SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
เรืÉองระบบปฏิบัติการ 
เสนอ 
อาจารย์ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
จัดทำโดย 
นางสาวเกตน์สิริ ใสยราษฏร์ เลขทีÉ 3 พณ.1/12 
นางสาวมัณฑนา สาระอาสิงห์ เลขทีÉ 17 พณ.1/12 
นายรัฐเขตต์ ประจันเขตต์เลขทีÉ 31 พณ.1/12 
นางสาวปรายฟ้า พร้อมสมุทร เลขทีÉ 34 พณ.1/12 
รายงานเรืÉองนีÊเป็นส่วนหนึÉงของระบบปฏิบัติการเบืÊองต้น 
ภาคเรียนทีÉ 1 ปีการศึกษา 2557 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า1
เรืÉอง โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 
ประเภทโครงงาน โครงงานเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ 
ระดับชัÊน ปวช.1 
โดย นางสาวเกตน์สิริ ใสยราษฏร์ 
นางสาวมัณฑนา สาระอาสิงห์ 
นายรัฐเขตต์ ประจันเขตต์ 
นางสาวปรายฟ้า พร้อมสมุทร 
วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น 
ครูทีÉปรึกษา คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ 
ปีการศึกษา 2557 
บทคัดย่อ 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ จัดทำขึÊนเพืÉอจุดประสงค์ 
1. เพืÉอเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 2.เพืÉอการศึกษาหาความรู้ทางด้านออนไลน์ เรืÉอง 
ระบบปฏิบัติการ การพัฒนาความก้าวของการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า2
สารบัญ 
เรืÉอง หน้า 
บทคัดย่อ ก 
สารบัญ ข 
บททีÉ1 บทนำ 
- ทีÉมาและความสำคัญ 1 
-วัตถุประสงค์ 2 
บททีÉ2 เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง 
-ความสำคัญของระบบปฏิบัติการ 3-6 
-ข้อมูลเกีÉยวกับระบบปฏิบัติการ 7-20 
-อุปกรณ์ระบบปฏิบัติการ 21-33 
บททีÉ3 ขัÊนตอนการดำเนินการ 
-ขัÊนตอนการดำเนินการ 34 
บททีÉ 4ผลการดำเนินงานโครงงาน 
-ผลการดำเนินงานโครงงาน 35 
บททีÉ 5สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 
-สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 36 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า3
บททีÉ1 
บทนำ 
ทีÉมาและความสำคัญ 
ในยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันนีÊสถานการณ์โลกเปลีÉยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทางออนไลน์ ให้ความ 
ทันสมัยความก้าวหน้าในยุคออนไลน์ เพืÉอให้ความรวดเร็วในการศึกษาหาความรู้เกีÉยวกับเรืÉองทีÉเราจะค้นหา 
ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนีÊสถานการณ์โลกเปลีÉยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ ความสำคัญ 
กับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพืÉอเพิÉมอำนาจต่อรองและเพิÉมขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ 
อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพืÉอให้สามารถรับมือกับความเปลีÉยนแปลงต่าง ๆ ทีÉ เกิดขึÊนได้ 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึÊนมาทีÉประกอบไปด้วย 3 เสา หลัก ได้แก่ 
ประชาคมการเมืองความมัÉนคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรม 
อาเซียน ภายในปี 2563 ซึÉงต่อมาได้เลืÉอนกำหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึÊนเป็นปี 2558 ประเทศ 
ไทยเป็นหนึÉงในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพืÉอเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ ประชาคม 
อาเซียนทีÉส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมัÉนคง คณะผู้จัดทาเล็งเห็น ความสำคัญ 
จึงสร้างโครงงานนีÊขึÊนมา โดยการสร้างวีดีทัศน์เกีÉยวกับประชาคมอาเซียนเพืÉอเป็นสืÉอให้ความรู้แก่ผู้ ทีÉสนใจ 
เกีÉยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสำคัญของประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพืÉอเป็นสืÉอ 
ให้ความรู้แก่ผู้ทีÉสนใจเกีÉยวกับประชาคมอาเซียน ขอบเขตของโครงงาน สร้างสืÉอวีดีทัศน์ เพืÉอเผยแพร่ความรู้ 
เกีÉยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง 
Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ใน การบันทึกเสียง 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า4
วัตถุประสงค์ 
1. เพืÉอการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 
2.เพืÉอเป็นสืÉอการเรียนรู้การศึกษาและความทันสมัยทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 
ขอบเขตการศึกษา 
1.ขอบเขตเรืÉองเนืÊอหา ระบบปฏิบัติการซึÉงประกอบไปด้วย ระบบปฏิบัติการ Operating System 
โปรแกรมประมวลผลคำ คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ 
ผลทีÉคาดว่าจะได้รับ 
1.ได้เรียนรู้เกีÉยวกับการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 
2.ได้เอาเทคนิคการคิดเรืÉองระบบปฏิบัติการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 
3.ได้นำความรู้ความสามารถเรืÉองระบบปฏิบัติการมาใช้ในชีวิตประจำวัน 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า5
บททีÉ2 
เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง 
การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ มีเอกสารทีÉเกีÉยวข้อง 
ดังนีÊ 
1.ระบบปฏิบัติการ 
2.ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
3.โปรแกรมประมวลผลคำ 
4.คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ 
ระบบปฏิบัติการเบืÊองต้น 
ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ทีÉทำหน้าทีÉ ควบคุมการทำงานของ เครืÉองคอมพิวเตอร์และ 
อุปกรณ์ทีÉต่อพ่วงกับเครืÉองคอมพิวเตอร์ ซึÉงระบบปฏิบัติการจะทำหน้าทีÉ เป็น ตัวกลางในการติดต่อกับ 
ฮาร์ดแวร์ของเครืÉองโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ 
ความหมายของระบบปฏิบัติการ 
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสัÊน ๆ ว่า OS เป็นโปรแกรม ควบคุมการทำงาน 
ของเครืÉองคอมพิวเตอร์ทำหน้าทีÉควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ โดยทำ 
หน้าทีÉเป็นสืÉอกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครืÉองให้สามารถสืÉอสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับ 
โปรแกรมต่างๆโดยทัÉวไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประ 
ประยุกต์ และผู้ใช้ 
ระบบปฏิบัติการ(OperatingSystem )ระบบต่างๆ 
การทำงานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองได้ แต่จะต้องอาศัยโปรแกรมสัÉงให้คอมพิวเตอร์ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า6
ทำงานซึÉงเรียกว่า“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทัวÉไปซอฟต์แวร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรม 
สำเร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึÉงระบบปฏิบัติการนีÊจะมีหน้าทีÉ ในการจัดการและควบคุมการ 
ทำงานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเครืÉองคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการเกีÉยวกับการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูล 
ทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกีÉยวกับแฟ้มข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตัÊงโปรแกรม 
นอกจากนีÊระบบปฏิบัติการยังช่วยสร้างส่วนติดต่อ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (User interface) ให้ง่ายต่อ 
การใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยู่หลาย ระบบ ซึÉงมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แต่ทีÉสำคัญ ๆ มีดังนีÊ 
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating System) คือ 
ระบบปฏิบัติการคืออะไร (What is an Operating system?) 
ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรมควบคุมการทำงาน (ควบคุมการRun) ของโปรแกรมประยุกต์ ทำ 
หน้าทีÉโต้ตอบและเป็นสืÉอกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และฮาร์ดแวร์ Hardware)ระบบปฏิบัติการ 
(Operating System :OS) เป็นซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทีÉทำหน้าทีÉควบคุมการทำงานของเครืÉอง 
และอุปกรณ์ ควบคุมและสัÉงการให้ Hardware สามารถทำงานได้ เช่น ทำหน้าทีÉในการตรวจเช็คอุปกรณ์ 
Keyboard ขณะเปิดเครืÉอง ถ้าผู้ใช้ลืมเสียบสาย Keyboard ทีÉ port ด้านหลังของเครืÉองขณะทีÉซอฟต์แวร์ระบบ 
ตรวจสอบแล้วไม่พบอุปกรณ์เชืÉอมต่อดังกล่าวจะมีข้อความแจ้งเตือนความผิดพลาด “หน้าทีÉเป็นสืÉอกลางใน 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า7
การเชืÉอมการทำงานระหว่าง User ในการใช้โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ของ user กับระบบ 
เครืÉองฯ อำนวยความสะดวกในการใช้งาน และเพิÉมประสิทธิÍภาพของระบบ Keyboard Error” 
โปรแกรมประมวลคำ 
โปรแกรมประมวลคำ หรือระบบจัดเตรียมเอกสาร(Document Preparation System) เป็นโปรแกรม 
คอมพิวเตอร์ประยุกต์ ใช้ในการผลิตเอกสารทีÉพิมพ์ออกมา ได้ ซึÊงรวมถึงกระบานการเขียน แก้ไข จักรูปแบบ 
และพิมพ์ การประมวลคำในการทำงานยุคแรกของคอมพิวเตอร์สำนักงานโปรแกรมประมวลคำเชิงพาณิชย์ทีÉ 
เป็นทีÉนิยมได้แก่ ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เวิร์ดเพอร์เฟกต์ โปรแกรมโอเพนซอสร์ส เช่น โอเพนออฟ 
ฟิศดอตอ็อกไรเตอร์และเคเวิร์ด และโปรแกรมประมวลคำ เช่น โปรแกรมประมวลคำออนไลน์ เช่น กูเกิล 
ดอกส์ 
ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคำ 
โปรแกรมประมวลผลคำแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 
1. เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคำทีÉทำงานด้านการพิมพ์เอกสาร 
การสร้างตาราง การจัดหน้าเอกสาร การจัดคอลัมน์ การจัดรูแบบอักษร (Font) สามารถใส่ภาพกราฟิก 
(Graphic) หรือแผนภูมิลงในเอกสาร โปรแกรมทีÉนิยมใช้ได้แก่โปรแกรมไมโคซอฟต์เวิร์ด(Microsoft Word) 
2. เท็กซ์อิดิเตอร์(TextEditor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคำขนาดเล็กใช้สำหรับการพิมพ์และแก้ไขเอกสาร 
คำสังÉต่างๆซึÉงมีรูปแบบการใช้งาน เช่นลักษณะตัวหนา (Bold) ตัวเอียง (Italic) ขนาดตัวอักษรไม่มาก 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า8
เหมือนกับเวิร์ดโพรเซสเซอร์แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสารเก็บบันทึกสัÉงพิมพ์ออกทางเครืÉองพิมพ์ได้เท็กซ์อิดิเตอร์ 
ทีÉนิยมใช้ ได้แก่ โปรแกรม WordPad โปรแกรม Notepad 
ความหมายของโปรแกรมประมวลผลคำ 
การประมวลผลคำ หรือ Word Processing คือ การนำคำหลาย ๆ คำมาเรียงกันให้อยู่ในรูปแบบทีÉ 
กำหนด ซึÉงเราสามารถกำหนดได้ว่าจะให้มีกีÉตัวอักษรต่อหนึÉงบรรทัด หรือหน้าละกีÉบรรทัด กัÊนระยะหน้า 
ระยะหลังเท่าใด และสามารถแก้ไขเพิÉมเติมได้อย่างสะดวกจนกว่าจะพอใจแล้วจึงสังÉพิมพ์เอกสาร นัÊน ๆ 
ออกมากีÉชุดก็ได้ โดยทุกชุดทีÉออกมาจากเครืÉองพิมพ์จะเหมือนกันทุกประการ เสมือนกับการถ่ายเอกสาร 
หรือการก๊อปปีÊ แต่ความจริงแล้วเอกสารทุกแผ่นจะถูกพิมพ์ออกมาจากเครืÉองพิมพ์อย่างสวยงามและ ประณีต 
เพราะปราศจากร่องรอยของการขูดลบใด ๆ และนัÉนย่อมหมายถึงการใช้เครืÉองคอมพิวเตอร์ในการทำงาน 
โดยเราจะต้องทำการพิมพ์ข้อมูลต่าง ๆ ซึÉงอาจเป็นเอกสาร บทความ รายงาน จดหมาย ฯลฯ เข้าไปเก็บไว้ 
ในหน่วยความจำของเครืÉองคอมพิวเตอร์ หลังจากนัÊนเราสามารถใช้คำสังÉต่าง ๆ เข้าไปจัดการแก้ไข 
ดัดแปลง หรือเพิÉมเติมข้อมูลเหล่านัÊนได้ตลอดเวลา โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสังÉทีÉทำให้เราสามารถ 
ทำงานกับเอกสารและสังÉงานต่าง ๆ นีÊได้ มีชืÉอเรียกว่า โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิÉง(Word Processing) หรือ 
โปรแกรมประมวลผลคำ 
คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี 
1. มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help) 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีระบบขอความช่วยเหลือทีÉจะคอยช่วยให้ 
คำแนะนำช่วยเหลือให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เช่น หากเกิดปัญหากับการใช้งาน 
หรือสงสัยเกีÉยวกับวิธีการใช้งาน แทนทีÉจะต้องเปิดหาในหนังสือคู่มือการใช้งานของโปรแกรม ก็สามารถขอ 
ความช่วยเหลือจากโปรแกรมได้ทันที 
2. มีระบบอัตโนมัติ 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดีควรจะมีระบบอัตโนมัติทีÉจะ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับ 
เอกสารได้อย่างสะดวกสบายมากขึÊน เช่น การตรวจสอบคำผิดอัตโนมัติ (Spell) การจัดรูปแบบอัตโนมัติ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า9
(Auto Format) การแก้ไขอัตโนมัติ (Auto Correct) มีระบบใส่ข้อความอัตโนมัติ ตรวจสอบการสะกดคำผิด 
ได้ทัÊงภาษาไทย และอังกฤษ เป็นต้น 
3. การใช้ข้อมูลร่วมกันกับโปรแกรมอืÉน ๆ ได้ 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีความสามารถในการทำงานทีÉสร้างด้วยโปรแกรม 
อืÉน ๆ มาใช้งานร่วมกับโปรแกรมได้ เช่น การแทรกภาพ อักษรศิลป์ สัญลักษณ์ ผังองค์กร กราฟ ฯลฯ 
เป็นต้น นอกจากนีÊควรมีความสามารถในการดึงเอกสารจากโปรแกรม Word Processing อืÉน ๆ เข้ามาใช้ 
งานโปรแกรมได้ 
4. เรียนรู้การใช้งานได้ง่าย 
การเรียนรู้วิธีการใช้งานโปรแกรม ไม่ควรจะต้องใช้เวลานานเกินไปสำหรับการเรียนรู้ 
ควรมีบทเรียนช่วยสอนหรือการ สาธิต (Demo) เกีÉยวกับขัÊนตอนต่าง ๆ ในการใช้งานของโปรแกรมเพืÉอให้ 
สามารถเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมได้อย่างรวด เร็ว 
5. มีระบบการค้นหาและแทนทีÉคำ 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีระบบการค้นหา และการแทนทีÉคำ เพืÉอให้ผู้ใช้ 
สามารถทีÉจะทำการค้นหาคำ เพืÉอทำการแก้ไข หรือทำการแทนทีÉได้สะดวกและรวดเร็วยิÉงขึÊน 
6. จัดรูปแบบเอกสารได้สะดวก 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีเรืÉองมือทีÉช่วยให้การจัดรูปแบบของเอกสารได้ 
สะดวกและรวดเร็ว ซึÉงควรจะมีความสามารถทีÉจะจัดรูปแบบได้รวดเร็ว มีขัÊนตอนในการจัดรูปแบบทีÉไม่ 
ยุ่งยาก 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า10
7. กำหนดรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบ หลายขนาด 
โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีคุณสมบัติในการเปลีÉยนแปลง และกำหนดรูปแบบของ 
ตัวอักษร และขนาดของตัวอักษรได้หลายรูปแบบ รวมทัÊงตัวอักษรพิเศษต่าง ๆ ทีÉไม่มีบนแป้นพิมพ์ด้วย 
ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคำ 
1. การจัดเก็บเอกสาร 
การจัดเก็บเอกสารทีÉพิมพ์ขึÊนด้วยกระดาษนัÊนอาจจะเกิดการสูญหาย หรือฉีกขาดได้ง่าย แต่การ 
จัดเก็บเอกสารในรูปของไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์นัÊนข้อมูลต่าง ๆ จะอยู่ครบถ้วน ตราบเท่าทีÉสืÉอทีÉใช้ในการ 
เก็บบันทึกข้อมูล เช่น ดิสก์เกตต์ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี ฯลฯ อยู่ในสภาพทีÉดีและสมบูรณ์ 
2. การค้นหาและเรียกใช้ข้อมูล 
โปรแกรมประมวลผลคำจะมีความสามารถในการค้นหาข้อ ความ หรือคำ ทีÉเรา 
ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และยังสามารถค้นหาข้อความหรือคำและแทนทีÉด้วยข้อความหรือคำใหม่ได้โดย 
อัตโนมัติ ตลอดจนการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลก็ทำได้โดยง่ายและสะดวก เพียงแต่ทราบชืÉอไฟล์และตำแหน่งทีÉ 
จัดเก็บก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ได้โดยสะดวก รวดเร็วไม่ยุ่งยากเหมือนกับการค้นหาและเรียกใช้งานเอกสาร 
ธรรมดา ซึÉงช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 
3. การทำสำเนา 
การทำสำเนาเอกสารด้วยเครืÉองพิมพ์ดีดจะต้องใช้กระดาษคาร์บอน และสามารถทำสำเนา 
ได้เพียงครัÊงละ 3 – 4 แผ่นเท่านัÊน ในขณะทีÉการทำสำเนาด้วยเครืÉองคอมพิวเตอร์สามารถทำได้อย่างไม่จำกัด 
และทุกสำเนามีความชัดเจนเท่าเทียมกัน 
4. การเปลีÉยนแปลงแก้ไขเอกสาร 
การ พิมพ์เอกสารด้วยเครืÉองพิมพ์ดีด มักจะมีการพิมพ์ผิดอยู่เสมอ ๆ ทำให้เสียเวลาในการ 
แก้ไขเอกสาร ซึÉงเป็นเรืÉองทีÉค่อนข้างยุ่งยาก นอกจากนีÊเอกสารทีÉพิมพ์ด้วยเครืÉองพิมพ์ดีดก็ไม่สวยงาม 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า11
เท่าทีÉควร เพราะอาจปรากฏร่องรอยของการขูดลบ แต่ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์เอกสาร ปัญหาต่าง ๆ 
เหล่านีÊก็จะหมดไป ซึÉงจะช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 
5. การจัดรูปแบบเอกสาร 
โปรแกรม ประมวลผลคำ มีความสามารถในการจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพเช่น การกัÊนระยะหน้า – ระยะหลัง การใส่ข้อความหัวกระดาษท้ายกระดาษ การจัดเอกสาร 
แบบหลายคอลัมน์ การจัดรูปแบบอัตโนมัติ (Auto Format) ฯลฯ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการทำงาน 
