวัสดิการ และขั้นประเมินผลและขยายผล ที่จังหวัดสงขลาการเรียนรู้แค่ขั้น
จุดประกายและขั้นให้ความรู้ก็สามารถตั้งกลุ่มได้ ปัจจุบันขยายครอบคลุมทั้งจังหวัด 66 กลุ่ม
สมาชิกเกือบ 5 หมื่นคน เงินกองทุนกว่า 16 ล้านบาท การจัดสวัสดิการ 9 เรื่องนั้น มีผู้ใช้ประโยชน์
จริงแล้วทุกกรณี ส่งผลให้จานวนสมาชิกและเงินกองทุนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อีกทั้งการได้มาพบเจอกันของ
ชาวบ้านสมาชิกด้วย
~ 12 ~
2.9 แพทย์พื้นบ้านล้านนา : หลักประกันสุขภาพในวิถีพอเพียง
การดาเนินชีวิตของคนล้านนาสมัยก่อนจึงเน้นไปในเรื่องของการสร้าง “สมดุล” ของร่างกายและจิตใจ...
เป็นการรักษา “คน" มากกว่าการมุ่งรักษา “โรค”แต่เมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือ หากต้องบาบัดรักษา ก็
มักจะใช้หลัก “สร้างเสริมสิ่งที่ขาด”กาจัดส่วนที่เกิน ล้างสิ่งที่เป็นพิษ เพื่อให้เกิดความสมดุลขึ้นในร่างกาย
ซึ่งอาจจะใช้อาหาร สมุนไพรหรือพิธีกรรมเข้ามาแก้ไขขจัดปัดเป่า ซึ่งเหล่านี้ถือเป็นภูมิคุ้มกันที่ดี แต่
ต่อมาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเริ่มเข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้น การแพทย์สมัยใหม่มี
ประสิทธิภาพสูง สามารถรักษาโรคได้อย่างรวดเร็ว แนวทางการรักษา สุขภาพแบบองค์รวมที่เห็นผลช้า
จึงถูกละเลยไป สาหรับหมอเมือง การอยู่ในสถานะที่กฎหมายไม่รับรองมิได้ส่งผลกระทบเฉพาะ “ตัว
หมอ” เท่านั้น หากยังส่งผลกระทบไปถึง “ภูมิปัญญา” หรือ “องค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้าน” ในการ
ดูแลและรักษาผู้ป่วย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษมาหลายยุคสมัย
2.10 ภูมิคุ้มกันจัดการป่าชุมชน สร้างความพอเพียง สู่ประชาคมอุทัยฯ
แม้การอนุรักษ์ป่าจังหวัดอุทัยธานีจะเริ่มต้นจากความต้องการใช้ประโยชน์จากป่าก็จริง
แต่วันนี้ภาพความเคลื่อนไหวของชุมชนที่พยายามพลิกฟื้นผืนป่าให้กลับมาเป็นแหล่งอาหารของ
ชุมชน ทั้งด้านสภาพแวดล้อมและสภาพเศรษฐกิจที่ดีของชุมชน ได้มีกลไกในการขับเคลื่อนงาน
อนุรักษ์จากหลายภาคส่วน ชุมชนมีการป้องกันไฟป่า และปลูกป่าเสริม นายกองค์การบริหารส่วนตาบล
สนับสนุนงบประมาณ และกาลังคนในการดูแลรักษาป่า โรงเรียนวัดเขาหินเทิน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้
และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าชุมชน เชิญชวนครู นักเรียนมาร่วมปลูกป่า และทาแนวกันไฟ มี
กิจกรรมค่ายเรียนรู้ธรรมชาติ และระบบนิเวศเพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้กับเยาวชนในการดูแลรักษาป่า
2.11 “กุดเป่ง” ป่าทามชุมชน ป่าเพื่อการ “เฮ็ดอยู่-เฮ็ดกิน” ของชุมชนยางคา ตาบล
ยางคา อาเภอโพนทาย จังหวัดร้อยเอ็ด
“แต่ก่อนบ้านเมืองยังบ่เจริญ ถนนหนทางบ่มี ชาวบ้านก็เฮ็ดอยู่ เฮ็ดกิน กับทามกันทั้งหมด หลักๆ คือ ใช้
เลี้ยงวัว เลี้ยงควาย และหาอาหาร เพราะมันมี ทั้งผัก เห็ด หน่อไม้ ปลา ไข่มดแต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป
ผู้คนมีมากขึ้น วิถีการทามาหากินในป่าทามจึงเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ป่าที่เคยเป็นของ “ส่วนรวม” ก็
เริ่มถูกบุกเบิกจับจองเป็นที่นา และไร่ปอ ต่อมากลุ่มผู้นา แกนนาชุมชน และชาวบ้าน ได้เริ่มจากการ
สารวจพื้นที่และกันแนวเขตป่าทาม 3,000 ไร่ ให้ชัดเจน และจัดแบ่งพื้นที่เพื่อการใช้ประโยชน์เป็น 2
ส่วนนเขตพื้นที่ทากินและใช้สอยของชาวบ้าน และสาหรับชุมชนการมีฐานทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้า
ป่า เป็นที่พึ่งพาหากิน สร้างรายได้ย่อมหมายถึงความมั่นคงในการดารงชีวิตในระดับหนึ่ง ความตระหนัก
รู้ในคุณค่าทรัพยากร
~ 13 ~
2.12 ป่าอยู่คนอยู่ : ภูมิคุ้มกันบ้านละหอกกระสัง ตาบลประโคนชัย อาเภอประโคนชัย
จังหวัดบุรีรัมย์
ย้อนไปเมื่อ 30 ปีก่อน “ป่าเขาคอก” ต.เขาคอก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ เคยเป็นป่า สงวนแห่งชาติ ที่มี
ความอุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้นานาชนิด มีสัตว์ป่ามากมาย เวลาให้หลังได้ไม่นาน มีการบุกรุกทาลายป่า
อย่างหนัก จากนั้นชาวบ้านได้ตระหนักและเมื่อกลุ่มอนุรักษ์ฯ (ชาวบ้าน) ได้เรียนรู้กระบวนการมีส่วน
ร่วม มีการทาโครงการ“โครงการสร้างป่าในบ้าน” เป็นการยืนยันเจตนาของชุมชนที่จะอยู่ร่วมกับป่าอย่าง
พอดี สร้างทางเลือกที่จะใช้ทรัพยากรป่าไม้เท่าที่จาเป็นโดยทาแปลงปลูกผักพื้นบ้านในรั้วบ้าน ลดการ
บุกรุกป่าและ ช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไปพร้อมๆกัน
2.13 วิถีความพอเพียง ของชุมชนในพื้นที่ป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง ตาบลเนินขาม กิ่ง
อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท
พื้นที่บริเวณบ้านเขาราวเทียนทองในอดีตมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ มีป่าไม้หนาแน่น
และไม้ขนาดใหญ่จานวนมาก ต่อมามีชาวบ้านทั้งจากในพื้นที่และต่างถิ่นอพยพมาตั้งถิ่นฐานและ
จับจองที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและที่ทากิน มีการแผ้วถางป่าเพื่อบุกเบิกที่ดินทาการเกษตร ตัดไม้เผา
ฟืนทาถ่านขาย ทาให้พื้นที่ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว จากความร่วมแรง ร่วมใจ ในการดาเนินงานดูแลรักษา
ป่าชุมชนร่วมกัน ทาให้ป่าแห่งนีได้มีการสร้างข้อตกลงในการดูแลและใช้ประโยชน์ร่วมกัน
2.14 วิถีพอเพียงคนสองฝั่งแม่น้านครนายก
เมื่อครั้งอดีตแม่น้านครนายก เป็นหัวใจสาคัญต่อการดารงอยู่ของชุมชนริมฝั่งแม่น้า
เพราะมีความอุดมสมบูรณ์มาก เนื่องจากมีป่าต้นน้าในป่าดงพญาเย็นกักเก็บน้าทาให้มีน้าตลอดทั้งปี
ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ได้ใช้น้าในการทามาหากิน มีอาหารธรรมชาติ ทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา
ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 มีโรงงานผลิตสารฟอกสีมาตั้งริมแม่น้านครนายก และปล่อยน้า
เสียลงในแม่น้า ทาให้แม่น้าเน่าเสียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา จากเหตุการณ์ดังกล่าวชาวบ้านที่
ได้รับผลกระทบจึงรวมตัวกันเรียกร้องรณรงค์ให้ชาวบ้านเห็นความสาคัญของสายน้า รวมทั้งให้ตระหนัก
ในปัญหาที่เกิดขึ้นการดาเนินงานของ “ชมรมคนรักษ์ลุ่มน้านครนายก” มีกิจกรรมที่ร่วมกันทาหลายอย่าง
ด้วยกัน ได้แก่ การทางานรณรงค์สร้างจิตสานึกกับชุมชนที่อยู่ริมแม่น้า เช่น การทาเรือรณรงค์ ซึ่ง
เป็นเรือโบราณนั่งได้ 15 คน
2.15 วิถีพอเพียง : บทเรียนจากบ้านสามขา ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง
ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง ชุมชนเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ท่ามกลางหุบเขาและห่างไกลจากความ
เจริญ ที่แต่เดิมชาวบ้านพึ่งพิงป่า และพึ่งพาซึ่งกันและกันระบบการผลิตล้วนเอื้อต่อการดารง
ชีวิตประจาวัน ปลูกข้าว ปลูกผักเพื่อกิน หาปลาในหนองน้าหลังหมู่บ้าน หาเห็ด หาหน่อไม้จากป่า
ต่อเมื่อ “ถนน” สัญลักษณ์ของความเจริญตัดผ่าน ความสงบ เรียบง่ายเริ่มเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะใน
สภาวะที่ชุมชนไร้ซึ่งภูมิต้านทานทางสังคม ท้ายสุดชุมชนที่เคยพึ่งพาตนเองก็ตกเป็นเหยื่อแห่งการไหล
~ 14 ~
บ่าของสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นเหยื่อของการตลาดในระบบทุนนิยม เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิถีการ
ดาเนินชีวิต “ใหม่” แม้การเปลี่ยนแปลงในเบื้องแรก จะก่อให้เกิผลกระทบอย่างใหญ่หลวง แต่ท้ายที่สุด
ชาวบ้านก็ “พลิกกลับ” ได้อย่างทันท่วงที และการพลิกกลับจากวิถีที่ “ไม่พอเพียง” มาสู่การดารงชีวิต
ตามอัตภาพของคนสามขาก็น่า น่าจะตอบคาถามได้ว่า “แนวทางแห่งความพอเพียง” ไม่ยากที่ใคร หรือ
ชุมชนใดจะนาไปปฏิบัติขอเพียงแค่ทาความรู้จักกับตัวเองเพราะการ “รู้จักตัวเอง” เสมือนภูมิคุ้มกันชนิด
หนึ่งที่จะทาให้วิ่ง หรือไม่วิ่งไปตามกระแสบริโภคกระทั่งทาให้ตัวเองเกิดความยากลาบาก นี่คือคายืนยัน
ของคนสามขา
2.16 ชุมชนนักปฏิบัติ...กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
ในช่วงเวลาที่ผ่านมาการพัฒนาประเทศไทย โดยพยายามเปลี่ยนจากรากฐานของประเทศเกษตรกรรม
มาเป็นประเทศอุตสาหกรรม โดยขาดความพร้อมทั้งด้านความรู้และภูมิปัญญาในด้านอุตสาหกรรม ทา
ให้สังคมไทยไม่พร้อมที่จะรองรับความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่างๆ ภายในประเทศ ทาให้
เกิดผลเสียหายในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดหลักด้านสิ่งแวดล้อม
1. ทุนทรัพยากร การใช้ทุนทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ในลักษณะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่โลภ ไม่ใช้
เกินขีดความสามารถของธรรมชาติที่จะรองรับ
