SlideShare a Scribd company logo
รายงานการศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเอง
เรื่อง นานาพันธุ์กล้วยไม้
ผู้ศึกษา
1. เด็กชายปณวัฒน์ ขอยึดกลาง
2. เด็กหญิงพิจะวรรณ สุดนอก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/10
ครูผู้สอน
ครู จุฬาภรณ์ กาญจนสีมา
ลาดับการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องที่ศึกษา
นานาพันธุ์กล้วยไม้
ลาดับการเรียนรู้ที่ 2 การตั้งคาถามที่อยากรู้จากเรื่องที่กาหนด
1.กล้วยไม้เข้ามาในประเทศไทยในพ.ศ.ใด
2.กล้วยไม้เป็นดอกไม้สมบูรณ์หรือไม่
3.กล้วยไม้สกุลสแพโทกลอตทิสพบที่ภาคใดของประเทศไทยมากที่สุด
4.สกุลกล้วยไม้ที่นิยมปลูกในประเทศไทยมีอะไรบ้าง
5.กล้วยไม้มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่าอะไร
6.ทาไมเราถึงเรียกกล้วยไม้ว่ากล้วยไม้
ลาดับการเรียนรู้ที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
1.กล้วยไม้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อประมาณพ.ศ.2450
2.กล้วยไม้เป็นดอกไม้ไม่สมบูรณ์เพศ
3.กล้วยไม้สกุลสแพโทกลอตทิสพบที่ภาคกลางของประเทศไทยมากที่สุด
4.สกุลกล้วยไม้ที่นิยมปลูกในประเทศไทยอาทิ สกุลหวาย ออนซีเดียม ริน
ออสโทลิส แอสโคเซนทรัม เป็นต้น
5.กล้วยไม้มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า orchid
6.เราเรียกกล้วยไม้ว่ากล้วยไม้เพราะมีลักษณะคล้ายกล้วย ได้แก่เอื้องต่างๆ
เช่น เอื้องผึ้งหรือเอื้องคา
ลาดับการเรียนรู้ที่ 4 วางแผนรวบรวมข้อมูล
4.1 แหล่งข้อมูลที่จะไปศึกษา
1.สอบถามจากบุคคล
2.ศึกษาค้นคว้าจากวารสาร
3.ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือพิมพ์
4.ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ
5.ศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต
6.ศึกษาค้นคว้าจากสถานที่จริง
4.2 หัวข้อย่อยที่จะศึกษา
1.ที่มาและความสาคัญของกล้วยไม้
2.ประโยชน์ของกล้วยไม้
3.การปลูกกล้วยไม้
4.พันธุ์กล้วยไม้
5.การเลี้ยงกล้วยไม้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย
6.ปัญหาการปลูกกล้วยไม้
7.สกุลกล้วยไม้
8.เรือนเลี้ยงกล้วยไม้
ลาดับการเรียนรู้ที่ 5 การแสวงหาและตรวจสอบความรู้
5.1 การสอบถามจากบุคคล
1. นางบุญธรรม คูณสันเทียะ
2. นายเนตร ขอใหญ่กลาง
3. นายโยธา จงห่วงกลาง
4. นางสายลอย ม่วงกลาง
5.2 ศึกษาค้นคว้าจากวารสาร
ได้ศึกษาค้นคว้าจากวารสาร ชื่อศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรแม่ฮ่องสอน
หน้าที่ 34 ฉบับที่ 9
เร่งขยายพันธุ์กล้วยไม้ เอื้องแซะ คืนสู่ผืนป่าธรรมชาติ
เอื้องแซะ เป็นกล้วยไม้ที่ขึ้นอยู่ตามต้นไม้ใหญ่ทั่วไปบนเทือกเขาสูงในพื้นที่จังหวัด
แม่ฮ่องสอน ดอยอินทนนท์และดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ โดยกล้วยไม้เอื้องแซะจะ
ให้ดอกที่มีกลิ่นหอมคล้ายดอกพิกุลส่งกลิ่นหอมตลอดทั้งวัน ซึ่งแต่ละดอกจะบานทน
ประมาณ 5-7 วัน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชเสวีให้มี
การเพาะเลี้ยงกล้วยไม้ชนิดนี้เพื่ออนุรักษ์และขยายพันธุ์เพิ่มมากขึ้นและให้เพิ่มจานวน
คืนสู่ป่าธรรมชาติมากขึ้นด้วย
5.3 ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือพิมพ์
ได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือพิมพ์ ชื่อ ไทยรัฐ
ฉบับที่วันที่ 2 พ.ย. 2557 หน้าที่ 19
เอื้องข้าวสาร ดอกเป็นช่อยาวและสวยเอื้องข้าวสารหรือLiparis
viridi-flora (BLUME) lirdl เป็นกล้วยไม้อิงอาศัยในกลุ่มที่มี
การเจริญทางด้านข้าง ได้แก่ กล้วยไม้ที่มีเหง้า ส่วนทอดเลื้อยหรือไหล เมื่อ
ต้นเจริญเต็มที่สามารถแตกต้นใหม่หรือตามลาข้อไต้มีมากมายหลายสกุล
ลาต้นของเอื้องข้าวสารเป็นแท่งปลายแหลมโคนโต สูง 3-9 ซม. แต่ละต้น