เหนือกว่าการทำงานบนเอกสารธรรมดา ๆ 
การใช้เมาส์ 
เมาส์ ถือเป็นอุปกรณ์ทีÉสำคัญและจำเป็นมากในการใช้งานโปรแกรม Windows เพราะเมาส์จะ 
เป็นอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการใช้งานต่างๆ เช่น เปิด – ปิดโปรแกรม, เปิดเมนูคำสังÉ, คลิกปุ่มคำสังÉ 
ในไดอะล็อกบ็อกซ์ เป็นต้น มีงานมากมายทีÉใช้เมาส์ในการออกคำสังÉ ดังนัÊนจึงมีการใช้เมาส์ในหลายลักษณะ 
นักเรียนจึงจำเป็นทีÉจะต้องเรียนรู้คำสัÉงต่างๆ ในการใช้เมาส์ทีÉถูกต้องด้วย 
ส่วนประกอบของเมาส์ 
เมาส์ทีÉส่วนประกอบสำคัญคือ ตัวถังหรือตัวทีÉเราจับใช้งาน ซึÉงประกอบด้วยเมาส์ปุ่มซ้ายและ 
เมาส์ปุ่มขวา ภายในตัวเมาส์จะมีลูกยางกลมๆ เป็นส่วนทีÉหมุนไปมาเวลาขยับเมาส์ เพืÉอบังคับทิศทางของ 
เมาส์พอยเตอร์ (Mouse Pointer) บนจอภาพ 
การคลิกเมาส์ 
ศัพท์ทีÉพบในการใช้เมาส์ เช่น การเลือกใช้เมนูหรือคำสัÉงบนหน้าจอ การลาก หรือเคลืÉอนย้าย 
วัตถุบนหน้าจอ 
คลิก (Click) เป็นการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์หรือเรียกอีกอย่างว่า “เมาส์พอยเตอร์” (Mouse Pointer) ไป 
ชีÊทีÉวัตถุ หรือเมนูทีÉต้องการแล้วกดปุ่มทางซ้ายของเมาส์ 1 ครัÊง แล้วปล่อย ใช้ในการเลือกวัตถุ หรือคำสังÉจาก 
เมนูบาร์ (Menu Bar) 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า12
ดับเบิÊลคลิก (Double Click) เป็นการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์ไปทีÉวัตถุ (Object) ทีÉต้องการแล้วกดปุ่ม 
ทางซ้าย 2 ครัÊง ติดต่อกันอย่างรวดเร็วอย่าเว้นช่องว่าง ใช้ในการเปิด หรือปิดหน้าต่าง หรือใช้ในการเปิด 
โปรแกรม โดยการดับเบิÊลคลิกทีÉรูปภาพสัญลักษณ์บนหน้าจอ 
แดรก (Drag) คือ การลากหรือเคลืÉอนย้ายวัตถุ (Object) โดยการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์มาทีÉวัตถุทีÉ 
ต้องการแล้วปล่อยนิÊวจากปุ่มทีÉกดค้างไว้ ใช้ในการย้ายวัตถุต่างๆ บนหน้าจอ 
- การกดปุ่มเมาส์ด้านซ้าย เราจะเรียกว่า “คลิกซ้าย” (Left Click) 
- การกดปุ่มเมาส์ด้านขวา เราจะเรียกว่า “คลิกขวา” (Right Click) 
ส่วนประกอบของวินโดวส์ 
การทำงานกับวินโดวส์เราจะต้องทำงานกับหน้าต่างหรือจอภาพแต่ละจอภาพของโปรแกรมนัÊนๆ 
หน้าต่างของวินโดวส์มีส่วนประกอบต่างๆ ดังต่อไปนีÊ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า13
1. แถบชืÉอ (Title Bar) เป็นแถบทีÉใช้แสดงชืÉอโปรแกรมและชืÉอเอกสารทีÉกำลังเปิดใช้งาน 
2. กล่องรายการคำสัÉง (Control Menu Box) ใช้ควบคุมหน้าต่าง เช่น ปิด เปิด ย่อ ขยาย เป็นต้น 
3. แถบเมนูหรือเมนูบาร์ (Menu Bar) เป็นแถบทีÉบรรจุเมนูและคำสัÉงการใช้งาน แต่ละเมนูจะบรรจุคำสัÉง 
ย่อยไว้ภายใน 
4. ปุ่มมินิไมซ์ (Minimize Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ในการย่อหน้าจอให้เล็กลงเป็นไอคอนไปฝังบนทาสก์ 
บาร์ 
5. ปุ่มแมกซิไมซ์ (Maximize Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ในการขยายหน้าจอให้เต็มพืÊนทีÉบนจอภาพ หรือย่อลง 
เป็นหน้าต่างเล็กๆ ทีÉสามารถยืดหดได้ 
6. ปุ่มปิดโปรแกรม (Close Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ปิดโปรแกรม 
7. แถบเลืÉอน (Scroll Bar) เป็นตัวทีÉใช้ในการเลืÉอนดูข้อมูลส่วนทีÉเหลือทีÉไม่สามารถแสดงให้ดูได้ภายใน 
หน้าจอเดียว บางครัÊงอาจเรียกว่า “สกรอลบาร์” 
8. แถบสถานะ (Status Bar) เป็นแถบแสดงสถานะ (บอกให้ทราบว่ามีรายการทีÉแสดงอยู่กีÉรายการ) หรือ 
กำลังทำงานโปรแกรมใดอยู่บ้าง 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า14
9. แถบเครืÉองมือ (Tool Bar) เป็นแถบทีÉรวบรวมปุ่มคำสังÉทีÉสามารถใช้งานได้เลย โดยไม่ต้องเข้าไปทีÉ 
เมนูบาร์ เพียงแค่คลิกทีÉปุ่มทีÉต้องการเท่านัÊน 
10. เมนูรายการคำสังÉ (Menu Program) เป็นรายการคำสังÉพืÊนฐานทีÉตดตัÊงอยู่ในโปรแกรมวินโดวส์ 
11. ทาสก์บาร์ (Taskbar) เป็นทีÉพักสำหรับโปรแกรมทีÉถูกยุบลงมา 
ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคำ 
1. ช่วยให้การจัดเก็บและค้นหาเอกสารมีความรวดเร็วมากขึÊนเพราะงานเอกสารต่างๆ จะถูกจัดเก็บเป็น 
แฟ้มข้อมูลลงในสืÉอบันทึกข้อมูลต่างๆสามารถค้นหาและเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็ว 
2. ช่วยลดปริมาณกระดาษทีÉจัดเก็บทำให้ประหยัดพืÊนทีÉในการเก็บเอกสารเพราะเอกสารจะถูกจัดเก็บ 
อยู่ในสืÉอบันทึกข้อมูลต่างๆทีÉมีขนาดเล็กแต่มีความจุในการเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก 
3.ช่วยลดขัÊนตอนในการจัดทำเอกสาร เช่นถ้าต้องการส่งจดหมายทีÉมีข้อความเหมือนกันไปให้ผู้รับ 
จดหมายเป็นจำนวนมากอาจทำได้โดยการจัดทำจดหมายเวียนซึÉงมีขัÊนตอนการทำทีÉสะดวกและรวดเร็ว 
ซึÉงถ้าหากใช้เครืÉองพิมพ์ดีดก็อาจจะต้องเสียเวลาในการจัดทำมาก 
4. ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดพิมพ์เอกสาร 
5. ช่วยสร้างเอกสารให้มีความสวยงาม ทัÊงนีÊเพราะผู้ใช้สามารถนำรูปภาพรูปวาด ภาพกราฟิกต่าง ๆ มา 
แทรกลงในเอกสารได้โดยตรง 
6. ช่วยให้การทำงานกับเอกสารถูกต้องและมีข้อผิดพลาดลดน้อยลง 
เพราะผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารได้โดยตรงบนหน้าจอจนพอใจจึงจะสัÉงพิมพ์ 
เอกสารออกทางเครืÉองพิมพ์ได้ 
หรือาจใช้ระบบการตรวจสอบคำผิดแบบอัตโนมัติ 
ในการตรวจสอบการสะกดคำหรือไวยากรณ์ของภาษาได้ 
คุณสมบัติโดยทัÉวไปของโปรแกรมประมวลคำ 
อีกทัÊงกำหนดขนาดและรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบและยังมีชุดตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ 
เพืÉอให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ได้ตามความพอใจและตามความเหมาะสมของเอกสารส่วนการจัดหน้าเอกสาร 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า15
นัÊนโปรแกรมประมวลผลคำสามารถควบคุมการจัดวางหน้าใหม่โดยอัตโนมัติทุกครัÊงทีÉมีการแก้ไขเอกสาร 
เช่น การกำหนดให้ข้อความในบรรทัดเริÉมทีÉเส้นขอบซ้ายตรงกันหรือกำหนดให้ข้อความอยู่ตรงกลางของ 
บรรทัด เป็นต้น 
เครืÉองมือช่วยในการทำจดหมายเวียนและจ่าหน้าซองจดหมาย เครืÉองมือนีÊจะช่วยสร้างจดหมายหลัก 
ไว้หนึÉงฉบับพร้อมทัÊงกำหนดตำแหน่งทีÉจะเปลีÉยนแปลงข้อมูลและสร้างแฟ้มข้อมูลสำหรับบันทึกชืÉอและทีÉอยู่ 
ของผู้รับไว้เมืÉอสังÉพิมพ์จดหมายเวียนนัÊนหรือจ่าหน้าซองจดหมายโปรแกรมจะนำข้อมูลมาใส่ในตำแหน่ง ทีÉ 
กำหนดไว้ให้อย่างอัตโนมัติจนครบทุกคนในปัจจุบันโปรแกรมประมวลผลคำมีการพัฒนาไปอย่างมาก คือ มี 
เครืÉองมือต่าง ๆ ทีÉช่วยในการพิมพ์ หรือสร่างเอกสารเป็นพิเศษ เช่น งานสร้างตาราง การจัดแบ่งข้อความเป็น 
คอลัมน์ การตรวจสอบตัวสะกด การตรวจสอบไวยากรณ์การแทรกรูปภาพลงในเอกสาร การใช้งานร่วมกับ 
โปรแกรมอืÉน ๆและความสามารถในการสร้างเว็บเพจ ดังนัÊนโปรแกรมประมวลผลคำจึงถูกนำมาใช้แทนการ 
ใช้เครืÉองพิมพ์ดีด และสามารถใช้วานเสมือนโรงพิมพ์ตัÊงโต๊ะ 
ความรู้เบืÊองต้นเกีÉยวกับโปรแกรม Microsoft office word 2010 
เริÉมต้นการใช้งาน Microsoft office word 2010 
โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมจัดทำเอกสารทีÉมีความนิยมอย่างมาก หลายหน่วยงาน 
หลายองค์กร ทัÊงภาครัฐและเอกชนนิยมใช้โปรแกรมนีÊ ในการจัดทำเอกสารหลายรูปแบบ เช่น หนังสือ แผ่น 
พับ แผ่นปลิว โปสเตอร์ เป็นต้น จะเรียกได้ว่า เป็นโปรแกรมพืÊนฐานสำหรับสำนักงานทีÉมีความจำเป็นทีÉ 
บุคลากรขององค์กร หน่วยงานทัÊงภาครัฐและเอกชน ต้องมีความรู้ มีทักษะในการใช้โปรแกรมได้เป็นอย่างดี 
จึงจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพดียิÉงขึÊน 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า16
การเริÉมต้นใช้งาน Microsoft Word เริÉมด้วยการเปิดโปรแกรม Microsoft Word ดังนีÊ 
1.คลิกทีÉ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010 
2. จะเปิดหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Word 2010 
การสร้างเอกสารใหม่ 
การเริÉมต้นสร้างงานเอกสาร เราต้องเปิดหรือสร้างเอกสารใหม่ได้ขึÊนมาก่อน โดยมีขัÊนตอนดังนีÊ 
1.ไปทีÉแฟ้ม >คลิกสร้าง 
2. เปิดหน้าต่าง เลือกแม่แบบทีÉมีอยู่ >เอกสารเปล่า >คลิกสร้าง จะได้เอกสารเปล่าเพืÉอพร้อมทีÉจะพิมพ์งาน 
การเปิดเอกสารเก่าใช่งาน 
เมืÉอเรามีเอกสารเก่า หรือไฟล์งานเดิมทีÉบันทึกไว้เรียบร้อยแล้ว ต้องการทีÉจะเปิดขึÊนมาใช้งาน หรือ 
ทำงานต่อ มีวิธีการดังนีÊ 
1.เปิดโปรแกรม Microsoft Word 2010 โดย คลิกทีÉ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft 
Word 2010 
2.เมืÉอโปรแกรม word เปิดขึÊน คลิกทีÉแฟ้ม 
3.โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง เปิด ให้เลือกว่าไฟล์ word อยู่ทีÉไหน มองหาใน จะตัÊงค่าทีÉ MY Document 
เสมอ เราต้องรู้ว่าไฟล์ word ของเราชืÉออะไร เก็บไว้ในไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ไหน เลือกทีÉอยู่ให้ถูก 
และเลือกไฟล์ แล้วคลิกเปิด 
4.อีกวิธีการหนึÉง คือ เปิดโปรแกรม word คลิกทีÉแฟ้ม >จะมองเห็นเอกสารล่าสุด ถ้ามีชืÉอ เอกสารทีÉเราจะ 