2. ทุนมนุษย์ และภูมิปัญญา เป็นทุนที่มีความสาคัญที่สุด เพราะมนุษย์มีบทบาทในการเป็นทั้งผู้สร้าง
และผู้ทาลาย หากพื้นฐานทางด้านจิตใจขาดซึ่งภูมิคุ้มกันที่เป็นไปในทางที่ดี
3. ทุนการเงิน วิธีการจัดการเงิน ซึ่งประกอบด้วย ภาระหนี้ , การทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย, ลดต้นทุน
และมูลค่าเพิ่ม เป็นความพอเพียงในระดับที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดาเนินชีวิตโดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คือไม่เป็นหนี้ และการทาบัญชีรายรับรายจ่าย
4. ทุนทางสังคม การพึ่งตนเอง ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่มีการพิจารณาในหลักของการมีเหตุผล
ความ
พอประมาณ รู้จักการพึ่งพาตนเอง คือการตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ที่มีความสาคัญให้ดารงอยู่กับสังคมมนุษย์ในอนาคต
5. ทุนทางการเมือง การมีส่วนร่วม / แนวร่วมการมีประชาสังคมเกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มในสังคม
ชุมชนที่มีความพอเพียง มาร่วมกันเพื่อแก้ไขและดูแลสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมที่มุ่งเน้นการพึ่งตนเอง แบบพออยู่พอกิน เหลือจึงขาย ทั้งจากการทาพืชผักสวนครัว รั้วกินได้
แบบปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพใช้เอง เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ฯลฯ ล้วนเป็นภาพ
สะท้อนของครัวเรือนที่ชี้ให้เห็นถึงการพึ่งพาตนเองของชุมชน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนใน
ระดับชุมชน มีกิจกรรมหลากหลายที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุ้มกันในวิถีชีวิตให้กับชุมชน
~ 15 ~
2.17 กปิเยาะห์ และผ้าคลุมผม ...อาชีพบนฐานวัฒนธรรม ตาบลกะมิยอ อาเภอเมือง
จังหวัดปัตตานี
ตาบลกะมิยอ อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิต “กปิเยาะห์” แหล่งใหญ่ที่สุดในจังหวัด
มีจานวนผู้ผลิตกปิเยาะห์มากถึง 78 กลุ่ม แต่ด้วยต่างคนต่างผลิต ต่างคนต่างขายทาให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้
มาตรฐานเท่าที่ควร ส่งผลให้ราคาของกะปิเยาะห์ต่าลงเรื่อยๆ จากนั้นเมื่อรู้ถึง “เหตุแห่งปัญหา” ที่
ชัดเจนการแก้ไขจึงทาได้ “ตรงจุด” จุดอ่อนต่างๆ ค่อยๆได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้เป็นจุดแข็งเริ่มการ
จัดทาฐานข้อมูลการผลิตกปิเยาะห์ในตาบลทั้งหมด ศึกษารูปแบบ ระบบตลาดและเส้นทางการค้าของกปิ
เยาะห์ทั้งในและต่างประเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่องและนาไปสู่ การจัดตั้งกลุ่ม
ผู้ผลิตกปิเยาะห์และเครื่องแต่งกายมุสลิมจังหวัดปัตตานี ขึ้นในปี พ.ศ. 2547 โดยยึดแนวทางตาม
หลักการของกลุ่มออมทรัพย์ เงินทุนที่ได้จากการระดมหุ้นจากสมาชิกทั้งภายในและภายนอก ถูก
นามาใช้เพื่อประโยชน์ใน 2 ส่วน คือ ส่วนหนึ่ง เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการจัดซื้อวัสดุในการผลิตมา
จาหน่ายให้สมาชิกในราคาต่ากว่าท้องตลาด ทาให้มีความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคงในรายได้ ความ
ภาคภูมิใจ และความมั่นใจในภูมิรู้ ภูมิปัญญาของตัวเอง ประกอบกับกระบวนการร่วมคิด ร่วมทา ของ
ชุมชนนั้นจะเป็น
ภูมคุ้มกัน ให้ชุมชนสามารถเลือกรับ หรือเลือกจัดการกับสถานการณ์ปัญหาที่เข้ามาปะทะกับชุมชน
ในอนาคตได้อย่างเหมาะสมต่อไป
2.18 กลุ่มสัจจะธรรมชีวิตศรีลาภรณ์ ตาบลศรีเตี้ย อาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลาพูน
ชุมชนบ้านศรีลาภรณ์ หมู่ที่ 7 ตาบลศรีเตี้ย อาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลาพูน มีหลักยึด
เหนี่ยวที่มั่นคง สร้างพลังในชุมชนร่วมกันแก้ปัญหาชุมชนบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ใน
รูปแบบ กลุ่มสัจจะธรรมชีวิตศรีลาภรณ์ จังหวัดลาพูน ใช้ระยะเวลารวมกลุ่มกันเพียง 3 – 4 ปี ก็
สามารถขับเคลื่อนการทางานและกิจกรรมที่หลากหลาย จนเป็นที่ยอมรับของชุมชนอื่นๆ มีการ
พัฒนาอาชีพ มีเงินออม มีรายได้ มีสวัสดิการต่างๆ แก่ชุมชน ด้วยกิจกรรมที่มุ่งเน้นการพึ่งตนเอง แบบ
พออยู่พอกิน เหลือจึงขาย ทั้งจากการทาพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ แบบปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยชีวภาพใช้เอง เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ฯลฯ ล้วนเป็นภาพสะท้อนของครัวเรือนที่ชี้ให้เห็นถึงการ
พึ่งพาตนเองของชุมชน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.19 พอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน บนวิถีชีวิตบ้านทาป่าเปา ตาบลปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัด
ลาพูน
“บ้านเทาป่าเปา”ตั้งอยู่บนเนินเขา หมู่ที่ 6 ตาบลปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน มี
ประชากร 819 คน 205 ครัวเรือน ในอดีตชุมชนมีอาชีพทานาเป็นหลัก ไม่มีการใช้สารเคมีในการฉีดพ่น
เพื่อฆ่าแมลง มีการดารงชีวิตแบบสงบเรียบง่าย มีความสมานสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ทาให้คนใน
~ 16 ~
ชุมชนแข็งแรงมีชีวิตที่ยืนยาว เมื่อว่างจากฤดูกาลทานาแล้วจะปลูกพืชผักไว้กินและหาของป่าเป็นอาหาร
เช่น ไข่มดแดง ผักหวาน ผักพ่อค้าตีเมีย หน่อไม้ และเห็ดต่างๆ การหาของป่าของคนในหมู่บ้านมี
ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตเป็นอย่างยิ่ง ชาวบ้านสามารถหาของป่าเพื่อบริโภคในครัวเรือน และนา
ออกจาหน่ายในแต่ละช่วงฤดูมีของป่าหมุนเวียนกันตลอดทั้งปี
ทางชุมชนจึงมีแนวคิดการอนุรักษ์ป่าขึ้น โดยใช้วิธีพูดคุยกันในกลุ่มกิจกรรม ทุกๆวันพระจะเป็น
วันที่ชาวบ้านทากิจกรรมร่วมกัน ทั้งมีการจัดชุดลาดตระเวนออกตรวจเมื่อมีการบุกรุกป่า ฝึกอบรม
ราษฎรอาสาพิทักษ์ป่า แม้ว่าการทากิจกรรมจะพบเจอปัญหาอุปสรรคมาโดนตลอดทว่าชุมชนมีความ
สมัครสมานสามัคคีและได้ยึดเอาพระบรมราโชวาทของพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหลักยึดว่า
“ถ้าจะทางานอย่าหยิบยกเอาความคลาดแคลนมาเป็นข้ออ้าง จงทางานท่ามกลางความขาดแคลนด้วย
ความถูกต้องและซื่อสัตย์” ทางชุมชนจึงมีความมานะที่จะดาเนินกิจกรรมต่างๆต่อไป ในปัจจุบันบ้านทา
ป่าเปามีเศรฐกิจที่ดี มีความเขียวขจีของป่า ซึ่งเป็นสิ่งนาพาให้คนในหมู่บ้านเป็นสุขทุกวันนี้ เหนือสิ่งอื่น
ใด ชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว ชุมชน และสังคม อยู่อย่าง
พอเหมาะ พอประมาณ ในวิถีของ “บ้านทาป่าเปา” สืบไป
2.20 ชุมชนพึ่งตนเองบ้านศรีจุฬา เรียนรู้จากสัจธรรมนาสู่ชีวิตที่พอเพียง อาเภอเมือง จังหวัด
นครนายก
ชุมชนบ้านศรีจุฬา อ.เมือง จ.นครนายก เป็นหมู่บ้านที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ดารงชีวิตอยู่ในวิถี
เกษตร ปลูกผัก ปลูกข้าวและเลี้ยงปลาส่วนใหญ่ ความพออยู่ พอกิน พอมีให้เห็นบ้างแต่นับวันจะเลือน
รางลงทุกที ซ้าร้ายในอดีตก็เกิดความแตกแยกขึ้นในชุมชน เพราะปัญหาทางการเมืองกระทั่ง พ.ศ.2538
คณะกรรมการหมู่บ้านได้จัดตั้ง “ประชาคมหมู่บ้าน” ขึ้น ด้วยตระหนักว่าการพัฒนาที่ดีและมีส่วนร่วม
จะต้องเริ่มจากการทาประชาคมหมู่บ้าน จึงยึดปฏิบัติกันตั้งแต่นั้นมา และที่โดดเด่นกว่าที่อื่นคือการทา
ประชาคมหมู่บ้านศรีจุฬาไม่เพียงเชิญตัวแทนเท่านั้นแต่จะเชิญทุกครัวเรือนเข้าร่วมประชุมกันทุกๆวันที่
8 ของทุกเดือนหลัง 6 โมงเย็นเพราะชาวบ้านเริ่มกลับจากไร่นา ผู้ใหญ่บ้านชวนกันทากับข้าวกินร่วมกัน
ความสัมพันธ์ที่เคยบอบบางก็เริ่มแน่นแฟ้น ชาวบ้านหันหน้าเข้าหากันมากขึ้น ฟังกันมากขึ้น จากการ
ประชาคมนี้เองทาให้ชาวบ้านริเริ่มการทาบัญชีครัวเรือน เกิดโรสีชุมชน อีกทั้งยังเกิดผลิตภัณฑ์ต่อยอด
ความรู้ต่างๆอีกมากมาย ชาวบ้านได้เรียนรู้ “สัจธรรมชีวิต” จากโครงการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ
ชีวิตของเกษตร ทาให้ชาวบ้านเกิดสติในการดารงชีวิตและพัฒนาอาชีพ แม้ชาวบ้านจะประเมินตนเองว่า
พวกเขาอาจไม่ใช่ชุมชนที่เข้มแข็ง แต่ก็มั่นใจว่าสามารถพึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่งและยังมีโอกาสที่จะ
พัฒนาขึ้นไปสู่การพึ่งตนเองได้อย่างแท้จริงในที่สุด
~ 17 ~
2.21 หลุดพ้นกระแส ปรับเปลี่ยนชีวิต สู่ความพอเพียง บ้านมณฑล ตาบลเทพนิมิต
อาเภอเขาสมิง จังหวัดตราด
นายประเสริฐ ด้วยวงศ์ บ้านมณฑล หมู่ที่ 6 ต.เทพนิมิต อ.เขาสมิง จ.ตราด ประสบปัญหากับ
ความล้มเหลวในการประกอบอาชีพครั้งแล้วครั้งเล่า และเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆตามกระแส โดยมิได้ศึกษาข้อมูล
ในสิ่งที่จะทาอย่างรอบคอบ กับการตัดสินใจโดยไม่ดูความพร้อมของตนเองจึงทาให้กานันเกิดปัญหา
หนี้สิน จึงหาวิธีการปรับตัว โดยเริ่มต้นที่ครอบครัวของเราก่อน ปฏิบัติจนเห้นเป็นรูปธรรม จึงค่อย