จะมีใบเพียง 2 ใบเท่านั้น
5.4 ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ
ได้ศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ ชื่อสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 7
หน้าที่ 120 ถึง 145
การเลี้ยงกล้วยไม้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศร้อนที่มีพันธุ์กล้วยไม้นานาชนิดอยู่ตามธรรมชาติ
สามารถนามาศึกษาเพาะเลี้ยง เพื่ออนุรักษ์ ปรับปรุงพันธุ์ให้เกิดประโยชน์
ในด้านเศรษฐกิจและอนุรักษ์ธรรมชาติได้เป็นอย่างดี
ประวัติการเลี้ยงกล้วยไม้ในประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีกล้วยไม้อยู่ตามธรรมชาติเป็นจานวนมาก
สภาพแวดล้อมธรรมชาติมีความเหมาะสมกับการกล้วยไม้อย่างกว้างขวาง
ประมาณพ.ศ.2460 เป็นต้นมา
5.5 ศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต
สรุปผลการค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต ดังนี้
1. ที่มาและความสาคัญ
ดอกกล้วยไม้เป็นดอกไม้สมบูรณ์เพศ มีอวัยวะเพศผู้และเพศเมียในดอก
เดียวกันและอยุ่บนชิ้นส่วนที่เป็นหลักเป็นชิ้นเดียวกัน กล้วยไม้มีชื่อเรียก
ภาษาอังกฤษว่า orchid น่าแปลกที่ทั้งในภาษาไทยและอังกฤษต่างก็มี
ความหมายใกล้เคียงกัน เราเรียกพืชชนิดนี้ว่ากล้วยไม้เพราะมีลักษณะ
คล้ายกล้วย ได้แก่ เอื้องต่างๆ เช่นเอื้องผึ้งหรือเอื้องคา
2. ประโยชน์ของกล้วยไม้
กล้วยไม้เป็นพืชซึ่งใช้เป็นตัวอย่าง เพื่อการศึกษาทางด้านการวิชาการ เกี่ยวกับ
ธรรมชาติและชีวิตของพันธุ์ไม้ได้อย่างดีเนื่องจาก กล้วยไม้เป็นพืชเป็นพืชวงศ์ใหญ่
มาก ลักษณะทางพันธุศาสตร์จึงมีความแตกต่างกันอย่างกว้างขวางและยังมีการ
กระจายพันธุ์อยู่ในสภาพแวดล้อมธรรมชาติที่ผิดแตกต่างกันอีกด้วย
ทั่วโลกแม้จะมีการนากล้วยไม้มาเลี้ยงและศึกษาวิจัยนานพอสมควรแล้วก็ตาม
แต่ก็ยังได้มีการรายงานว่า ได้ค้นพบและตั้งชื่อทางพฤกษศาสตร์แก่กล้วยไม้ใหม่ๆ
เพิ่มขึ้นอยู่เสมอ ดังนั้นนักวิชาการพฤกษศาสตร์สาขาต่างๆและพืชศาสตร์ จึงได้ให้
ความสนใจที่จะนากล้วยไม้เป็นพืชตัวอย่าง เพื่อการศึกษาและวิจัยในสาขานั้นๆ
3.การปลูกกล้วยไม้
เนื่องจากในรอบปีแต่ละปีนั้นมีการเปลี่ยนแปลงฤดูกาลธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นช่วง
แสงสว่างของแต่ละวัน อุณหภูมิและความชุ่มชื้นก็ตาม อัตราการเจริญของกล้วยไม้
ต่างๆในแต่ละฤดูกาล มีความสอดคล้องกันกับบทบาทการเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
เช่นเดียวกันกับพันธุ์ไม้อื่นๆประเทศไทยตั้งอยู่ค่อนมาทางเหนือของเส้นศูนย์สูตรของ
โลก ซึ่งมีผลกาหนดลักษณะฤดูกาลไว้อย่างแน่ชัด การปลูกและการขยายพันธุ์ไม้
ควรยึดหลักปฏิบัติในระยะต้นๆของฤดูเจริญเติบโตเพื่อให้โอกาสตั้งตัวและเจริญ
แข็งแรงดี ก่อนถึงฤดูกาลที่กล้วยไม้จะมีการ
เจริญช้าลงหรือบางชนิดก็พักตัว
ฤดูเจริญเติบโตของกล้วยไม้เริ่มต้น
ระหว่างฤดูแล้งต่อฤดูฝนหรือประมาณ
เดือนมีนาคม-เดือนมิถุนายน
4.พันธุ์กล้วยไม้
สกุลกล้วยไม้ที่นิยมเลี้ยงกันกันในประเทศอย่างแพร่หลายมีตัวอย่างเช่น
สกุลหวาย,คัทลียา,ออนซีเดียม,แวนดา,ฟาแลนอปซิส,รินคอสไทลิสหรือ
สกุลช้าง แมลงปอลาย แอสโคเซนทรัมหรือเข็ม แวนทอปซิสและกล้วยไม้
สกุลสแพโทกลอตทิส พบตามโขดหินในภาคใต้ของประเทศไทย เป็นต้น
สกุลกล้วยไม้ต่างๆตามที่ได้ยกตัวอย่างมานี้แม้จะมีบางชนิดซึ่งถูกนามา
จากภูมิภาคอื่นของโลกแต่ก็ได้ปรากฏว่า เจริญงอกงามดี
5.การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย
ประเทศไทยเป็นประเทศร้อน ที่มีพันธุ์กล้วยไม้ป่านานาชนิด สามารถ
นามาศึกษาเพาะเลี้ยง เพื่อการอนุรักษ์ ขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ให้เกิดประโยชน์
ประกอบกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติของไทยเหมาะสมแก่การเลี้ยงกล้วยไม้โดย