ใช้งาน ก็คลิกเปิดได้เลย 
การบันทึกข้อมูล 
ในการทำงานโปรแกรม word เราควรจะคลิกปุ่มบันทึกบนแท็บ ไว้เรืÉอย ๆ เพืÉอป้องกันงานสูญหาย 
เนืÉองจาก ไฟดับ ปลัËกหลุด หรือเครืÉองแฮงค์ เป็นต้น 
การบันทึกงานครัÊงแรก ให้ทำงานขัÊนตอนดังนีÊ 
1. คลิกทีÉไอคอนบันทึก โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง บันทึกเป็น 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า17
2. ในช่องบันทึกใน ให้คลีÉสามเหลีÉยมเล็ก ๆ ลงมาเพืÉอเลือกบันทึกงานว่าเก็บไว้ทีÉใด ไดร์ฟไหน 
โฟลเดอร์ใด 
3. ในช่องชืÉอแฟ้ม ให้ตัÊงชืÉอไฟล์ 
4. แล้วคลิกบันทึก 
นอกจากนีÊ การบันทึกไฟล์งาน นอกจากจะคลิกทีÉปุ่มบันทึก แล้วยังสามารถบันทึกได้โดย 
1. ไปทีÉแท็บ แฟ้ม>คลิกบันทึก 
2. โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง เปิด ให้เลือกบันทึกใน ไดร์ฟหรือโฟลเดอร์ไหน และตัÊงชืÉอไฟล์ก่อนคลิก 
บันทึก เหมือนวิธีเดียวกับคลิกบันทึกจากปุ่มบันทึก 
3. การบันทึกอีกรูปแบบหนึÉง คือ บันทึกเป็น ใช้ในกรณีทีÉเราต้องการเปลีÉยนทีÉเก็บ หรือเปลีÉยนชืÉอไฟล์การ 
แทรกข้อความ 
เมืÉอเราพิมพ์งานหรือจัดหน้าเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่เราต้องการจะเพิÉมเติมข้อมูลทีÉคิดว่าเป็น 
ประโยชน์ เราสามารถทำได้ ดังนีÊ 
1.คลิกตัÊงเคอร์เซอร์บริเวณทีÉจะเติมข้อความ 
2. สำหรับข้อความทีÉจะเติมเราสามารถพิมพ์เติมเข้าไปได้เลยหรือไป copy มาจากทีÉอืÉนก็ได้ โดยป้ายเลือก 
บริเวณทีÉต้องการ ให้เกิดแถบสี แล้วคลิกขวา >คัดลอก 
3. เมืÉอคัดลอกมาแล้ว เราจะนำมาวางตรงทีÉตัÊงเคอร์เซอร์ไว้ ให้คลิกขวา >เลือกตัวเลือกการวาง 
4. การวางข้อความ/ภาพทีÉ copy มามีตัวเลือกการวางหลายลักษณะ ดังนีÊ 
-ใช่ชุดรูปแบบปลายทาง 
-รักษาการจัดรูปแบบตามต้นฉบับ 
-ผสานการจัดรูปแบบ 
-เก็บข้อความเท่านัÊน 
-รูปภาพ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า18
-วางแบบพิเศษ 
การวางแบบพิเศษ สามารถเลือกรูปแบบเอกสารทีÉจะวางได้ตามตัวเลือก เมืÉอเลือกได้แล้วคลิกตกลง 
5. เมืÉอเลือกลักษณะการวางได้ตามต้องการแล้ว ก็จะปรากฏข้อความทีÉ copy มา 
การเลืÉอนไปส่วนตัวต่าง ๆ ของเอกสาร 
การเลืÉอนไปยังส่วนต่าง ๆ ของเอกสาร ทำได้หลายวิธีการ ดังนีÊ 
1. เลืÉอนขึÊน-ลง ไปยังส่วนต่าง ๆ หรือหน้าต่างของเอกสารโดยใช้ แถบเลืÉอน (Scroll Bar) 
2. ใช้ลูกศรขึÊน และลูกศรลง ทีÉอยู่ด้านข้างทางขวามือของหน้าจอ คลิกขึÊน-ลง เพืÉอเลือก 
หน้าทีÉต้องการ 
3. ใช้ลูกศรคลิกไปหน้าก่อน และหน้าถัดไป 
4. คลิก วงกลมเพืÉอเลือกลักษณะการเรียกดู ดังภาพ 
5. เลือกไปทีÉ ดังภาพ 
6. จะเปิดหน้าต่าง ค้นหาและแทนทีÉ ให้กำหนดว่า จะไปหน้าไหน ให้ใส่หมายเลขหน้าตามทีÉ 
ต้องการ 
7. สมมติว่า จะไปหน้า 1 ก็ใส่เลข 1 แล้วคลิกปุ่ม ไปทีÉการออกจากโปรแกรม 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า19
เมืÉอพิมพ์เอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราบันทึกงานเก็บตามขัÊนตอนและต้องการจะออกจากโปรแกรม 
มีหลายวิธีการดังนีÊ 
วิธีทีÉ1ไปทีÉแท็บแฟ้ม เลือกจบการทำงาน โปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม Microsoft Word 
วิธีทีÉ 2 คลิกทีÉเครืÉองหมายกากบาทสีแดง ทีÉมุมบนขวามือของหน้ากระดาษโปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจาก 
โปรแกรม Microsoft Word 
คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ 
คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาททีÉสำคัญยิÉงต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบันแทบทุกวงการล้วนนำ 
คอมพิวเตอร์เข้าไปเกีÉยวข้องกับการใช้งานจนกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยทีÉสำคัญอย่างยิÉงต่อการ 
ดำเนินชีวิตและการทำงานในชีวิตประจำวันฉะนัÊนการเรียนรู้เพืÉอทำความรู้จักกับคอมพิวเตอร์จึงถือเป็นสิÉงทีÉ 
มีความจำเป็นเป็นอย่างยิÉงเพืÉอทีÉจะทราบว่าคอมพิวเตอร์คืออะไรทำงานอย่างไร และมีความสำคัญต่อมนุษย์ 
อย่างไรเราจึงควรทำการศึกษาในหัวข้อต่อไปนีÊ 
ความหมายของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า ComputareซึÉงหมายถึง การนับหรือ การคำนวณ พจนานุกรม 
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครืÉองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ 
ทำหน้าทีÉเหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆทีÉง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า20
คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครืÉองจักรอิเล็กทรอนิกส์ทีÉถูกสร้างขึÊนเพืÉอใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณ 
และสามารถจำข้อมูลทัÊงตัวเลขและตัวอักษรได้เพืÉอการเรียกใช้งานในครัÊงต่อไป นอกจากนีÊยังสามารถ 
จัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขัÊนตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถ 
ในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่นการเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูลการจัดเก็บข้อมูลในตัวเครืÉอง 
และสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ 
การทำงานของคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามจะมีลักษณะการทำงานของส่วนต่างๆทีÉมีความสัมพันธ์กันเป็น 
กระบวนการ โดยมีองค์ประกอบพืÊนฐานหลักคือ Input Process และ output ซึÉงมีขัÊนตอนการทำงานดังภาพ 
ขัÊนตอนทีÉ 1 รับข้อมูลเข้า(Input) 
เริÉมต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครืÉองคอมพิวเตอร์ ซึÉงสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของ 
ข้อมูลทีÉจะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพืÉอพิมพ์ข้อความหรือ 
โปรแกรมเข้าเครืÉองถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครืÉองอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกา 
ชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลืÉอนตำแหน่งของ 
การเล่นบนจอภาพเป็นต้น 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า21
ขัÊนตอนทีÉ 2 ประมวลผลข้อมูล (Process) 
เมืÉอนำข้อมูลเข้ามาแล้วเครืÉองจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสัÉงทีÉได้รับมาเพืÉอให้ได้ผลลัพธ์ตามทีÉ 
ต้องการการประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่างเช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม 
นำข้อมูลมาหาค่ามากทีÉสุด หรือน้อยทีÉสุด เป็นต้น 
ขัÊนตอนทีÉ 3 แสดงผลลัพธ์ (Output) 
เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ทีÉกำหนดไว้ โดยทัวÉไปจะแสดงผ่าน 
ทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทัวÉไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้ 
เครืÉองพิมพ์ก็ได้ 
ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 
1.หน่วยเก็บ(Storage)หมายถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานานนับเป็น 
จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำงานแบบอัตโนมัติของเครืÉองคอมพิวเตอร์ทัÊงเป็นตัวบ่งชีÊ 
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองด้วย 
2.ความเร็ว(Speed)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล(ProcessingSpeed) 
โดยใช้เวลาน้อยเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างทีÉผู้ใช้ทัวÉไปมีส่วนเกีÉยวข้องน้อยทีÉสุดเป็นตัวบ่งชีÊประสิทธิภาพของ 
เครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉสำคัญส่วนหนึÉงเช่นกัน 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า22
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับ 
ขัÊนตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนืÉองอย่างอัตโนมัติโดยมนุษย์มีส่วนเกีÉยวข้องเฉพาะในขัÊนตอนการกำหนด 
โปรแกรมคำสังÉและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านัÊน 
4. ความน่าเชืÉอถือ (Sure)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ทีÉถูกต้องความน่าเชืÉอถือ 
นับเป็นสิÉงสำคัญทีÉสุดในการทำงานของเครืÉองคอมพิวเตอร์ 
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 
จากการทีÉคอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนิน 
ชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ทีÉพบเห็นได้บ่อยทีÉสุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์ 
จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ ซึÉงเรียกว่างานประมวลผล ( Word processing ) นอกจากนีÊยังมีการประยุกต์ใช้ 
คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้านดังต่อไปนีÊ 
1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งาน 
ประมวลคำและติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนีÊงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ก็ 
ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิตและการประกอบชิÊนส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงาน 