ชักชวนให้ลูกบ้านทดลองปฏิบัติ เป้นสิ่งที่กานันตั้งใจไว้ ตารับตาราที่เคยไปร่วมอบรมโครงการทฤษฎี
ใหม่ และความรู้การทาบัญชีรับ-จ่าย.ในครัวเรือนที่ได้ติดมือกลับมา กานันเริ่มนาแนวทางเศรฐกิจ
พอเพียงมาปฏิบัติโดยมีหลักคิดที่ว่าหากนาแนวคิด หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในครอบครัวแล้ว
อย่างน้อยก็จะช่วยทาให้เราสามารถลดรายจ่ายลงบ้าง อีกทั้งยังเป็นผลดีด้วยเพราะมีรายได้จากการนา
ผลผลิตในครัวเรือนไปขายทุกวัน
กิจกรรมที่ได้ทาคือ ทาบัญชีรับ-จ่ายของครอบครัว จัดลาดับความสาคัญ ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น
หรือจาเป็น กิจกรรมต่อมาคือ ปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง ซึ่งแต่ก่อนไม่ได้ปลูกพืชผักสวนครัวอะไรเลย
ทุกครั้งที่ทาอาหารต้องซื้อจากตลาดทั้งสิ้น จากนั้นก็ได้มีการเผยแพร่หลักในการดาเนินชีวิตให้กับ
ชาวบ้านในหมู่บ้าน คนในชุมชนรู้จักพึ่งตนเองมากขึ้น มีร้านค้าชุมชน
นายประเสริฐ ด้วยวงศ์ ใช้สามารถในการพลิกผันชีวิตครอบครอบครัวให้กลับมาฟื้นใหม่อีกครั้ง
โดยใช้สติและใช้ปัญญาส่องนาทางชีวิตใหม่ถึงแม้ว่าจะเป็นทางเดิมที่เคยเดินมาก่อนแล้วในอดีตก็ตาม
การมีคุณธรรม ซื่อสัตย์ อดทน ขยันหมั่นเพียร ไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบากและที่สาคัญคือความมั่นใจ
ในแนวทางเศรษฐกิจ
2.22 ต้นแบบวิถีชีวิตพอเพียง …มรดกล้าค่าของชุมชน บ้านหัวเมือง ตาบลหัวเมือง อาเภอ
มหาชัยชนะ จังหวัดยโสธร
คุณตาเกษม บุญประสิทธ์ อดีตผู้ใหญ่บ้านหัวเมือง ตาบลหัวเมือง อาเภอมหาชัยชนะ จังหวัด
ยโสธร ที่ปัจจุบันนี้เกษียณอายุจากการเป็นผู้ใหญ่บ้านแล้วมาอยู่ในฐานะเกษตรกรเต็มตัว สอนชาวบ้าน
ให้รู้จักคุณค่าของต้นสบู่ดา สอนลูกหลานให้ใช้ชีวิตตั้งอยู่บนความไม่ประมาทนั้นจะทาให้ชีวิตรอด
ปลอดภัย
ชีวิตอย่างที่คุณตาเกษมและครอบครัวเป็นอยู่คือ การอยู่อย่างพอเพียง ผสมผสานกัน อย่างลงตัวกับการ
มีชีวิตอยู่อย่างมีเหตุมีผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว ถึงเวลานี้แล้วคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าสิ่ง
~ 18 ~
ต่างๆ เหล่านี้คือ ความปรารถนาของทุกคนและทุกชุมชน แม้จะมีไม่ได้เหมือนคุณตาเกษม ก็คงจะช่วย
ให้ครอบครัวเป็นสุขและชุมชนเข้มแข็งได้อย่างแน่นอน
2.23 ผสมผสาน..ผ่านไอดิน..ลดต้นทุนทากิน..สู่ชีวิตพอเพียง บ้านดอยจัน ตาบลโยนก อาเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย
นายสมาน กาลังประสิทธิ์อายุ 60 ปี เป็นคนเชียงรายโดยกาเนิด ได้ลาออกจากราชการมาเป็น
เกษตรกรอย่างเต็มตัวด้วยการผสมผสานปลูกทุกอย่างที่กินได้ รวมถึงการเลี้ยงปลา ไก่ไข่และไก่
พื้นเมือง สามารถลดรายจ่ายในครอบครัวได้มาก ส่วนที่เหลือ ก็นาไปขายเป็นรายได้ของครัวเรือนลุง
สมานดาเนินชีวิตด้วยเกษตรรอบคอบ และศึกษาหาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมอยู่เสมอทั้งจากเอกสารผู้รู้
เพื่อนร่วมงาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชาวบ้าน ด้วยกันตามงานต่างๆในชุมชน
ลุงสมานกินและใช้ประโยชน์จากทุกสิ่งที่ทาเอง ตั้งแต่พืชผัก ผลไม้ ข้าว หรือแม้แต่วัชพืชก็นาไปทาเป็น
ปุ๋ยชีวภาพ สาหรับรากไม้กิ่งก้านที่หักโค่น หรือไม้ผลที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้วก็นามาเผาเป็นถ่านไว้ใช้ใน
ครัวเรือน ซึ่งผลผลิตทุกอย่างที่เกิดจากน้าพักน้าแรงของคุณลุงไม่เพียงแต่ได้รับประโยชน์เฉพาะใน
ครัวเรือนของตนเท่านั้น ยังเผื่อแผ่ไปถึงญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านใกล้เคียง
2.24 จ่ายต้องจด อดเพื่อออม..บัญชีครัวเรือนของจริงพิสูจน์ชีวิต บ้านนาโพธิ์ ตาบลในเมือง
อาเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
นายคาผง คาจ่าง บ้านนาโพธิ์ตาบลในเมือง อาเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น
“ตื่นเช้าได้งานหลาย ตื่นสายได้งานน้อย ขี้เกียจเป็นแมลงวันขยันเป็นผึ้ง พักอาศัยอยู่ไร่สวน หมั่นขุด
พรวนไม่อดกิน ปลูกพืชผักคู่แผ่นดิน สร้างทรัพย์สินให้เป็นทอง”
นี่คือข้อคิดแห่งความสาเร็จในการดาเนินชีวิตของนายคาผง คาจ่าง
ด้วยการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้รายได้ครอบครัวดีขึ้นสามารถที่จะผ่อนชาระ
หนี้ ธกส.ได้ ส่วนหนึ่งเกิดจาก การทาบัญชีรับจ่ายของตนเอง ทาให้รู้ได้ว่าปีหนึ่งๆมีรายได้เป็นอย่างไร
สามารถที่จะวางแผนการใช้จ่ายในครอบครัวได้ถูกต้อง และสิ่งที่นายคาผง สร้างความเชื่อมั่นให้คนอื่นๆ
ในชุมชน คือ การเข้าเป็นแกนนาในการดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านนาโพธิ์ซึ่งได้รับ
ความไว้วางใจจากคนในชุมชนให้เป็นประธานกลุ่มออมทรัพย์ ช่วยเหลือสมาชิกในการให้คาแนะนาให้ทา
บัญชีครัวเรือนและการใช้จ่ายเงิน ตลอดกิจกรรมอื่นๆ ของชุมชนอีกด้วย
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั
บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั

More Related Content

More from freelance

More from freelance (20)

Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
กลุ่มMixer --เสรีนิยมใหม่
 
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคงกลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
กลุ่มไหน -- สิ่งแวดล้อมกับความมั่นคง
 

บ้านม้าป่า --สรุปชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการแก้ไขปั

  • 2. ~ 2 ~ โครงการวิจัยเอกสาร ชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการแก้ปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน นาย ศตพงศ์ คาแก้ว 54210939 ว.ศ. วิศวกรรมโยธา น.ส. กฤษณา นามวงศ์ 54211203 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ นาย ชัชนันท์ เชิดชู 54211214 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ น.ส. นภัสสร โตวิจิตร 54211223 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ นาย พิสิฐ แก้วคาปา 54211231 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ น.ส. รวีวรรณ ไทรย้อย 54211238 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ นาย อภิชัย ไฟเพ็ชร 54211249 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ น.ส. หนึ่งฤทัย เพ็งอ้น 54211284 ว.ศ. วิศวกรรมอุตสาหการ น.ส. กมลวรรณ มั่งถึก 54215101 ว.ศ. วิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ
  • 3. ~ 3 ~ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา การเปลี่ยนผ่านของภาวะเศรษฐกิจ ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาประเทศที่สาคัญ โดยการ วางรากฐานการพัฒนาที่เข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจทุกระดับ เพื่อนาไปสู่การแก้ไขปัญหาความยากจน และ เสริมสร้างความอยู่ดีมีสุขของคนไทยได้อย่างยั่งยืน แต่ถึงแม้ว่าการพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมาจะ ประสบความสาเร็จในระดับหนึ่งก็ตาม แต่สถานการความยากจนก็ยังคงปรากฏอยู่ในสังคมไทย ดังนั้น การแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืนได้นั้น จาเป็นต้องให้ชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้ตาม แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสามารถจาแนกได้ 5 ประการ 1. การพึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี หมายถึงการรู้จักใช้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ หมายถึง ความสามารถในการทามาหาเลี้ยงชีพที่มีความมั่นคง 3. การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง ความสามารถในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยไม่ให้เสียสมดุลของธรรมชาติ 4. การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ หมายถึง สภาพจิตใจที่กล้าแข็งเพื่อที่จะสามารถต่อสู้กับปัญหา อุปสรรคต่าง ๆ 5. การพึ่งตนเองได้ทางสังคม หมายถึง การที่คนกลุ่มหนึ่งมีความเป็นปึกแผ่นเหนียวแน่นมีผู้นาที่มี ประสิทธิภาพสามารถนากลุ่มคนเหล่านี้ให้ดาเนินการใด ๆ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้วยตนเอง เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวพระราชดาริที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรง พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ซึ่งมีหลักการสาคัญ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมี ภูมิคุ้มกัน โดยอาศัยความรู้ ความรอบคอบ มาใช้ในการวางแผน และดาเนินการทุกขั้นตอน ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ความพอเหมาะ ความสมดุล ความมีเหตุผล หมายถึง การพิจารณาถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องและผลกระทบที่จะเกิด โดยต้องมี เงื่อนไขของความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐานเพื่อการตัดสินใจ การมีภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมพร้อมที่จะรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้รอบด้านเกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ทั้งในอดีต ปัจจุบันและ อนาคต เงื่อนไขคุณธรรม หมายถึง คุณธรรมในการดารงชีพ เพื่อความสงบสุขและเจริญก้าวหน้าทั้งของ ตนเอง กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง กระบวนการแสวงหาความรู้ของบุคคลในชุมชนตั้งแต่ การได้รับข้อมูลจนถึงการลงมือปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีศักยภาพได้