ไม่ต้องลงทุนมากนัก
การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้
ในประเทศไทยเริ่มต้นขึ้น
เมื่อกระมาณพ.ศ.2450
6.ปัญหาการปลูกกล้วยไม้
ปัญหาสาคัญอย่างหนึ่งซึ่งแฝงเป็นเงื่อนไขอยู่ในพื้นฐานสังคมลักษณะนี้คือ
ทุกเรื่องที่ได้รับผลดีจากการพัฒนามีเหตุมีผลผูกพันกับตัวบุคคลทาให้ขาดการสืบ-
ทอดสู่คนรุ่นหลังซึ่งควรเป็นไปอย่างมีเหตุมีผลแต่จะมีผู้ตามเป็นส่วนใหญ่
ผลกระทบจากปัญหาที่ได้กล่าวไว้แล้วมีผลทาให้ศอ. ชะพี สาคริก เกิดแรงดลใจ
ลุกขึ้นพัฒนา ค้นคว้า วิจัยเรื่องกล้วยไม้ที่เชื่อมโยงถึงงานส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ ซึ่งใน
ที่สุดได้ทาให้เกิดสภาพที่กล่าวกันว่าผสมผสานเป็นธรรมชาติ ได้เริ่มต้นมีการวางแผน
และดาเนินการโดยมีเป้ าหมายอย่างเด่นชัด หลังจากปี พ.ศ. 2490 ซึ่งมี
ศอ.ระพี สาคริก ในตอนนั้นได้ผ่านการศึกษาจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ออก
มาแล้ว
7.สกุลกล้วยไม้
สกุลกล้วยไม้ต่างๆที่พบในประเทศไทย ได้แก่
1.สกุลอะแคมแป
2.สกุลกุหลาบ
3.สกุลแมลงปอ
4.สกุลเข็ม
5.สกุลคัทลียา
6.สกุลหวาย
7.สกุลออนซีเดียม
8.สกุลแอสโคเซนทรัม
9.สกุลช้าง
10.สกุลฟ้ ามุ่ยหรือแวนดา
8.เรือนเลี้ยงกล้วยไม้
เนื่องจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติของประเทศไทยเหมาะสมแก่การเลี้ยงกล้วยไม้การสร้าง
เรือนเลี้ยงกล้วยไม้จึงไม่ต้องลงทุนอย่างในประเทศหนาว นอกจากนั้นอาจมีกล้วยไม้บางชนิดซึ่ง
สามารถปลูกกลางแจ้งได้ โดยไม่จาเป็นต้องสร้างเรือนกล้วยไม้เพื่อบังร่มเงาให้เลยก็ได้ นอกจากนั้น
ในภูมิประเทศ บางแห่งของประเทศ เช่น บริเวณชายฝั่งทะเลบางท้องที่ อาจเลี้ยงกล้วยไม้บางชนิด
ได้โดยไม่ต้องสร้างเรือนกล้วยไม้เลยเพราะการหมุนเวียนถ่ายเทของกระแสลมมีส่วนช่วยลดความ
ร้อนจากแสงแดดได้มากพอสมควรในสภาพเช่นนี้จะปรากฏว่ากล้วยไม้เจริญแข็งแรงและสมบูรณ์ดี
เพราะสามารถรับแสงแดดอันเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับชีวิตได้อย่างเต็มที่โดยไม่มีความร้อนรุนแรงถึงขั้น
เป็นอันตรายต่อกล้วยไม้นั้นๆ
5.6 ศึกษาค้นคว้าจากสถานที่จริง
5.7 ตรวจสอบความรู้โดยการอภิปรายสมมติฐานทุกข้อ
5.7.1 สมมติฐานข้อที่ 1 กล่าวว่า กล้วยไม้เข้ามาในประเทศไทยเมื่อประมาณ พ.ศ. 2450
เมื่อสืบค้นข้อมูลพบว่า เป็นไปตามสมมติฐาน
.2 สมมติฐานข้อที่ 2 กล่าวว่า กล้วยไม้เป็นดอกไม้ไม่สมบูรณ์เพศ
เมื่อสืบค้นข้อมูลพบว่า ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน เพราะกล้วยไม้เป็นดอกไม้สมบูรณ์เพศ
5.7.3 สมมติฐานข้อที่ 3 กล่าวว่า กล้วยไม้สกุลสแพโทกลอตทิสพบที่ภาคกลางของประเทศไทยมา
ที่สุดเมื่อสืบค้นข้อมูลพบว่า ไม่เป็นไปตามสมมติฐาน เพราะกล้วยไม้สกุลสแพโทกลอตทิสพบตามโขด
หินในภาคใต้ของประเทศไทยมากที่สุด
5.7.4 สมมติฐานข้อที่ 4 กล่าวว่า กล้วยไม้ที่ประเทศไทยนิยมปลูก อาทิ เช่น สกุลหวาย ออนซีเดียม
แอสโคเซนทรัม เป็นต้น
เมื่อสืบค้นแล้วพบว่า เป็นไปตามสมมติฐาน
5.7.5 สมมติฐานข้อที่ 5 กล่าวว่า กล้วยไม้มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า Orchid
เมื่อสืบค้นข้อมูลพบว่า เป็นไปตามสมมติฐาน
5.7.6 สมมติฐานข้อที่ 6 กล่าวว่า เราเรียกกล้วยไม้ว่ากล้วยไม้เพราะมีลักษณะคล้ายกล้วย ได้แก่
เอื้องต่างๆ เช่น เอื้องผึ้งหรือเอื้องคา
เมื่อสืบค้นแล้วพบว่า เป็นไปตามสมมติฐาน
ลาดับการเรียนรู้ที่ 7 สังเคราะห์องค์ความรู้
7.1 รู้จักวิธีการปลูกกล้วยไม้มากขึ้น
7.2 รู้จักวิธีการดูแลกล้วยไม้มากขึ้น
7.3 สามารถแนะนาให้ผู้อื่นรู้ได้
7.4 รู้วิธีการอนุรักษ์กล้วยไม้ที่หายากได้
7.5 รู้ประโยชน์ของกล้วยไม้
7.6 รู้จักสกุลกล้วยไม้มากขึ้น
7.7 ทาให้รู้จักการขยายพันธุ์กล้วยไม้
ขอขอบคุณที่รับชมการนาเสนอ