ประกอบรถยนต์ซึÉงทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึÊนบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคารทีÉให้บริการถอนเงิน 
ผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบีÊยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงิน 
ระหว่างบัญชีเชืÉอมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย 
2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุขสามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า23
การคำนวณทีÉค่อนข้างซับซ้อน เช่นงานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรือ 
งานทะเบียนการเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้ซึÉงจะให้ผลทีÉแม่นยำกว่าการตรวจ 
ด้วยวิธีเคมีแบบเดิมและให้การรักษาได้รวดเร็วขึÊน 
3. งานคมนาคมและสืÉอสารในส่วนทีÉเกีÉยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ทีÉนังÉซึÉงมี 
การเชืÉอมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางทีÉไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทัÊงยังใช้ 
ในการควบคุมระบบการจราจรเช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศหรือในการสืÉอสารก็ใช้ 
ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพืÉอให้อยู่ในวงโคจรซึÉงจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสืÉอสารมี 
ความชัดเจน 
4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ 
จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสัÉนสะเทือนของอาคารเมืÉอเกิดแผ่นดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะ 
คำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริงรวมทัÊงการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของ 
โครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครืÉองมือผลการทำงาน 
5. งานราชการ เป็นหน่วยงานทีÉมีการใช้คอมพิวเตอร์มากทีÉสุดโดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทัÊงนีÊขึÊนอยู่กับ 
บทบาทและหน้าทีÉของหน่วยงานนัÊนๆ เช่นกระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่าน 
คอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพืÉอเชืÉอมโยงไปยัง 
สถาบันต่างๆ , กรมสรรพากรใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น 
6. การศึกษา ได้แก่การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอนซึÉงมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอน 
ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียนซึÉงทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียนการเก็บข้อมูลยืม 
และการส่งคืนหนังสือห้องสมุด 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า24
ลักษณะของคอมพิวเตอร์ 
เครืÉองคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึÊนมาเพืÉอให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพืÉอทดแทนข้อจำกัดของมนุษย์มีดังนีÊ 
1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานาน นับเป็นจุดเด่น 
ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำงานแบบอัตโนมัติของเครืÉองคอมพิวเตอร์ ทัÊงเป็นตัวบ่งชีÊ 
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองด้วย 
2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed)โดยใช้เวลาน้อย 
เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างทีÉผู้ใช้ทัวÉไปมีส่วน เกีÉยวข้องน้อยทีÉสุด เป็นตัวบ่งชีÊประสิทธิภาพของเครืÉอง 
คอมพิวเตอร์ทีÉสำคัญส่วนหนึÉงเช่นกัน เช่นกัน 
3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับขัÊนตอนได้ 
อย่างถูกต้องและต่อเนืÉองอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกีÉยวข้องเฉพาะในขัÊนตอนการกำหนดโปรแกรม 
คำสังÉและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านัÊน 
4. ความน่าเชืÉอถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ทีÉถูกต้อง ความน่าเชืÉอถือ 
นับเป็นสิÉงสำคัญทีÉสุดในการทำงานของเครืÉองคอมพิวเตอร์ ความสามารถนีÊเกีÉยวข้องกับโปรแกรมคำสังÉและ 
ข้อมูลทีÉมนุษย์กำหนดให้กับเครืÉองคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลทีÉไม่ถูกต้องให้กับ 
เครืÉองคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ทีÉไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน 
คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 
1.ความเป็นอัตโนมัติ ( Self Acting) คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ขึÊนด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดเก็บ 
หรือแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าเพืÉอให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ การประมวลผลของ 
คอมพิวเตอร์จะทำงานแบบอัตโนมัติภายใต้คำสังÉทีÉได้ถูกกำหนดไว้ การทำงานดังกล่าวจะเริÉมตัÊงแต่การนำ 
ข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมาให้อยู่ในรูปแบบทีÉมนุษย์สามารถเข้าใจได้ 
2.ความเร็ว ( Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง ต่างจากการประมวลผลงานในอดีตทีÉ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า25
อาศัยแรงงานของมนุษย์ซึÉงให้ผลลัพธ์ทีÉล่าช้ากว่ามาก งาน ๆ หนึÉงหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวัน 
หรือหลายสัปดาห์ในการคิดและประมวลผล แต่หากนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้ 
เพียงไม่กีÉนาที ความรวดเร็วในการประมวลผลดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างมากต่อการดำเนินงานธุรกรรมใน 
ปัจจุบัน ผลลัพธ์ทีÉได้จากการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ผู้บริหารนำเอาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ 
หรือดำเนินงานได้อย่างรวดเร็ว 
3.ความถูกต้อง แม่นยำ ( Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ทีÉถูกต้อง แม่นยำและมีความผิดพลาดน้อย 
ทีÉสุด การใช้แรงงานคนเพืÉอประมวลผลเป็นเวลานาน อาจเกิดการผิดพลาดได้ เนืÉองมาจากความอ่อนล้า เช่น 
ลงรายการผิด หรือบันทึกข้อมูลผิดประเภท ตรงกันข้ามกับคอมพิวเตอร์ทีÉสามารถทำงานได้อย่างต่อเนืÉองและ 
ซํÊา ๆ แบบเดิมได้เป็นอย่างดี ทัÊงนีÊขึÊนอยู่กับการป้อนข้อมูลเข้าทีÉถูกต้องด้วย เนืÉองจากคอมพิวเตอร์ไม่สามารถ 
ทราบได้ว่าข้อมูลทีÉผู้ใช้ป้อนเข้ามานัÊนเป็นอย่างไร ผิดหรือถูก หากมีการป้อนข้อมูลผิด โปรแกรมหรือ 
ชุดคำสังÉอาจประมวลผลตามทีÉได้รับข้อมูลมาเช่นนัÊน ซึÉงความไม่ถูกต้องดังกล่าวไม่ใช่เป็นความผิดพลาด 
ของคอมพิวเตอร์ หากเป็นความผิดพลาดของฝัÉงผู้ใช้เอง เป็นต้น 
4.ความน่าเชืÉอถือ ( Reliability) ข้อมูลทีÉได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีความน่าเชืÉอถือและ 
สามารถนำไปใช้ประโยชน์อืÉน ๆ ต่อไปได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีฮาร์ดแวร์ทีÉผลิตขึÊนด้วยอุปกรณ์ 
อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ มีการคิดค้นและพัฒนาให้ดีกว่ายุคสมัยก่อนทีÉมีการใช้เพียงแค่หลอดสุญญากาศ การ 
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงมีความผิดพลาดตํÉามากหรือแทบไม่เกิดขึÊนเลย นันÉคือการมีความ 
น่าเชืÉอถือสูงนัÉนเอง 
5.การจัดเก็บข้อมูล ( Storage Capability) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ ทัÊง 
ข้อมูลทีÉเป็นข้อความธรรมดาหลาย ๆ ล้านตัวอักษร เพลง ภาพถ่าย วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญ่จำนวน 
มาก โดยมีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของตนเอง ช่วยให้การจัดเก็บและถ่ายเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวก 
มากยิÉงขึÊน ปัจจุบันมักพบเห็นหน่วยเก็บข้อมูลทีÉจุข้อมูลได้มากขึÊนและมีราคาทีÉถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก 
6.ทำงานซํÊา ๆ ได้ ( Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถทำงานซํÊา ๆ กันได้หลายรอบ ช่วยลดปัญหาเรืÉอง 
ความอ่อนล้าจากการทำงานของแรงงานคน นอกจากนัÊนยังลดความผิดพลาดต่าง ๆ ได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลทีÉ 
ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคำนวณและหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว การคิด 
หาผลลัพธ์ของงานทีÉมีลักษณะซํÊา ๆ แบบเดิม เช่น การบันทึกรายการบัญชีประจำวัน การลงรายการสินค้าเข้า 
ออกในระบบสินค้าคงคลังทีÉเกิดขึÊนเป็นประจำ จึงเหมาะอย่างยิÉงต่อการนำเอาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า26
7.การติดต่อสืÉอสาร ( Communication) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชืÉอมโยงเข้าหากันเป็นเครือข่ายมาก 
ยิÉงขึÊน แต่เดิมอาจเป็นแค่เครืÉองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลธรรมดา แต่ด้วยเทคโนโลยีทีÉก้าวหน้าไปมาก เรา 