  • 4. ~ 4 ~ 2. หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน 1. กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ 3. คานิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน คือ ความ พอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว 4. เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้ง ความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน คือ เงื่อนไขความรู้ เงื่อนไขคุณธรรม 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน จุดเน้นของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. เน้นให้คนเข้าใจลักษณะพื้นฐานทางสังคมว่า “ความเปลี่ยนแปลง” คือความจริงแท้ทางสังคม 2. เน้นการสร้างความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลง 3. เน้นการสร้างความสมดุล มั่นคง และความยั่งยืนระยะยาว 4. เน้นความพอดี พอประมาณ รู้จักตนเอง รู้จักบริบท ในการที่จะทาให้องค์กรมีความสมดุล ยั่งยืน 5. เน้นการมีความรู้ และความมีคุณธรรม 6. เน้นการพึ่งตนเอง การพึ่งพิงอิงกัน และความรับผิดชอบต่อส่วนรวม 3. ปัจจัยและเงื่อนไขของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มปัจจัยทุนทางสังคม ทุนทางสังคมแบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ คือ 1. ทุนทางสังคมที่เป็นรูปธรรมอันรวมถึงทุนทางสังคมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 2. ทุนทางสังคมที่เป็นนามธรรม เช่น วัฒนธรรมและภูมิปัญญา ที่เป็นกรอบการดาเนินชีวิต แนวคิดเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาความยากจน 1.ความหมายของความยากจน คือความขัดสนทางเศรษฐกิจหรือด้านรายได้ และยังครอบคลุมถึงความยากจนเชิงโครงสร้างที่เกิดจาก ความขัดสนในหลายๆด้าน ที่มีผลทาให้ขาดศักยภาพในการดารงชีวิต การที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการของ รัฐ ซึ่งนาไปสู่ความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจและสังคม 2. สาเหตุของความยากจน 1) ปัจจัยบุคคลและครัวเรือน ได้แก่ ขาดความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ ขาดความ ขยันหมั่นเพียร ขาดการประหยัดและอดออม มัวเมาหมกหมุ่นในอบายมุข มีเด็กและคนชราที่ไม่สามารถ ดูแลตนเองได้อยู่ด้วยเป็นจานวนมาก เป็นต้น
  • 5. ~ 5 ~ 2) ปัจจัยในระดับชุมชน ได้แก่ มีทุนทางสังคมที่ไม่ดี เช่น ไม่มีความไว้เนื้อเชื่อใจกันไม่มีความผูกพันกัน ไม่มีการสนับสนุนเกื้อกูลกัน และไม่มีการมีส่วนร่วมในชุมชน หรือถูกตัดขาดจากสังคม เป็นต้น 3) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ ขาดแคลนสินทรัพย์ เช่น ที่ดิน ทุนต่าง ๆ การขาดอานาจการต่อรอง ภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอย เป็นต้น 3. การแก้ไขปัญหาความยากจน สามารถแก้ไขโดยใช้หลักการเดินตามรอยพระยุคลบาทเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอเพียง สามขั้นของการแก้ปัญหาความยากจน และการแก้ปัญหาโดยใช้ปัญญานาหน้า แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นหรือชุมชน 1. หลักการแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยกับการพัฒนาท้องถิ่น ความหมายของการวิจัยเพื่อท้องถิ่น เป็นกระบวนการที่คนในชุมชนได้มาร่วมคิดทบทวนสถานการณ์ ตั้ง คาถามวางแผน หาข้อมูล ทดลองทา วิเคราะห์ สรุปคาตอบ และถอดบทเรียนเพื่อปรับปรุงงานต่อไป ซึ่ง คนในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการวิจัย ตั้งแต่การเริ่มคิด ตั้งคาถาม การวางแผนและค้นหา คาตอบอย่างเป็นระบบโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติการจริง (Action Research) 2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น 1) งานวิจัยเพื่อท้องถิ่นบนฐานคิดเศรษฐกิจพอเพียงได้สร้างเงื่อนไขคุณธรรมอันประกอบด้วยคุณธรรม ด้านจิตใจและปัญญาความรู้ ดังจะเห็นได้จาก คาที่ว่า สร้างสรรค์ปัญญาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 2) คุณธรรมในงานวิจัยที่ว่านี้เป็นการเน้นความรู้คู่คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตต่อโครงการวิจัย ไม่ว่า จะเป็นวิธีคิดที่จะทางานร่วมกัน รวมตลอดถึงข้อมูลและงบประมาณ 3) ทีมวิจัยมีความรอบรู้ที่เหมาะสมที่จะนาพาโครงการวิจัยและจุดมุ่งหมายของงานให้บรรลุเป้าหมาย ของท้องถิ่นได้ 4) เงื่อนไขคุณธรรมยังเน้นที่การกระทา หรือแนวทางการดาเนินงานวิจัย โดยเน้นความอดทน ความ เพียรพยายาม สติปัญญาและความรอบคอบ 3. กระบวนการประชาพิจัย ประชาพิจัยเป็นกระบวนการวิจัยและพัฒนาของประชาชน มีเป้าหมายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในกลุ่ม ประชาชนที่เข้าร่วมกระบวนการประชาพิจัย เป็นกระบวนการวิจัยที่เกิดจากการสรุปประสบการณ์ของ ชุมชนในชนบท จึงมีรากฐานมาจากสังคมเกษตรกรรม การนากระบวนประชาพิจัยไปใช้ในชุมชนเมือง หรือสังคมอื่นแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของชุมชน 1.กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน หมายถึง การแสวงหาความรู้ของบุคคลในชุมชน ตั้งแต่การได้รับข้อมูล จนถึงการลงมือปฏิบัติจริงโดยมี รากฐานอยู่ที่ชุมชน ท้องถิ่น วิถีชีวิต ซึ่งสามารถนาไปพัฒนาชุมชนและท้องถิ่นให้มีศักยภาพได้ 2. ลักษณะการเรียนรู้ของชุมชน
  • 6. ~ 6 ~ ลักษณะที่สาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน 1) มีลักษณะเป็นกระบวนการกลุ่ม ที่เรียนรู้ร่วมกันการเรียนรู้ของคนแต่ละคนเพื่อยกระดับ สติปัญญา 2) เป็นการเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง จากกระบวนการคิด-ทา ซึ่งเป็นการช่วยให้คนในกลุ่มได้ เรียนรู้ที่จะแก้ไขปัญหา 3) เป็นการเรียนรู้จากปัญหาในชีวิตจริง เพื่อพยายามแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนใน ชุมชนให้ดีขึ้น 4) เป็นการเรียนรู้และทางานร่วมกันในลักษณะเป็นเครือข่าย ที่เป็นความสัมพันธ์ในแนวราบ ไม่มี โครงสร้างอานาจบังคับบัญชา องค์ประกอบของการเรียนรู้ การเรียนรู้ของชุมชน คือ กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดของชุมชน เป็นวิธีการที่ชุมชนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนกันทั้งระหว่างสมาชิกในชุมชนและบุคคลภายนอกที่อาศัยสื่อและวิธีการหลากหลายชนิด การ ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของชุมชน จึงจาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือและบทบาทของคน หลายฝ่าย ซึ่งมีจุดอ่อน จุดแข็งและความสามารถที่แตกต่างกัน เป้ าหมายและการเสริมสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ของชุมชน เป้าหมายของนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ชุมชนจะต้องสร้างขึ้นมา เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมที่ให้คุณค่ากับการเรียนรู้และศักยภาพในการพัฒนา การสร้างนวัตกรรมใหม่นั้นก็สร้างจากสิ่ง ที่มีอยู่ เพื่อให้สิ่งที่มีอยู่นั้นดีกว่าเดิม กลไกการจัดการเรียนรู้ของชุมชน กลไกการจัดการเรียนรู้ของชุมชน คือ สิ่งที่ทาให้การเรียนรู้ของชุมชนสาเร็จ หรือหลัก กระบวนการเรียนรู้ หรือหลักการวิเคราะห์ต่างๆ เพื่อให้ได้รับความสาเร็จจากสิ่งต่อไปนี้ 1. ความพร้อมของผู้เรียน ที่จะรับรู้สิ่งใหม่ๆ ที่แตกต่างจากเดิม 2. ความพร้อมของนักจัดการความรู้ หรือผู้ทาหน้าที่สอน 3. กระบวนการถ่ายทอดที่เหมาะสม 4. องค์ความรู้ที่ใช้ในการถ่ายทอดเหมาะกับสถานการณ์ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของคนเป็นกุญแจสาคัญของการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนใน การสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน นอกจากนี้การเรียนรู้ยังเป็นเครื่องบ่งชี้ถึง “ความเป็นมนุษย์” ของมนุษย์ การเรียนรู้แบบใหม่เป็นการปรับเปลี่ยนมนุษย์ให้เกิดการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันในสังคม
  • 7. ~ 7 ~ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง อนุพงษ์ วาวงศ์มูล (2542) ศึกษาเรื่อง “การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชาวชนบทในภาวะวิกฤติ เศรษฐกิจตามแนวพระราชดาริใหม่ : ศึกษาเฉพะกรณีสานักงานเร่งรัดพัฒนาชนบท” ผลพบว่า การ ส่งเสริมการใช้น้าตามทฤฏีใหม่สามารถทาให้ คุณภาพชีวิตชาวชนบทเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นทั้ง ด้านเศรษฐกิจและสังคม อรสุดา เจริญรัถ (2543) ศึกษาเรื่อง “การเกิดขึ้นของการดารงอยู่และการปรับตัวของเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย” ผลพบว่า 1. เศรษฐกิจพอเพียงเกิดขึ้นและดารงอยู่ภายใต้โครงสร้างสังคมประเพณี ด้วยเงื่อนไขร่วมกัน 2 ประการ คือ การมีวิถีการผลิตแบบยังชีพ และศักยภาพของชุมชนที่ยังคงรักษาอานาจ ในนการจัดการ และดูแลทรัพยากรต่างๆ ของตนเองไว้ได้ 2. การเปลี่ยนแปลงบริบทจากสังคมประเพณี มาสู่สังคมทันสมัย คือ การที่มีอิทธิพลภายนอก เข้ามาแทรกแซง วันฉัตร สุวรรณเกียรติ (2549) ศึกษาเรื่อง “โครงการติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผล การแก้ไขปัญหาความยากจนของประเทศไทย ซึ่งเป็นงานวิจัยร่วมระหว่างศูนย์วิจัยเศรษฐกิจประยุกต์ คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรกับสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติในช่วงปี พ.ศ. 2547” ผลพบว่า 1. ความยากจนในมิติรายได้เป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนสาหรับกลุ่ม บุคคลทั่วไป 2. ความยากจนในมิติการศึกษาเป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนสาหรับกลุ่ม เด็กและเยาวชน 3. ความยากจนในมิติการศึกษายังสมควรได้รับการแก้ไขปัญหาให้ดียิ่งขึ้นสาหรับกลุ่มสตรี 4. ความยากจนในมิติการศึกษาเป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนในกลุ่ม ผู้สูงอายุ 5. ค่าดัชนีชี้วัดการแก้ไขปัญหาความยากจนจาแนกตามพื้นที่ พบว่า ความยากจนในมิติรายได้ เป็นปัญหาสาคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนต่อไป วิธีการดาเนินการวิจัย - ระยะที่ 1 การสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจ พอเพียง ใช้วิธีการวิจัยเอกสาร (Documentary Research) - ระยะที่ 2 การศึกษาชุมชนต้นแบบในการนาเอาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ ใช้วิธีการวิจัยเอกสาร และศึกษาภาคสนาม (Filed Trip)
  • 8. ~ 8 ~ - ระยะที่ 3 การกาหนดแนวทางในการนาแนวพระราชดาริ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการ แก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่เป้าหมาย ใช้วิธีการประชุมระดมสมอง (Brainstorming)ซึ่ง วิธีดาเนินการวิจัยดังกล่าว สามารถสรุปดังแผนภาพที่ ผลการวิจัย โครงงานวิจัยนี้ทาขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน ในชุมชนต้นแบบในภูมิภาคต่างๆ โดยผลวิจัยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ตามวัตถุประสงค์ นั่นคือ 1.เพื่อสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวพระราชดาริเรื่อง จากการที่ผู้จัดทาโครงงานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีข้อสรุปที่สาคัญ 2 ประการ คือ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความคิดหลักคือการดาเนินชีวิตในทางสายกลาง และมี องค์ประกอบของคานิยามที่สาคัญ 3 ประการและสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1.ความ พอประมาณ 2.ความมีเหตุผล(เป็นส่วนที่สร้างให้เกิดความยั่งยืนของการใช้ทรัพยากรในสถานการณ์ที่ ปราศจากผลกระทบภายนอก) และ3.การมีภูมิคุ้มกันในตัว(เป็นส่วนที่เป็นองค์ประกอบที่เสริม ประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรให้พร้อมต่อการรองรับผลกระทบจากภายนอก) และมีเงื่อนไข 2 ประการคือ ความรู้และคุณธรรมเพื่อเป็นกรอบชี้นาทางปฏิบัติ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง คือการนาปรัชญามาประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในการปฏิบัติ ซึ่ง มีเงื่อนไขในการดารงอยู่ของชุมชนดังนี้ 1.ทุนทางสังคม คือการร่วมมือกันภายในชุมชนเพื่อแก้ไขและ พัฒนาให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างพอเพียงและยั่งยืน 2.ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม คือ ที่ตั้งของชุมชนอยู่ในพื้นที่ที่อุดมสมบูรณ์ หรือยังสามารถฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากร เหล่านั้น รวมไปถึงการเข้าถึงหรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชนอีกด้วย 3. ทุนทางความรู้ สติปัญญาหรือเทคโนโลยี คือองค์ความรู้ที่เป็นทั้งภูมิปัญญา และองค์ความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีสมัยใหม่ อีกทั้งมีการแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในชุมชนเองและจากการยอมรับภายนอก 4. นโยบายหรือกระบวนการพัฒนาจากภายนอก คือ นโยบายจากภาครัฐและเอกชน ที่ได้ถูกนาไปใช้ใน ชุมชนหรือท้องถิ่น โดยมีผลลกระทบโดยตรงต่อชุมชนนั้น การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงในระดับต่างๆ ได้แก่
  • 9. ~ 9 ~ 1.ความพอเพียงในระดับบุคคลหรือครอบครัว คือการที่สมาชิกในครอบครัวสามารถใช้ชีวิต พึ่งพาตนเองได้ โดยไม่เบียดเบียนผู้อื่น อีกทั้งพอใจในการดาเนินชีวิตและพัฒนาตนเองเพื่อให้สามารถ ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ต่างๆได้ 2.ความพอเพียงในระดับชุมชน คือการที่บุคคลในชุมชนเกิดความพอเพียงระดับครอบครัว เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว มารวมกลุ่มเพื่อทาประโยชน์ให้กับชุมชนที่ตนเองอยู่ โดยอาศัยความรู้ความสามารถ มาช่วยเหลือแบ่งปันกัน 3.ความพอเพียงในระดับประเทศ คือการที่ชุมชนหลายๆชุมชนที่มีความพอเพียงเป็นพื้นฐาน มารวมตัวกัน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ อีกทั้งร่วมมือกันพัฒนาเพื่อสร้างเป็นเครือข่ายเชื่อม โงระหว่างชุมชน จนเกิดเป็นสังคมแห่งความพอเพียง ก็จะทาให้สามารถวางนโยบายและกลยุทธ์ในการ พัฒนาสังคมให้เจริญก้าวหน้ายิ่งๆขึ้นไป 2. ผลการศึกษาชุมชนต้นแบบในการนาเอาแนวพระราชดาริเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ คณะผู้วิจัยได้ดาเนินการศึกษาชุมชนต้นแบบที่นาแนวพระราชดาริ เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบัติ รวมทั้งสิ้น จานวน 38 ชุมชน โดยได้จากการสังเคราะห์เอกสารจานวน 32 ชุมชน และ จากการลงศึกษาภาคสนามชุมชนต้นแบบในพื้นที่จริง จานวน 6 ชุมชน ซึ่งผลปรากฏดังต่อไปนี้ 2.1โคกพยอม…. วิถีพึ่งพา ดิน น้า ป่า ตาบลละงู อาเภอละงู จังหวัดสตูล ชุมชนที่มีภูมิคุ้มกันทั้งในเรื่องการมีทรัพยากรที่สาคัญ นั่นคือ ป่าชายเลน การที่คนภายในชุมชนมีความ เข้มแข็งในการรวมตัวกัน การร่วมไม้ ร่วมมือกัน ซึ่งจากเดิมประสบปัญหาป่าชายเลนหมด ซึ่งเท่ากับว่า ภูมิคุ้มกันที่มีภายในชุมชนกาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย การร่วมมือกันของชาวบ้านภายในชุมชน ได้ มาร่วมคิด ร่วมทา เรียนรู้ปัญหากันและกันที่เกิดขึ้น เกิดการปรึกษาหารือกันในชุมชน จนสามารถเกิด เป็นแนวคิดในการปลูกป่าทดแทนขึ้นมาได้ นอกจากจะเป็นทรัพยากรที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพ แล้ว นั้นคือการที่ชุมชนมีปึกแผ่น สามัคคีกันนั่นเอง ทาให้ชุมชนโคกพยอม ใช้ภูมิคุ้มกันข้อนี้ผ่านปัญหา มาได้ 2.2 ชุมชนวิถีพอเพียง ตาบลบ้านใหม่ อาเภอหนองบุญมาก จังหวัดนครราชสีมา ชุมชนที่มีหลากหลายอาชีพและมากมายฐานความรู้ของภูมิปัญญาท้องถิ่น ชาวบ้านมีการพึ่งพากันอย่าง ดี มีการสนับสนุนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันกับหน่วยงานต่างๆ นอกจากนี้ภูมิคุ้มกันที่ดีที่ทางชุมชน บ้าน ใหม่มี คือการมีป่า ที่ทุกคนภายในชุมชนช่วยกันดูแลรักษา มีการพึ่งพิงใช้ประโยชน์จากป่าชุมชนได้