More Related Content

Similar to กล้วยไม้ วัฒน์ จอย

ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
AmmyMoreen
 
ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)
Manatsanan Chanklang
 
Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33
jungsoekook97
 
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
jungsoekook97
 
ขิง
ขิงขิง
ขิง
Fourt'p Spnk
 
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)teerachon
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 SlidejanjaoKanjanjao
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่aapiaa
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
Wichai Likitponrak
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1umpan
 
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)teerachon
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)Preeyaporn Chamnan
 
01 ภาษาไทย โควตา มช
01 ภาษาไทย โควตา มช01 ภาษาไทย โควตา มช
01 ภาษาไทย โควตา มช
niparut
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทยSSTTAAMMPP
 

Similar to กล้วยไม้ วัฒน์ จอย (20)

ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
 
ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)ปะการัง (IS-2)
ปะการัง (IS-2)
 
Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33Portfolio 5-5 no.33
Portfolio 5-5 no.33
 
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
Portfolio ม.5/5 เลขที่ 33
 
ขิง
ขิงขิง
ขิง
 
ใบงาน1
ใบงาน1ใบงาน1
ใบงาน1
 
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
1.แนวข้อสอบ o net ภาษาไทย(ม.3)
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
ใบเลี้ยงเดี่ยวใบเลี้ยงคู่
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
ข้อสอบ ภาษาไทย ครูพี่เกศ
 
Pat 5
Pat 5Pat 5
Pat 5
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)
3.แนวข้อสอบ o net สังคมศึกษา(ม.6)
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา (มัธยมปลาย) 0 (1)
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
01 ภาษาไทย โควตา มช
01 ภาษาไทย โควตา มช01 ภาษาไทย โควตา มช
01 ภาษาไทย โควตา มช
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 

กล้วยไม้ วัฒน์ จอย