สามารถเชืÉอมต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครืÉองเข้าหากันเป็นเครือข่ายได้ ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กร 
เล็ก ๆ หรือระดับเครือข่ายใหญ่ ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำให้การประมวลผลงานมีประสิทธิภาพมากยิÉงขึÊน และ 
ไม่จำกัดอยู่แค่พืÊนทีÉหนึÉงอีกต่อไป คุณสมบัติเหล่านีÊอาจพบเห็นได้ในคอมพิวเตอร์แบบใหม่ ๆ ทัวÉไป 
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 
1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพืÉองานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการนำบทเรียน การผลิต 
สืÉอการสอน การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพืÉอการศึกษาหรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพืÉอความสนุกสนานบันเทิง เช่น เล่นเกม 
ฟังเพลงชมภาพยนต์ 
3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครืÉอง ATM การโอนเงินด้วย 
ระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากทีÉหนึÉงไปยังอีกทีÉหนึÉงโดยผ่านระบบเครือข่าย 
คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทำกราฟแสดงยอดขาย 
4.ด้านการสืÉอสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสืÉอสารผ่านอินเตอร์เน็ต สืÉอสาร 
ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสืÉอสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคมทางเรือ เครืÉองบินและรถไฟฟ้า 
5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพืÉอการวาดรูปการ์ตูนออกแบบงานและการสร้าง 
ภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพในคอมพิวเตอร์ 
6.ด้านการแพทย์ ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน 
เช่น การเก็บประวัติคนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจ 
เลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า27
ควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์ การตรวจคลืÉนสมองคลืÉนหัวใจ เป็นต้น 
7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคำนวณสูตรทาง 
วิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคำนวณเกีÉยวกับระบบสุริยะ 
จักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกีÉยวกับดวงดาวต่างๆ 
ประเภทของคอมพิวเตอร์ 
1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ทีÉมีประสิทธิภาพในการทำงานสูง มีขนาดของ 
ความจำมาก ตัÊงอยู่ในห้องทีÉสามารถปรับอุณหภูมิได้ การใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนีÊมักในงานวิจัย เช่น 
การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม การพยากรณ์อากาศ และงานอืÉนๆทีÉมีการคำนวณซับซ้อน 
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทีÉมีประสิทธิภาพรองลงมาจาก 
ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉสามารถเชืÉอมโยงกับคอมพิวเตอร์ปลายทางได้จำนวนมาก ทำ 
ให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้พร้อมกันหลายร้อยคน จึงมักใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า28
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางทีÉมีประสิทธิภาพน้อยกว่า 
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มักพบในองค์กรทีÉใช้งานเฉพาะด้าน เช่น ประมวลผล 
งานบัญชี โดยนำไปเชืÉอมต่อกับเครืÉองปลายทางได้หลายคน โดยมีการประมวลผลทีÉอยู่ส่วนกลาง แล้วส่งผล 
ไปทีÉเครืÉองปลายทาง โดยทีÉเครืÉองปลายทางไม่ต้องประมวลผลเอง 
มินิคอมพิวเตอร์ 
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ทีÉใช้งานอย่างแพร่หลาย ทีทัÊงคอมพิวตอร์ส่วน 
บุคคลแบบตัÊงโต๊ะ ซึÉงเหมาะกับการทำงานในสำนักงาน สถานศึกษา ทีÉบ้าน หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพาไป 
ในสถานทีÉต่างๆได้ เช่น โน๊ตบุ๊ก เป็นต้น 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า29
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 
เครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉเราเห็นๆ กันอยู่นีÊเป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึÉงของระบบคอมพิวเตอร์เท่านัÊน แต่ถ้า 
ต้องการให้เครืÉองคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามทีÉเราต้องการนัÊน 
จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพืÊนฐาน 4 ประการดังนีÊ 
1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ทีÉประกอบขึÊนเป็นเครืÉองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่าง 
สามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครืÉองพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึÉงสามารถ 
แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วย 
ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง 
(Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าทีÉการทำงานแตกต่างกัน 
2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนทีÉมนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสัÉง 
ทีÉถูกเขียนขึÊนเพืÉอสังÉให้เครืÉองคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชืÉอมระหว่างผู้ใช้เครืÉอง 
คอมพิวเตอร์และเครืÉองคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครืÉองคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย 
ซอฟต์แวร์สำหรับเครืÉองคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ ดังนีÊ 
3.บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึÉงมีความรู้เกีÉยวกับคอมพิวเตอร์ 
สามารถใช้งาน สังÉงานเพืÉอให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามทีÉต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนีÊ 
 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของ 
หน่วยงาน 
 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ทีÉศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ 
ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพืÉอให้โปรแกรมเมอร์เป็น 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า30
ผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงานโปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสัÉงงานเครืÉอง 
คอมพิวเตอร์เพืÉอให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังทีÉนักวิเคราะห์ระบบได้ 
เขียนไว้ 
 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทัวÉไป ซึÉงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครืÉอง และวิธีการใช้งาน 
โปรแกรม เพืÉอให้โปรแกรมทีÉมีอยู่สามารถทำงานได้ตามทีÉต้องการ 
ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบทีÉสำคัญอย่างหนึÉง การทำงานของ 
คอมพิวเตอร์จะเกีÉยวข้องกับข้อมูลตัÊงแต่การนำข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลทีÉสามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือ 
ทีÉเรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซึÉงข้อมูลเหล่านีÊอาจจะเป็นได้ทัÊงตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบ 
อืÉนๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ 
จำแนกหน้าทีÉของฮาร์ดแวร์ต่างๆสามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า (Input 
Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) 
อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) 
เป็นอุปกรณ์ทีÉเกีÉยวข้องกับการนำเข้าข้อมูลหรือชุดคำสังÉเข้ามายังระบบเพืÉอให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไป 
ได้ ซึÉงอาจจะเป็น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิÉง ภาพเคลืÉอนไหว เสียง เป็นต้น 
อุปกรณ์ประมวลผลหลักๆ มีดังนีÊ 
ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชืÉอหนึÉง 
ว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ทีÉมีความสำคัญมากทีÉสุดของฮาร์ดแวร์ 
เพราะมีหน้าทีÉในการประมวลผลข้อมูลทีÉผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสัÉงหรือ 
โปรแกรมทีÉผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง 
[พิมพ์ข้อความ] หน้า31
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน

More Related Content

What's hot

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดA-NKR Ning
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้าThakorn Yimtae
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิดคำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
คำกล่าวอวยพรวันคล้ายวันเกิด
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 

Similar to โครงงาน

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2fulk123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์jamiezaa123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์oiw1234