  • 10. ~ 10 ~ อย่างสมดุล การมีธนาคารแรงของชุมชน ซึ่งไม่ว่าจาทาการงานอะไรชาวบ้านก็จะมาช่วยกันเช่นเดียวกับ การลงแขก เอาแรงกัน 2.3 ลุ่มแม่น้าเจ้าพระเยา พระยาบันลือ : ความพอเพียงบนฐานหลักธรรม ตาบลพระยาบันลือ อาเภอลาดบัวหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภูมิคุ้มกันที่ดีของชุมชนนี้ คือการมีสภาพพื้นที่ที่เหมาะแก่การทาเกษตร มีความสอดคล้องกับธรรมชาติ มาก แต่จากปัญหาเดิมที่มีปัญหาทางการเกษตร ราคาตกต่า ประสบกับต้นทุนการผลิตสูง ชาวบ้านที่นี่ จึงดึงภูมิคุ้มกันที่ตัวเองมี มาใช้โดยเริ่มจากที่ชาวบ้านมีการรวมตัวกันอย่างดี จนสามารถแก้ปัญหาที่ เกิดขึ้นได้ โดยถึงแม้ระยะแรกอาจจะไม่ได้มีความรู้มากเพียงพอ แต่ก็ได้พยายามเรียนรู้และไปศึกษาดู งานจนสามารถ นาความรู้มาใช้ภายในชุมชนได้ มีการล้มแล้วลุก 2.4 ชุมชนประดิษฐ์โทรการ เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ถึงแม้จะเป็นชุมชนที่อยู่ในตัวเมืองหลวง แต่คนในชุมชนกลับพยายามที่จะจัดการตนเอง ด้วยการ ประกอบอาชีพงานหัตถศิลป์ เศรษฐกิจชุมชนตั้งอยู่บนพื้นฐานของความพอดี พอประมาณ ที่สามารถ สะท้อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้เป็นอย่างดีในฉบับของตนเอง ทั้งๆที่ความจริงชาวบ้านภายใน ชุมชนมาจากต่างที่ต่างทางกัน แต่นั่นกลับไม่ใช่ปัญหาเลยที่คนที่นี่จะสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ภายในชุมชน ให้ยึดเหนี่ยวกันจนเป็นปึกแผ่น ชุมชนมีการรวมกลุ่มกันทากิจกรรมร่วมกันในวันสาคัญต่างๆ การ รวมกลุ่มทางอาชีพ ปัจจุบันทางชุมชนยึดหลักความพอเพียง คือ พอกิน พออยู่ พอซื้อได้มาจาก น้าพักน้าแรง สุจริตไม่เบียดเบียนใคร 2.5 ชุมชนคลองจินดา อาเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ภูมิคุ้มกันที่ดีของพื้นที่นี้คือเป็นที่ราบลุ่ม เหมาะแก่การเพาะปลูกผัก และผลไม้เป็นอย่างดี แต่กลับไม่ใช้ สิ่งที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์มากนัก โดยการทาเกษตรที่นี่มีการใช้สารเคมีเป็นอย่างมาก ทาให้สุขภาพของ คนในชุมชนถดถอย สภาพแวดล้อมย่าแย่ แต่ต่อมาได้มีการตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึงได้มีการระดม แนวคิดและจัดการภายใน โดยได้มีการแบ่งงานกันไปตามความถนัดและสภาพพื้นที่ มีการปรับเปลี่ยน และปรับตัวเข้าสู่เกษตรแบบปลอดสาร ซึ่งปัจจุบันสมาชิกภายในกลุ่มมีการทาเกษตรอยู่ 3 รูปแบบ ด้วยกัน คือ สวนที่ลดการใช้สารเคมี ส่วนที่เลิกใช้สารเคมี และเมื่อสามารถปรับตัวได้ก็จะนาไปสู่วิถีการ พึ่งพิงของพืชว่า “สวนเกษตรที่มีความหลากหลายของพืช” คือปล่อยให้ธรรมชาติดูแลกันเอง 2.6 “ปูม้า” อาชีพยั่งยืนของคนบ้านติงไหร ตาบลเกาะศรีบอยา อาเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ ชุมชนบ้านติงไหร จังหวัดกระบี่ ที่ยึดอาชีพการเลี้ยงปูม้า โดยในตอนแรกได้ประสบสาคัญคือปัญหา ทรัพยากรที่กาลังจะหมดไป แต่สุดท้าย ชาวบ้านก็ได้ดึงภูมิคุ้มกันที่มีอยู่ คือการเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
  • 11. ~ 11 ~ มาร่วมมือประชุมกัน จนได้ข้อสรุปสุดท้ายว่า อาชีพที่เหมาะสมกับคนในชุมชนคือ การเลี้ยงปูม้า เนื่องจากแต่เดิมที่นี่มีความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติมาก ชาวบ้านจึงได้ช่วยกันปลูกป่า และฟื้นฟูป่าอีก ครั้ง จนธรรมชาติกลับมาดีเหมือนเดิม ภูมิคุ้มกันที่เด่นของชุมชนนี้คือ ความสามัคคีความเป็นหนึ่ง เดียวกันของคนภายในชุมชน เวลาทางานจะร่วมมือกันอย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อย จริงจังและเสียสละ นั่นเอง สิ่งนี้ ที่ทาให้ชุมชนบ้านติงไหรผ่านปัญหามาได้ และสามารถเป็นชุมชนที่เข้มแข็งได้จนถึงปัจจุบัน นั่นเอง 2.7 “ข้าวหอม” วิถีเลี้ยงชีพใหม่ ชาวนาป่าภูเขียว อาเภอเกษตรสมบูรณ์ คอนสาน และ อาเภอ หนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ บริเวณรอบเชิงเขาภูเขียว อาเภอเกษตรสมบูรณ์ คอนสานและอาเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ มีพื้นที่ปลูกข้าวประมาณ 308,630 ไร่ ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทานา แต่ ผลผลิตข้าวที่ได้ในแต่ละปีลดน้อยลงเรื่อยๆ และมีคุณภาพต่า ขณะที่ต้นทุนการผลิตต้องมีค่าใช้จ่าย จากการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น รายได้จากการจาหน่ายข้าวจึงลดน้อยลงไปอีก ทาให้ชาวบ้านส่วนหนึ่ง ยังคงเข้าป่าไปทาลายทรัพยากรธรรมชาติในเขตอนุรักษ์เพื่อหาเลี้ยงชีพ ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทาให้เกิดความแห้งแล้งในพื้นที่เกษตรกรรมโดยรอบ จากปัญหาดังกล่าวทาให้ชาวบ้านชาวนาป่าภูเขียว จึงเริ่มตระหนักและแสวงหาทางเลือกใหม่เพื่อพลิกฟื้นผืนดิน พร้อมใจกันระดมสมองเพื่อหา แนวทางเพิ่มผลผลิตและเกิดการเรียนรู้ว่า การปลูกข้าวควรสอดคล้องกับวิถีธรรมชาติ ร่วมดูแล บารุงรักษาผืนดิน ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ชาวนาป่าภูเขียว ยังได้เรียนรู้วิธีสร้างเมล็ดพันธุ์คุณภาพ อีกทั้ง ยังใส่ใจด้วยการไม่ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวเก่ามาปลูกซ้า ไม่มีวัชพืชปน สะอาดและปราศจากแมลง ด้วยการ ปรับเปลี่ยนวิถีผลิตเดิมและสนใจในรายละเอียดต่างๆ เหล่านี้ ทาให้ชาวนาป่าภูเขียวได้เมล็ดพันธุ์ข้าวมี คุณภาพ ทนต่อโรค ตรงตามมาตรฐานพันธุ์ข้าวที่ดีของกรมการข้าว 2.8 สถาบันการเงินเพื่อสวัสดิการ : นวัตกรรมชุมชนพึ่งตนเอง ตาบลน้าขาว อาเภอจะนะ จังหวัดสงขลา ตาบลน้าขาว จังหวัดสงขลา จะมีการออมเงินกันในกลุ่มสมาชิก ด้วยความสมัครใจ โดยกลุ่มสัจจะลดรายจ่ายวันละ ๑ บาท โดยมีแนวคิดมาจาก “เจ็ดร่วม” ในการดาเนินการ คือ ร่วมคิด ร่วมตัดสิน ร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติตามแผน ร่วมแก้ปัญหา ร่วมรับผลประโยชน์ ร่วม ประเมินและขยายผล และมี 6 ขั้นตอนในการพัฒนาคือ ขั้นจุดประกาย ขั้นให้ความรู้ ขั้นรับสมาชิก ขั้นติดตามผล ขั้นจ่ายสวัสดิการ และขั้นประเมินผลและขยายผล ที่จังหวัดสงขลาการเรียนรู้แค่ขั้น จุดประกายและขั้นให้ความรู้ก็สามารถตั้งกลุ่มได้ ปัจจุบันขยายครอบคลุมทั้งจังหวัด 66 กลุ่ม สมาชิกเกือบ 5 หมื่นคน เงินกองทุนกว่า 16 ล้านบาท การจัดสวัสดิการ 9 เรื่องนั้น มีผู้ใช้ประโยชน์ จริงแล้วทุกกรณี ส่งผลให้จานวนสมาชิกและเงินกองทุนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ อีกทั้งการได้มาพบเจอกันของ ชาวบ้านสมาชิกด้วย
  • 12. ~ 12 ~ 2.9 แพทย์พื้นบ้านล้านนา : หลักประกันสุขภาพในวิถีพอเพียง การดาเนินชีวิตของคนล้านนาสมัยก่อนจึงเน้นไปในเรื่องของการสร้าง “สมดุล” ของร่างกายและจิตใจ... เป็นการรักษา “คน" มากกว่าการมุ่งรักษา “โรค”แต่เมื่อเกิดการเจ็บป่วย หรือ หากต้องบาบัดรักษา ก็ มักจะใช้หลัก “สร้างเสริมสิ่งที่ขาด”กาจัดส่วนที่เกิน ล้างสิ่งที่เป็นพิษ เพื่อให้เกิดความสมดุลขึ้นในร่างกาย ซึ่งอาจจะใช้อาหาร สมุนไพรหรือพิธีกรรมเข้ามาแก้ไขขจัดปัดเป่า ซึ่งเหล่านี้ถือเป็นภูมิคุ้มกันที่ดี แต่ ต่อมาความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเริ่มเข้ามามีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้น การแพทย์สมัยใหม่มี ประสิทธิภาพสูง สามารถรักษาโรคได้อย่างรวดเร็ว แนวทางการรักษา สุขภาพแบบองค์รวมที่เห็นผลช้า จึงถูกละเลยไป สาหรับหมอเมือง การอยู่ในสถานะที่กฎหมายไม่รับรองมิได้ส่งผลกระทบเฉพาะ “ตัว หมอ” เท่านั้น หากยังส่งผลกระทบไปถึง “ภูมิปัญญา” หรือ “องค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้าน” ในการ ดูแลและรักษาผู้ป่วย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่ได้รับการสืบทอดจากบรรพบุรุษมาหลายยุคสมัย 2.10 ภูมิคุ้มกันจัดการป่าชุมชน สร้างความพอเพียง สู่ประชาคมอุทัยฯ แม้การอนุรักษ์ป่าจังหวัดอุทัยธานีจะเริ่มต้นจากความต้องการใช้ประโยชน์จากป่าก็จริง แต่วันนี้ภาพความเคลื่อนไหวของชุมชนที่พยายามพลิกฟื้นผืนป่าให้กลับมาเป็นแหล่งอาหารของ ชุมชน ทั้งด้านสภาพแวดล้อมและสภาพเศรษฐกิจที่ดีของชุมชน ได้มีกลไกในการขับเคลื่อนงาน อนุรักษ์จากหลายภาคส่วน ชุมชนมีการป้องกันไฟป่า และปลูกป่าเสริม นายกองค์การบริหารส่วนตาบล สนับสนุนงบประมาณ และกาลังคนในการดูแลรักษาป่า โรงเรียนวัดเขาหินเทิน ให้เด็กนักเรียนได้เรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าชุมชน เชิญชวนครู นักเรียนมาร่วมปลูกป่า และทาแนวกันไฟ มี กิจกรรมค่ายเรียนรู้ธรรมชาติ และระบบนิเวศเพื่อปลูกฝังจิตสานึกให้กับเยาวชนในการดูแลรักษาป่า 2.11 “กุดเป่ง” ป่าทามชุมชน ป่าเพื่อการ “เฮ็ดอยู่-เฮ็ดกิน” ของชุมชนยางคา ตาบล ยางคา อาเภอโพนทาย จังหวัดร้อยเอ็ด “แต่ก่อนบ้านเมืองยังบ่เจริญ ถนนหนทางบ่มี ชาวบ้านก็เฮ็ดอยู่ เฮ็ดกิน กับทามกันทั้งหมด หลักๆ คือ ใช้ เลี้ยงวัว เลี้ยงควาย และหาอาหาร เพราะมันมี ทั้งผัก เห็ด หน่อไม้ ปลา ไข่มดแต่เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป ผู้คนมีมากขึ้น วิถีการทามาหากินในป่าทามจึงเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย ป่าที่เคยเป็นของ “ส่วนรวม” ก็ เริ่มถูกบุกเบิกจับจองเป็นที่นา และไร่ปอ ต่อมากลุ่มผู้นา แกนนาชุมชน และชาวบ้าน ได้เริ่มจากการ สารวจพื้นที่และกันแนวเขตป่าทาม 3,000 ไร่ ให้ชัดเจน และจัดแบ่งพื้นที่เพื่อการใช้ประโยชน์เป็น 2 ส่วนนเขตพื้นที่ทากินและใช้สอยของชาวบ้าน และสาหรับชุมชนการมีฐานทรัพยากรธรรมชาติ ดิน น้า ป่า เป็นที่พึ่งพาหากิน สร้างรายได้ย่อมหมายถึงความมั่นคงในการดารงชีวิตในระดับหนึ่ง ความตระหนัก รู้ในคุณค่าทรัพยากร