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)fulk123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกwadsana123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ jamiezaa123
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6amphaiboon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas55
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkarakas14
 

Similar to โครงงาน (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่ิอง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6งานนำเสนอบทที่6
งานนำเสนอบทที่6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
123
123123
123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 

โครงงาน

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ เสนอ อาจารย์ธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ จัดทำโดย นางสาวเกตน์สิริ ใสยราษฏร์ เลขทีÉ 3 พณ.1/12 นางสาวมัณฑนา สาระอาสิงห์ เลขทีÉ 17 พณ.1/12 นายรัฐเขตต์ ประจันเขตต์เลขทีÉ 31 พณ.1/12 นางสาวปรายฟ้า พร้อมสมุทร เลขทีÉ 34 พณ.1/12 รายงานเรืÉองนีÊเป็นส่วนหนึÉงของระบบปฏิบัติการเบืÊองต้น ภาคเรียนทีÉ 1 ปีการศึกษา 2557 วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น [พิมพ์ข้อความ] หน้า1
  • 2. เรืÉอง โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ ประเภทโครงงาน โครงงานเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ระดับชัÊน ปวช.1 โดย นางสาวเกตน์สิริ ใสยราษฏร์ นางสาวมัณฑนา สาระอาสิงห์ นายรัฐเขตต์ ประจันเขตต์ นางสาวปรายฟ้า พร้อมสมุทร วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น ครูทีÉปรึกษา คุณครูธิดารัตน์ พลพันธ์สิงห์ ปีการศึกษา 2557 บทคัดย่อ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ จัดทำขึÊนเพืÉอจุดประสงค์ 1. เพืÉอเผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 2.เพืÉอการศึกษาหาความรู้ทางด้านออนไลน์ เรืÉอง ระบบปฏิบัติการ การพัฒนาความก้าวของการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ [พิมพ์ข้อความ] หน้า2
  • 3. สารบัญ เรืÉอง หน้า บทคัดย่อ ก สารบัญ ข บททีÉ1 บทนำ - ทีÉมาและความสำคัญ 1 -วัตถุประสงค์ 2 บททีÉ2 เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง -ความสำคัญของระบบปฏิบัติการ 3-6 -ข้อมูลเกีÉยวกับระบบปฏิบัติการ 7-20 -อุปกรณ์ระบบปฏิบัติการ 21-33 บททีÉ3 ขัÊนตอนการดำเนินการ -ขัÊนตอนการดำเนินการ 34 บททีÉ 4ผลการดำเนินงานโครงงาน -ผลการดำเนินงานโครงงาน 35 บททีÉ 5สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ -สรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ 36 [พิมพ์ข้อความ] หน้า3
  • 4. บททีÉ1 บทนำ ทีÉมาและความสำคัญ ในยุคโลกาภิวัตน์ในปัจจุบันนีÊสถานการณ์โลกเปลีÉยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทางออนไลน์ ให้ความ ทันสมัยความก้าวหน้าในยุคออนไลน์ เพืÉอให้ความรวดเร็วในการศึกษาหาความรู้เกีÉยวกับเรืÉองทีÉเราจะค้นหา ในยุคโลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันนีÊสถานการณ์โลกเปลีÉยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ประเทศต่าง ๆ ให้ ความสำคัญ กับการรวมตัวกันในภูมิภาคเพืÉอเพิÉมอำนาจต่อรองและเพิÉมขีดความสามารถในการแข่งขันระหว่าง ประเทศ อาเซียนจึงต้องปรับตัวให้เท่าทันสถานการณ์เพืÉอให้สามารถรับมือกับความเปลีÉยนแปลงต่าง ๆ ทีÉ เกิดขึÊนได้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงกำหนดให้มีการสร้างประชาคมอาเซียนขึÊนมาทีÉประกอบไปด้วย 3 เสา หลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองความมัÉนคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและ วัฒนธรรม อาเซียน ภายในปี 2563 ซึÉงต่อมาได้เลืÉอนกำหนดเวลาสาหรับการรวมตัวกันให้เร็วขึÊนเป็นปี 2558 ประเทศ ไทยเป็นหนึÉงในประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน เพืÉอเป็นการเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ ประชาคม อาเซียนทีÉส่งผลต่อด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมือง วัฒนธรรม และ ความมัÉนคง คณะผู้จัดทาเล็งเห็น ความสำคัญ จึงสร้างโครงงานนีÊขึÊนมา โดยการสร้างวีดีทัศน์เกีÉยวกับประชาคมอาเซียนเพืÉอเป็นสืÉอให้ความรู้แก่ผู้ ทีÉสนใจ เกีÉยวกับประชาคมอาเซียนได้เข้าใจและเห็นความสำคัญของประชาคมอาเซียน วัตถุประสงค์ 1. เพืÉอเป็นสืÉอ ให้ความรู้แก่ผู้ทีÉสนใจเกีÉยวกับประชาคมอาเซียน ขอบเขตของโครงงาน สร้างสืÉอวีดีทัศน์ เพืÉอเผยแพร่ความรู้ เกีÉยวกับประชาคมอาเซียน โดยใช้โปรแกรม Final cut pro ในการตัดต่อวีดีทัศน์ โปรแกรมMotion5 ใช้สร้าง Effect และโปรแกรม Adobe sound booth cs5 ใน การบันทึกเสียง [พิมพ์ข้อความ] หน้า4
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพืÉอการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 2.เพืÉอเป็นสืÉอการเรียนรู้การศึกษาและความทันสมัยทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ ขอบเขตการศึกษา 1.ขอบเขตเรืÉองเนืÊอหา ระบบปฏิบัติการซึÉงประกอบไปด้วย ระบบปฏิบัติการ Operating System โปรแกรมประมวลผลคำ คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ ผลทีÉคาดว่าจะได้รับ 1.ได้เรียนรู้เกีÉยวกับการเผยแพร่ความรู้ทางออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ 2.ได้เอาเทคนิคการคิดเรืÉองระบบปฏิบัติการนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3.ได้นำความรู้ความสามารถเรืÉองระบบปฏิบัติการมาใช้ในชีวิตประจำวัน [พิมพ์ข้อความ] หน้า5
  • 6. บททีÉ2 เอกสารทีÉเกีÉยวข้อง การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรืÉองระบบปฏิบัติการ มีเอกสารทีÉเกีÉยวข้อง ดังนีÊ 1.ระบบปฏิบัติการ 2.ความหมายของระบบปฏิบัติการ 3.โปรแกรมประมวลผลคำ 4.คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ ระบบปฏิบัติการเบืÊองต้น ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรม (Software) ทีÉทำหน้าทีÉ ควบคุมการทำงานของ เครืÉองคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ทีÉต่อพ่วงกับเครืÉองคอมพิวเตอร์ ซึÉงระบบปฏิบัติการจะทำหน้าทีÉ เป็น ตัวกลางในการติดต่อกับ ฮาร์ดแวร์ของเครืÉองโดยตรงและโปรแกรมการใช้งานต่าง ๆ ความหมายของระบบปฏิบัติการ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือ Operating System เรียกสัÊน ๆ ว่า OS เป็นโปรแกรม ควบคุมการทำงาน ของเครืÉองคอมพิวเตอร์ทำหน้าทีÉควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ โดยทำ หน้าทีÉเป็นสืÉอกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครืÉองให้สามารถสืÉอสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับ โปรแกรมต่างๆโดยทัÉวไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประ ประยุกต์ และผู้ใช้ ระบบปฏิบัติการ(OperatingSystem )ระบบต่างๆ การทำงานของคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทำงานด้วยตัวเองได้ แต่จะต้องอาศัยโปรแกรมสัÉงให้คอมพิวเตอร์ [พิมพ์ข้อความ] หน้า6
  • 7. ทำงานซึÉงเรียกว่า“ซอฟต์แวร์” (Software) โดยทัวÉไปซอฟต์แวร์จะแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โปรแกรม สำเร็จรูป และโปรแกรมระบบปฏิบัติการซึÉงระบบปฏิบัติการนีÊจะมีหน้าทีÉ ในการจัดการและควบคุมการ ทำงานและอุปกรณ์ต่างๆ ของเครืÉองคอมพิวเตอร์ เช่น การจัดการเกีÉยวกับการแสดงผลบนจอภาพ รับข้อมูล ทางแป้นพิมพ์หรือเมาส์ การจัดการเกีÉยวกับแฟ้มข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลลงแฟ้มการติดตัÊงโปรแกรม นอกจากนีÊระบบปฏิบัติการยังช่วยสร้างส่วนติดต่อ ระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ (User interface) ให้ง่ายต่อ การใช้งาน ระบบปฏิบัติการมีอยู่หลาย ระบบ ซึÉงมีการพัฒนาจากผู้ผลิตหลายบริษัท แต่ทีÉสำคัญ ๆ มีดังนีÊ ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating System) คือ ระบบปฏิบัติการคืออะไร (What is an Operating system?) ระบบปฏิบัติการเป็นโปรแกรมควบคุมการทำงาน (ควบคุมการRun) ของโปรแกรมประยุกต์ ทำ หน้าทีÉโต้ตอบและเป็นสืÉอกลางระหว่างโปรแกรมประยุกต์และฮาร์ดแวร์ Hardware)ระบบปฏิบัติการ (Operating System :OS) เป็นซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ทีÉทำหน้าทีÉควบคุมการทำงานของเครืÉอง และอุปกรณ์ ควบคุมและสัÉงการให้ Hardware สามารถทำงานได้ เช่น ทำหน้าทีÉในการตรวจเช็คอุปกรณ์ Keyboard ขณะเปิดเครืÉอง ถ้าผู้ใช้ลืมเสียบสาย Keyboard ทีÉ port ด้านหลังของเครืÉองขณะทีÉซอฟต์แวร์ระบบ ตรวจสอบแล้วไม่พบอุปกรณ์เชืÉอมต่อดังกล่าวจะมีข้อความแจ้งเตือนความผิดพลาด “หน้าทีÉเป็นสืÉอกลางใน [พิมพ์ข้อความ] หน้า7