  • 13. ~ 13 ~ 2.12 ป่าอยู่คนอยู่ : ภูมิคุ้มกันบ้านละหอกกระสัง ตาบลประโคนชัย อาเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ย้อนไปเมื่อ 30 ปีก่อน “ป่าเขาคอก” ต.เขาคอก อ.ประโคนชัย จ.บุรีรัมย์ เคยเป็นป่า สงวนแห่งชาติ ที่มี ความอุดมสมบูรณ์ มีพันธุ์ไม้นานาชนิด มีสัตว์ป่ามากมาย เวลาให้หลังได้ไม่นาน มีการบุกรุกทาลายป่า อย่างหนัก จากนั้นชาวบ้านได้ตระหนักและเมื่อกลุ่มอนุรักษ์ฯ (ชาวบ้าน) ได้เรียนรู้กระบวนการมีส่วน ร่วม มีการทาโครงการ“โครงการสร้างป่าในบ้าน” เป็นการยืนยันเจตนาของชุมชนที่จะอยู่ร่วมกับป่าอย่าง พอดี สร้างทางเลือกที่จะใช้ทรัพยากรป่าไม้เท่าที่จาเป็นโดยทาแปลงปลูกผักพื้นบ้านในรั้วบ้าน ลดการ บุกรุกป่าและ ช่วยอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าไปพร้อมๆกัน 2.13 วิถีความพอเพียง ของชุมชนในพื้นที่ป่าชุมชนเขาราวเทียนทอง ตาบลเนินขาม กิ่ง อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท พื้นที่บริเวณบ้านเขาราวเทียนทองในอดีตมีทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ มีป่าไม้หนาแน่น และไม้ขนาดใหญ่จานวนมาก ต่อมามีชาวบ้านทั้งจากในพื้นที่และต่างถิ่นอพยพมาตั้งถิ่นฐานและ จับจองที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและที่ทากิน มีการแผ้วถางป่าเพื่อบุกเบิกที่ดินทาการเกษตร ตัดไม้เผา ฟืนทาถ่านขาย ทาให้พื้นที่ป่าลดลงอย่างรวดเร็ว จากความร่วมแรง ร่วมใจ ในการดาเนินงานดูแลรักษา ป่าชุมชนร่วมกัน ทาให้ป่าแห่งนีได้มีการสร้างข้อตกลงในการดูแลและใช้ประโยชน์ร่วมกัน 2.14 วิถีพอเพียงคนสองฝั่งแม่น้านครนายก เมื่อครั้งอดีตแม่น้านครนายก เป็นหัวใจสาคัญต่อการดารงอยู่ของชุมชนริมฝั่งแม่น้า เพราะมีความอุดมสมบูรณ์มาก เนื่องจากมีป่าต้นน้าในป่าดงพญาเย็นกักเก็บน้าทาให้มีน้าตลอดทั้งปี ชุมชนที่อาศัยอยู่บริเวณนี้ได้ใช้น้าในการทามาหากิน มีอาหารธรรมชาติ ทั้งกุ้ง หอย ปู ปลา ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 มีโรงงานผลิตสารฟอกสีมาตั้งริมแม่น้านครนายก และปล่อยน้า เสียลงในแม่น้า ทาให้แม่น้าเน่าเสียตั้งแต่ปี พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา จากเหตุการณ์ดังกล่าวชาวบ้านที่ ได้รับผลกระทบจึงรวมตัวกันเรียกร้องรณรงค์ให้ชาวบ้านเห็นความสาคัญของสายน้า รวมทั้งให้ตระหนัก ในปัญหาที่เกิดขึ้นการดาเนินงานของ “ชมรมคนรักษ์ลุ่มน้านครนายก” มีกิจกรรมที่ร่วมกันทาหลายอย่าง ด้วยกัน ได้แก่ การทางานรณรงค์สร้างจิตสานึกกับชุมชนที่อยู่ริมแม่น้า เช่น การทาเรือรณรงค์ ซึ่ง เป็นเรือโบราณนั่งได้ 15 คน 2.15 วิถีพอเพียง : บทเรียนจากบ้านสามขา ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง ตาบลหัวเสือ อาเภอแม่ทะ จังหวัดลาปาง ชุมชนเล็กๆ ที่ตั้งอยู่ท่ามกลางหุบเขาและห่างไกลจากความ เจริญ ที่แต่เดิมชาวบ้านพึ่งพิงป่า และพึ่งพาซึ่งกันและกันระบบการผลิตล้วนเอื้อต่อการดารง ชีวิตประจาวัน ปลูกข้าว ปลูกผักเพื่อกิน หาปลาในหนองน้าหลังหมู่บ้าน หาเห็ด หาหน่อไม้จากป่า ต่อเมื่อ “ถนน” สัญลักษณ์ของความเจริญตัดผ่าน ความสงบ เรียบง่ายเริ่มเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะใน สภาวะที่ชุมชนไร้ซึ่งภูมิต้านทานทางสังคม ท้ายสุดชุมชนที่เคยพึ่งพาตนเองก็ตกเป็นเหยื่อแห่งการไหล
  • 14. ~ 14 ~ บ่าของสินค้าอุปโภคบริโภค เป็นเหยื่อของการตลาดในระบบทุนนิยม เกิดการปรับเปลี่ยนวิธีคิด วิถีการ ดาเนินชีวิต “ใหม่” แม้การเปลี่ยนแปลงในเบื้องแรก จะก่อให้เกิผลกระทบอย่างใหญ่หลวง แต่ท้ายที่สุด ชาวบ้านก็ “พลิกกลับ” ได้อย่างทันท่วงที และการพลิกกลับจากวิถีที่ “ไม่พอเพียง” มาสู่การดารงชีวิต ตามอัตภาพของคนสามขาก็น่า น่าจะตอบคาถามได้ว่า “แนวทางแห่งความพอเพียง” ไม่ยากที่ใคร หรือ ชุมชนใดจะนาไปปฏิบัติขอเพียงแค่ทาความรู้จักกับตัวเองเพราะการ “รู้จักตัวเอง” เสมือนภูมิคุ้มกันชนิด หนึ่งที่จะทาให้วิ่ง หรือไม่วิ่งไปตามกระแสบริโภคกระทั่งทาให้ตัวเองเกิดความยากลาบาก นี่คือคายืนยัน ของคนสามขา 2.16 ชุมชนนักปฏิบัติ...กับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ในช่วงเวลาที่ผ่านมาการพัฒนาประเทศไทย โดยพยายามเปลี่ยนจากรากฐานของประเทศเกษตรกรรม มาเป็นประเทศอุตสาหกรรม โดยขาดความพร้อมทั้งด้านความรู้และภูมิปัญญาในด้านอุตสาหกรรม ทา ให้สังคมไทยไม่พร้อมที่จะรองรับความเสี่ยง จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างต่างๆ ภายในประเทศ ทาให้ เกิดผลเสียหายในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดหลักด้านสิ่งแวดล้อม 1. ทุนทรัพยากร การใช้ทุนทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่ในลักษณะที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่โลภ ไม่ใช้ เกินขีดความสามารถของธรรมชาติที่จะรองรับ 2. ทุนมนุษย์ และภูมิปัญญา เป็นทุนที่มีความสาคัญที่สุด เพราะมนุษย์มีบทบาทในการเป็นทั้งผู้สร้าง และผู้ทาลาย หากพื้นฐานทางด้านจิตใจขาดซึ่งภูมิคุ้มกันที่เป็นไปในทางที่ดี 3. ทุนการเงิน วิธีการจัดการเงิน ซึ่งประกอบด้วย ภาระหนี้ , การทาบัญชีรายรับ-รายจ่าย, ลดต้นทุน และมูลค่าเพิ่ม เป็นความพอเพียงในระดับที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ สามารถดาเนินชีวิตโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น คือไม่เป็นหนี้ และการทาบัญชีรายรับรายจ่าย 4. ทุนทางสังคม การพึ่งตนเอง ซึ่งเป็นทุนทางสังคมที่มีการพิจารณาในหลักของการมีเหตุผล ความ พอประมาณ รู้จักการพึ่งพาตนเอง คือการตระหนักถึงคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ที่มีความสาคัญให้ดารงอยู่กับสังคมมนุษย์ในอนาคต 5. ทุนทางการเมือง การมีส่วนร่วม / แนวร่วมการมีประชาสังคมเกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มในสังคม ชุมชนที่มีความพอเพียง มาร่วมกันเพื่อแก้ไขและดูแลสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่มุ่งเน้นการพึ่งตนเอง แบบพออยู่พอกิน เหลือจึงขาย ทั้งจากการทาพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ แบบปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพใช้เอง เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ฯลฯ ล้วนเป็นภาพ สะท้อนของครัวเรือนที่ชี้ให้เห็นถึงการพึ่งพาตนเองของชุมชน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่วนใน ระดับชุมชน มีกิจกรรมหลากหลายที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุ้มกันในวิถีชีวิตให้กับชุมชน
  • 15. ~ 15 ~ 2.17 กปิเยาะห์ และผ้าคลุมผม ...อาชีพบนฐานวัฒนธรรม ตาบลกะมิยอ อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ตาบลกะมิยอ อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ได้ชื่อว่าเป็นแหล่งผลิต “กปิเยาะห์” แหล่งใหญ่ที่สุดในจังหวัด มีจานวนผู้ผลิตกปิเยาะห์มากถึง 78 กลุ่ม แต่ด้วยต่างคนต่างผลิต ต่างคนต่างขายทาให้ผลิตภัณฑ์ไม่ได้ มาตรฐานเท่าที่ควร ส่งผลให้ราคาของกะปิเยาะห์ต่าลงเรื่อยๆ จากนั้นเมื่อรู้ถึง “เหตุแห่งปัญหา” ที่ ชัดเจนการแก้ไขจึงทาได้ “ตรงจุด” จุดอ่อนต่างๆ ค่อยๆได้รับการปรับปรุงพัฒนาให้เป็นจุดแข็งเริ่มการ จัดทาฐานข้อมูลการผลิตกปิเยาะห์ในตาบลทั้งหมด ศึกษารูปแบบ ระบบตลาดและเส้นทางการค้าของกปิ เยาะห์ทั้งในและต่างประเทศ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่องและนาไปสู่ การจัดตั้งกลุ่ม ผู้ผลิตกปิเยาะห์และเครื่องแต่งกายมุสลิมจังหวัดปัตตานี ขึ้นในปี พ.ศ. 2547 โดยยึดแนวทางตาม หลักการของกลุ่มออมทรัพย์ เงินทุนที่ได้จากการระดมหุ้นจากสมาชิกทั้งภายในและภายนอก ถูก นามาใช้เพื่อประโยชน์ใน 2 ส่วน คือ ส่วนหนึ่ง เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการจัดซื้อวัสดุในการผลิตมา จาหน่ายให้สมาชิกในราคาต่ากว่าท้องตลาด ทาให้มีความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคงในรายได้ ความ ภาคภูมิใจ และความมั่นใจในภูมิรู้ ภูมิปัญญาของตัวเอง ประกอบกับกระบวนการร่วมคิด ร่วมทา ของ ชุมชนนั้นจะเป็น ภูมคุ้มกัน ให้ชุมชนสามารถเลือกรับ หรือเลือกจัดการกับสถานการณ์ปัญหาที่เข้ามาปะทะกับชุมชน ในอนาคตได้อย่างเหมาะสมต่อไป 2.18 กลุ่มสัจจะธรรมชีวิตศรีลาภรณ์ ตาบลศรีเตี้ย อาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลาพูน ชุมชนบ้านศรีลาภรณ์ หมู่ที่ 7 ตาบลศรีเตี้ย อาเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลาพูน มีหลักยึด เหนี่ยวที่มั่นคง สร้างพลังในชุมชนร่วมกันแก้ปัญหาชุมชนบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ใน รูปแบบ กลุ่มสัจจะธรรมชีวิตศรีลาภรณ์ จังหวัดลาพูน ใช้ระยะเวลารวมกลุ่มกันเพียง 3 – 4 ปี ก็ สามารถขับเคลื่อนการทางานและกิจกรรมที่หลากหลาย จนเป็นที่ยอมรับของชุมชนอื่นๆ มีการ พัฒนาอาชีพ มีเงินออม มีรายได้ มีสวัสดิการต่างๆ แก่ชุมชน ด้วยกิจกรรมที่มุ่งเน้นการพึ่งตนเอง แบบ พออยู่พอกิน เหลือจึงขาย ทั้งจากการทาพืชผักสวนครัว รั้วกินได้ แบบปลอดสารพิษ การผลิตปุ๋ยหมัก ปุ๋ยชีวภาพใช้เอง เลี้ยงสัตว์ เลี้ยงไก่ เลี้ยงปลา ฯลฯ ล้วนเป็นภาพสะท้อนของครัวเรือนที่ชี้ให้เห็นถึงการ พึ่งพาตนเองของชุมชน โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2.19 พอเพียง สร้างภูมิคุ้มกัน บนวิถีชีวิตบ้านทาป่าเปา ตาบลปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัด ลาพูน “บ้านเทาป่าเปา”ตั้งอยู่บนเนินเขา หมู่ที่ 6 ตาบลปลาดุก อาเภอแม่ทา จังหวัดลาพูน มี ประชากร 819 คน 205 ครัวเรือน ในอดีตชุมชนมีอาชีพทานาเป็นหลัก ไม่มีการใช้สารเคมีในการฉีดพ่น เพื่อฆ่าแมลง มีการดารงชีวิตแบบสงบเรียบง่าย มีความสมานสามัคคีช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ทาให้คนใน
  • 16. ~ 16 ~ ชุมชนแข็งแรงมีชีวิตที่ยืนยาว เมื่อว่างจากฤดูกาลทานาแล้วจะปลูกพืชผักไว้กินและหาของป่าเป็นอาหาร เช่น ไข่มดแดง ผักหวาน ผักพ่อค้าตีเมีย หน่อไม้ และเห็ดต่างๆ การหาของป่าของคนในหมู่บ้านมี ความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตเป็นอย่างยิ่ง ชาวบ้านสามารถหาของป่าเพื่อบริโภคในครัวเรือน และนา ออกจาหน่ายในแต่ละช่วงฤดูมีของป่าหมุนเวียนกันตลอดทั้งปี ทางชุมชนจึงมีแนวคิดการอนุรักษ์ป่าขึ้น โดยใช้วิธีพูดคุยกันในกลุ่มกิจกรรม ทุกๆวันพระจะเป็น วันที่ชาวบ้านทากิจกรรมร่วมกัน ทั้งมีการจัดชุดลาดตระเวนออกตรวจเมื่อมีการบุกรุกป่า ฝึกอบรม ราษฎรอาสาพิทักษ์ป่า แม้ว่าการทากิจกรรมจะพบเจอปัญหาอุปสรรคมาโดนตลอดทว่าชุมชนมีความ สมัครสมานสามัคคีและได้ยึดเอาพระบรมราโชวาทของพระบามสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาเป็นหลักยึดว่า “ถ้าจะทางานอย่าหยิบยกเอาความคลาดแคลนมาเป็นข้ออ้าง จงทางานท่ามกลางความขาดแคลนด้วย ความถูกต้องและซื่อสัตย์” ทางชุมชนจึงมีความมานะที่จะดาเนินกิจกรรมต่างๆต่อไป ในปัจจุบันบ้านทา ป่าเปามีเศรฐกิจที่ดี มีความเขียวขจีของป่า ซึ่งเป็นสิ่งนาพาให้คนในหมู่บ้านเป็นสุขทุกวันนี้ เหนือสิ่งอื่น ใด ชุมชนเกิดความภาคภูมิใจในตัวเอง สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว ชุมชน และสังคม อยู่อย่าง พอเหมาะ พอประมาณ ในวิถีของ “บ้านทาป่าเปา” สืบไป 2.20 ชุมชนพึ่งตนเองบ้านศรีจุฬา เรียนรู้จากสัจธรรมนาสู่ชีวิตที่พอเพียง อาเภอเมือง จังหวัด นครนายก ชุมชนบ้านศรีจุฬา อ.เมือง จ.นครนายก เป็นหมู่บ้านที่ชาวบ้านส่วนใหญ่ดารงชีวิตอยู่ในวิถี เกษตร ปลูกผัก ปลูกข้าวและเลี้ยงปลาส่วนใหญ่ ความพออยู่ พอกิน พอมีให้เห็นบ้างแต่นับวันจะเลือน รางลงทุกที ซ้าร้ายในอดีตก็เกิดความแตกแยกขึ้นในชุมชน เพราะปัญหาทางการเมืองกระทั่ง พ.ศ.2538 คณะกรรมการหมู่บ้านได้จัดตั้ง “ประชาคมหมู่บ้าน” ขึ้น ด้วยตระหนักว่าการพัฒนาที่ดีและมีส่วนร่วม จะต้องเริ่มจากการทาประชาคมหมู่บ้าน จึงยึดปฏิบัติกันตั้งแต่นั้นมา และที่โดดเด่นกว่าที่อื่นคือการทา ประชาคมหมู่บ้านศรีจุฬาไม่เพียงเชิญตัวแทนเท่านั้นแต่จะเชิญทุกครัวเรือนเข้าร่วมประชุมกันทุกๆวันที่ 8 ของทุกเดือนหลัง 6 โมงเย็นเพราะชาวบ้านเริ่มกลับจากไร่นา ผู้ใหญ่บ้านชวนกันทากับข้าวกินร่วมกัน ความสัมพันธ์ที่เคยบอบบางก็เริ่มแน่นแฟ้น ชาวบ้านหันหน้าเข้าหากันมากขึ้น ฟังกันมากขึ้น จากการ ประชาคมนี้เองทาให้ชาวบ้านริเริ่มการทาบัญชีครัวเรือน เกิดโรสีชุมชน อีกทั้งยังเกิดผลิตภัณฑ์ต่อยอด ความรู้ต่างๆอีกมากมาย ชาวบ้านได้เรียนรู้ “สัจธรรมชีวิต” จากโครงการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพ ชีวิตของเกษตร ทาให้ชาวบ้านเกิดสติในการดารงชีวิตและพัฒนาอาชีพ แม้ชาวบ้านจะประเมินตนเองว่า พวกเขาอาจไม่ใช่ชุมชนที่เข้มแข็ง แต่ก็มั่นใจว่าสามารถพึ่งตนเองได้ในระดับหนึ่งและยังมีโอกาสที่จะ พัฒนาขึ้นไปสู่การพึ่งตนเองได้อย่างแท้จริงในที่สุด
  • 17. ~ 17 ~ 2.21 หลุดพ้นกระแส ปรับเปลี่ยนชีวิต สู่ความพอเพียง บ้านมณฑล ตาบลเทพนิมิต อาเภอเขาสมิง จังหวัดตราด นายประเสริฐ ด้วยวงศ์ บ้านมณฑล หมู่ที่ 6 ต.เทพนิมิต อ.เขาสมิง จ.ตราด ประสบปัญหากับ ความล้มเหลวในการประกอบอาชีพครั้งแล้วครั้งเล่า และเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆตามกระแส โดยมิได้ศึกษาข้อมูล ในสิ่งที่จะทาอย่างรอบคอบ กับการตัดสินใจโดยไม่ดูความพร้อมของตนเองจึงทาให้กานันเกิดปัญหา หนี้สิน จึงหาวิธีการปรับตัว โดยเริ่มต้นที่ครอบครัวของเราก่อน ปฏิบัติจนเห้นเป็นรูปธรรม จึงค่อย ชักชวนให้ลูกบ้านทดลองปฏิบัติ เป้นสิ่งที่กานันตั้งใจไว้ ตารับตาราที่เคยไปร่วมอบรมโครงการทฤษฎี ใหม่ และความรู้การทาบัญชีรับ-จ่าย.ในครัวเรือนที่ได้ติดมือกลับมา กานันเริ่มนาแนวทางเศรฐกิจ พอเพียงมาปฏิบัติโดยมีหลักคิดที่ว่าหากนาแนวคิด หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในครอบครัวแล้ว อย่างน้อยก็จะช่วยทาให้เราสามารถลดรายจ่ายลงบ้าง อีกทั้งยังเป็นผลดีด้วยเพราะมีรายได้จากการนา ผลผลิตในครัวเรือนไปขายทุกวัน กิจกรรมที่ได้ทาคือ ทาบัญชีรับ-จ่ายของครอบครัว จัดลาดับความสาคัญ ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น หรือจาเป็น กิจกรรมต่อมาคือ ปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง ซึ่งแต่ก่อนไม่ได้ปลูกพืชผักสวนครัวอะไรเลย ทุกครั้งที่ทาอาหารต้องซื้อจากตลาดทั้งสิ้น จากนั้นก็ได้มีการเผยแพร่หลักในการดาเนินชีวิตให้กับ ชาวบ้านในหมู่บ้าน คนในชุมชนรู้จักพึ่งตนเองมากขึ้น มีร้านค้าชุมชน นายประเสริฐ ด้วยวงศ์ ใช้สามารถในการพลิกผันชีวิตครอบครอบครัวให้กลับมาฟื้นใหม่อีกครั้ง โดยใช้สติและใช้ปัญญาส่องนาทางชีวิตใหม่ถึงแม้ว่าจะเป็นทางเดิมที่เคยเดินมาก่อนแล้วในอดีตก็ตาม การมีคุณธรรม ซื่อสัตย์ อดทน ขยันหมั่นเพียร ไม่ยอมแพ้ต่อความยากลาบากและที่สาคัญคือความมั่นใจ ในแนวทางเศรษฐกิจ 2.22 ต้นแบบวิถีชีวิตพอเพียง …มรดกล้าค่าของชุมชน บ้านหัวเมือง ตาบลหัวเมือง อาเภอ มหาชัยชนะ จังหวัดยโสธร คุณตาเกษม บุญประสิทธ์ อดีตผู้ใหญ่บ้านหัวเมือง ตาบลหัวเมือง อาเภอมหาชัยชนะ จังหวัด ยโสธร ที่ปัจจุบันนี้เกษียณอายุจากการเป็นผู้ใหญ่บ้านแล้วมาอยู่ในฐานะเกษตรกรเต็มตัว สอนชาวบ้าน ให้รู้จักคุณค่าของต้นสบู่ดา สอนลูกหลานให้ใช้ชีวิตตั้งอยู่บนความไม่ประมาทนั้นจะทาให้ชีวิตรอด ปลอดภัย ชีวิตอย่างที่คุณตาเกษมและครอบครัวเป็นอยู่คือ การอยู่อย่างพอเพียง ผสมผสานกัน อย่างลงตัวกับการ มีชีวิตอยู่อย่างมีเหตุมีผล สร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับครอบครัว ถึงเวลานี้แล้วคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าสิ่ง
  • 18. ~ 18 ~ ต่างๆ เหล่านี้คือ ความปรารถนาของทุกคนและทุกชุมชน แม้จะมีไม่ได้เหมือนคุณตาเกษม ก็คงจะช่วย ให้ครอบครัวเป็นสุขและชุมชนเข้มแข็งได้อย่างแน่นอน 2.23 ผสมผสาน..ผ่านไอดิน..ลดต้นทุนทากิน..สู่ชีวิตพอเพียง บ้านดอยจัน ตาบลโยนก อาเภอ เชียงแสน จังหวัดเชียงราย นายสมาน กาลังประสิทธิ์อายุ 60 ปี เป็นคนเชียงรายโดยกาเนิด ได้ลาออกจากราชการมาเป็น เกษตรกรอย่างเต็มตัวด้วยการผสมผสานปลูกทุกอย่างที่กินได้ รวมถึงการเลี้ยงปลา ไก่ไข่และไก่ พื้นเมือง สามารถลดรายจ่ายในครอบครัวได้มาก ส่วนที่เหลือ ก็นาไปขายเป็นรายได้ของครัวเรือนลุง สมานดาเนินชีวิตด้วยเกษตรรอบคอบ และศึกษาหาความรู้ใหม่ๆเพิ่มเติมอยู่เสมอทั้งจากเอกสารผู้รู้ เพื่อนร่วมงาน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชาวบ้าน ด้วยกันตามงานต่างๆในชุมชน ลุงสมานกินและใช้ประโยชน์จากทุกสิ่งที่ทาเอง ตั้งแต่พืชผัก ผลไม้ ข้าว หรือแม้แต่วัชพืชก็นาไปทาเป็น ปุ๋ยชีวภาพ สาหรับรากไม้กิ่งก้านที่หักโค่น หรือไม้ผลที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้วก็นามาเผาเป็นถ่านไว้ใช้ใน ครัวเรือน ซึ่งผลผลิตทุกอย่างที่เกิดจากน้าพักน้าแรงของคุณลุงไม่เพียงแต่ได้รับประโยชน์เฉพาะใน ครัวเรือนของตนเท่านั้น ยังเผื่อแผ่ไปถึงญาติพี่น้อง เพื่อนบ้านใกล้เคียง 2.24 จ่ายต้องจด อดเพื่อออม..บัญชีครัวเรือนของจริงพิสูจน์ชีวิต บ้านนาโพธิ์ ตาบลในเมือง อาเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น นายคาผง คาจ่าง บ้านนาโพธิ์ตาบลในเมือง อาเภอบ้านไผ่ จังหวัดขอนแก่น “ตื่นเช้าได้งานหลาย ตื่นสายได้งานน้อย ขี้เกียจเป็นแมลงวันขยันเป็นผึ้ง พักอาศัยอยู่ไร่สวน หมั่นขุด พรวนไม่อดกิน ปลูกพืชผักคู่แผ่นดิน สร้างทรัพย์สินให้เป็นทอง” นี่คือข้อคิดแห่งความสาเร็จในการดาเนินชีวิตของนายคาผง คาจ่าง ด้วยการดาเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้รายได้ครอบครัวดีขึ้นสามารถที่จะผ่อนชาระ หนี้ ธกส.ได้ ส่วนหนึ่งเกิดจาก การทาบัญชีรับจ่ายของตนเอง ทาให้รู้ได้ว่าปีหนึ่งๆมีรายได้เป็นอย่างไร สามารถที่จะวางแผนการใช้จ่ายในครอบครัวได้ถูกต้อง และสิ่งที่นายคาผง สร้างความเชื่อมั่นให้คนอื่นๆ ในชุมชน คือ การเข้าเป็นแกนนาในการดาเนินงานของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านนาโพธิ์ซึ่งได้รับ ความไว้วางใจจากคนในชุมชนให้เป็นประธานกลุ่มออมทรัพย์ ช่วยเหลือสมาชิกในการให้คาแนะนาให้ทา บัญชีครัวเรือนและการใช้จ่ายเงิน ตลอดกิจกรรมอื่นๆ ของชุมชนอีกด้วย