  • 8. การเชืÉอมการทำงานระหว่าง User ในการใช้โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) ของ user กับระบบ เครืÉองฯ อำนวยความสะดวกในการใช้งาน และเพิÉมประสิทธิÍภาพของระบบ Keyboard Error” โปรแกรมประมวลคำ โปรแกรมประมวลคำ หรือระบบจัดเตรียมเอกสาร(Document Preparation System) เป็นโปรแกรม คอมพิวเตอร์ประยุกต์ ใช้ในการผลิตเอกสารทีÉพิมพ์ออกมา ได้ ซึÊงรวมถึงกระบานการเขียน แก้ไข จักรูปแบบ และพิมพ์ การประมวลคำในการทำงานยุคแรกของคอมพิวเตอร์สำนักงานโปรแกรมประมวลคำเชิงพาณิชย์ทีÉ เป็นทีÉนิยมได้แก่ ไมโครซอฟท์ เวิร์ด เวิร์ดเพอร์เฟกต์ โปรแกรมโอเพนซอสร์ส เช่น โอเพนออฟ ฟิศดอตอ็อกไรเตอร์และเคเวิร์ด และโปรแกรมประมวลคำ เช่น โปรแกรมประมวลคำออนไลน์ เช่น กูเกิล ดอกส์ ประเภทของโปรแกรมประมวลผลคำ โปรแกรมประมวลผลคำแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. เวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคำทีÉทำงานด้านการพิมพ์เอกสาร การสร้างตาราง การจัดหน้าเอกสาร การจัดคอลัมน์ การจัดรูแบบอักษร (Font) สามารถใส่ภาพกราฟิก (Graphic) หรือแผนภูมิลงในเอกสาร โปรแกรมทีÉนิยมใช้ได้แก่โปรแกรมไมโคซอฟต์เวิร์ด(Microsoft Word) 2. เท็กซ์อิดิเตอร์(TextEditor) เป็นโปรแกรมประมวลผลคำขนาดเล็กใช้สำหรับการพิมพ์และแก้ไขเอกสาร คำสังÉต่างๆซึÉงมีรูปแบบการใช้งาน เช่นลักษณะตัวหนา (Bold) ตัวเอียง (Italic) ขนาดตัวอักษรไม่มาก [พิมพ์ข้อความ] หน้า8
  • 9. เหมือนกับเวิร์ดโพรเซสเซอร์แต่สามารถพิมพ์ข้อความในเอกสารเก็บบันทึกสัÉงพิมพ์ออกทางเครืÉองพิมพ์ได้เท็กซ์อิดิเตอร์ ทีÉนิยมใช้ ได้แก่ โปรแกรม WordPad โปรแกรม Notepad ความหมายของโปรแกรมประมวลผลคำ การประมวลผลคำ หรือ Word Processing คือ การนำคำหลาย ๆ คำมาเรียงกันให้อยู่ในรูปแบบทีÉ กำหนด ซึÉงเราสามารถกำหนดได้ว่าจะให้มีกีÉตัวอักษรต่อหนึÉงบรรทัด หรือหน้าละกีÉบรรทัด กัÊนระยะหน้า ระยะหลังเท่าใด และสามารถแก้ไขเพิÉมเติมได้อย่างสะดวกจนกว่าจะพอใจแล้วจึงสังÉพิมพ์เอกสาร นัÊน ๆ ออกมากีÉชุดก็ได้ โดยทุกชุดทีÉออกมาจากเครืÉองพิมพ์จะเหมือนกันทุกประการ เสมือนกับการถ่ายเอกสาร หรือการก๊อปปีÊ แต่ความจริงแล้วเอกสารทุกแผ่นจะถูกพิมพ์ออกมาจากเครืÉองพิมพ์อย่างสวยงามและ ประณีต เพราะปราศจากร่องรอยของการขูดลบใด ๆ และนัÉนย่อมหมายถึงการใช้เครืÉองคอมพิวเตอร์ในการทำงาน โดยเราจะต้องทำการพิมพ์ข้อมูลต่าง ๆ ซึÉงอาจเป็นเอกสาร บทความ รายงาน จดหมาย ฯลฯ เข้าไปเก็บไว้ ในหน่วยความจำของเครืÉองคอมพิวเตอร์ หลังจากนัÊนเราสามารถใช้คำสังÉต่าง ๆ เข้าไปจัดการแก้ไข ดัดแปลง หรือเพิÉมเติมข้อมูลเหล่านัÊนได้ตลอดเวลา โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสังÉทีÉทำให้เราสามารถ ทำงานกับเอกสารและสังÉงานต่าง ๆ นีÊได้ มีชืÉอเรียกว่า โปรแกรมเวิร์ดโปรเซสซิÉง(Word Processing) หรือ โปรแกรมประมวลผลคำ คุณลักษณะของโปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี 1. มีระบบขอความช่วยเหลือ (Help) โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีระบบขอความช่วยเหลือทีÉจะคอยช่วยให้ คำแนะนำช่วยเหลือให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เช่น หากเกิดปัญหากับการใช้งาน หรือสงสัยเกีÉยวกับวิธีการใช้งาน แทนทีÉจะต้องเปิดหาในหนังสือคู่มือการใช้งานของโปรแกรม ก็สามารถขอ ความช่วยเหลือจากโปรแกรมได้ทันที 2. มีระบบอัตโนมัติ โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดีควรจะมีระบบอัตโนมัติทีÉจะ ช่วยให้ผู้ใช้สามารถทำงานกับ เอกสารได้อย่างสะดวกสบายมากขึÊน เช่น การตรวจสอบคำผิดอัตโนมัติ (Spell) การจัดรูปแบบอัตโนมัติ [พิมพ์ข้อความ] หน้า9
  • 10. (Auto Format) การแก้ไขอัตโนมัติ (Auto Correct) มีระบบใส่ข้อความอัตโนมัติ ตรวจสอบการสะกดคำผิด ได้ทัÊงภาษาไทย และอังกฤษ เป็นต้น 3. การใช้ข้อมูลร่วมกันกับโปรแกรมอืÉน ๆ ได้ โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีความสามารถในการทำงานทีÉสร้างด้วยโปรแกรม อืÉน ๆ มาใช้งานร่วมกับโปรแกรมได้ เช่น การแทรกภาพ อักษรศิลป์ สัญลักษณ์ ผังองค์กร กราฟ ฯลฯ เป็นต้น นอกจากนีÊควรมีความสามารถในการดึงเอกสารจากโปรแกรม Word Processing อืÉน ๆ เข้ามาใช้ งานโปรแกรมได้ 4. เรียนรู้การใช้งานได้ง่าย การเรียนรู้วิธีการใช้งานโปรแกรม ไม่ควรจะต้องใช้เวลานานเกินไปสำหรับการเรียนรู้ ควรมีบทเรียนช่วยสอนหรือการ สาธิต (Demo) เกีÉยวกับขัÊนตอนต่าง ๆ ในการใช้งานของโปรแกรมเพืÉอให้ สามารถเรียนรู้การใช้งานโปรแกรมได้อย่างรวด เร็ว 5. มีระบบการค้นหาและแทนทีÉคำ โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีระบบการค้นหา และการแทนทีÉคำ เพืÉอให้ผู้ใช้ สามารถทีÉจะทำการค้นหาคำ เพืÉอทำการแก้ไข หรือทำการแทนทีÉได้สะดวกและรวดเร็วยิÉงขึÊน 6. จัดรูปแบบเอกสารได้สะดวก โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีเรืÉองมือทีÉช่วยให้การจัดรูปแบบของเอกสารได้ สะดวกและรวดเร็ว ซึÉงควรจะมีความสามารถทีÉจะจัดรูปแบบได้รวดเร็ว มีขัÊนตอนในการจัดรูปแบบทีÉไม่ ยุ่งยาก [พิมพ์ข้อความ] หน้า10
  • 11. 7. กำหนดรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบ หลายขนาด โปรแกรมประมวลผลคำทีÉดี ควรจะมีคุณสมบัติในการเปลีÉยนแปลง และกำหนดรูปแบบของ ตัวอักษร และขนาดของตัวอักษรได้หลายรูปแบบ รวมทัÊงตัวอักษรพิเศษต่าง ๆ ทีÉไม่มีบนแป้นพิมพ์ด้วย ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคำ 1. การจัดเก็บเอกสาร การจัดเก็บเอกสารทีÉพิมพ์ขึÊนด้วยกระดาษนัÊนอาจจะเกิดการสูญหาย หรือฉีกขาดได้ง่าย แต่การ จัดเก็บเอกสารในรูปของไฟล์ข้อมูลคอมพิวเตอร์นัÊนข้อมูลต่าง ๆ จะอยู่ครบถ้วน ตราบเท่าทีÉสืÉอทีÉใช้ในการ เก็บบันทึกข้อมูล เช่น ดิสก์เกตต์ ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี ฯลฯ อยู่ในสภาพทีÉดีและสมบูรณ์ 2. การค้นหาและเรียกใช้ข้อมูล โปรแกรมประมวลผลคำจะมีความสามารถในการค้นหาข้อ ความ หรือคำ ทีÉเรา ต้องการได้อย่างรวดเร็ว และยังสามารถค้นหาข้อความหรือคำและแทนทีÉด้วยข้อความหรือคำใหม่ได้โดย อัตโนมัติ ตลอดจนการเรียกใช้แฟ้มข้อมูลก็ทำได้โดยง่ายและสะดวก เพียงแต่ทราบชืÉอไฟล์และตำแหน่งทีÉ จัดเก็บก็สามารถเรียกใช้ไฟล์ได้โดยสะดวก รวดเร็วไม่ยุ่งยากเหมือนกับการค้นหาและเรียกใช้งานเอกสาร ธรรมดา ซึÉงช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 3. การทำสำเนา การทำสำเนาเอกสารด้วยเครืÉองพิมพ์ดีดจะต้องใช้กระดาษคาร์บอน และสามารถทำสำเนา ได้เพียงครัÊงละ 3 – 4 แผ่นเท่านัÊน ในขณะทีÉการทำสำเนาด้วยเครืÉองคอมพิวเตอร์สามารถทำได้อย่างไม่จำกัด และทุกสำเนามีความชัดเจนเท่าเทียมกัน 4. การเปลีÉยนแปลงแก้ไขเอกสาร การ พิมพ์เอกสารด้วยเครืÉองพิมพ์ดีด มักจะมีการพิมพ์ผิดอยู่เสมอ ๆ ทำให้เสียเวลาในการ แก้ไขเอกสาร ซึÉงเป็นเรืÉองทีÉค่อนข้างยุ่งยาก นอกจากนีÊเอกสารทีÉพิมพ์ด้วยเครืÉองพิมพ์ดีดก็ไม่สวยงาม [พิมพ์ข้อความ] หน้า11
  • 12. เท่าทีÉควร เพราะอาจปรากฏร่องรอยของการขูดลบ แต่ถ้าใช้คอมพิวเตอร์ในการพิมพ์เอกสาร ปัญหาต่าง ๆ เหล่านีÊก็จะหมดไป ซึÉงจะช่วยให้ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย 5. การจัดรูปแบบเอกสาร โปรแกรม ประมวลผลคำ มีความสามารถในการจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพเช่น การกัÊนระยะหน้า – ระยะหลัง การใส่ข้อความหัวกระดาษท้ายกระดาษ การจัดเอกสาร แบบหลายคอลัมน์ การจัดรูปแบบอัตโนมัติ (Auto Format) ฯลฯ ช่วยให้เกิดความสะดวกในการทำงาน เหนือกว่าการทำงานบนเอกสารธรรมดา ๆ การใช้เมาส์ เมาส์ ถือเป็นอุปกรณ์ทีÉสำคัญและจำเป็นมากในการใช้งานโปรแกรม Windows เพราะเมาส์จะ เป็นอุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการใช้งานต่างๆ เช่น เปิด – ปิดโปรแกรม, เปิดเมนูคำสังÉ, คลิกปุ่มคำสังÉ ในไดอะล็อกบ็อกซ์ เป็นต้น มีงานมากมายทีÉใช้เมาส์ในการออกคำสังÉ ดังนัÊนจึงมีการใช้เมาส์ในหลายลักษณะ นักเรียนจึงจำเป็นทีÉจะต้องเรียนรู้คำสัÉงต่างๆ ในการใช้เมาส์ทีÉถูกต้องด้วย ส่วนประกอบของเมาส์ เมาส์ทีÉส่วนประกอบสำคัญคือ ตัวถังหรือตัวทีÉเราจับใช้งาน ซึÉงประกอบด้วยเมาส์ปุ่มซ้ายและ เมาส์ปุ่มขวา ภายในตัวเมาส์จะมีลูกยางกลมๆ เป็นส่วนทีÉหมุนไปมาเวลาขยับเมาส์ เพืÉอบังคับทิศทางของ เมาส์พอยเตอร์ (Mouse Pointer) บนจอภาพ การคลิกเมาส์ ศัพท์ทีÉพบในการใช้เมาส์ เช่น การเลือกใช้เมนูหรือคำสัÉงบนหน้าจอ การลาก หรือเคลืÉอนย้าย วัตถุบนหน้าจอ คลิก (Click) เป็นการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์หรือเรียกอีกอย่างว่า “เมาส์พอยเตอร์” (Mouse Pointer) ไป ชีÊทีÉวัตถุ หรือเมนูทีÉต้องการแล้วกดปุ่มทางซ้ายของเมาส์ 1 ครัÊง แล้วปล่อย ใช้ในการเลือกวัตถุ หรือคำสังÉจาก เมนูบาร์ (Menu Bar) [พิมพ์ข้อความ] หน้า12
  • 13. ดับเบิÊลคลิก (Double Click) เป็นการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์ไปทีÉวัตถุ (Object) ทีÉต้องการแล้วกดปุ่ม ทางซ้าย 2 ครัÊง ติดต่อกันอย่างรวดเร็วอย่าเว้นช่องว่าง ใช้ในการเปิด หรือปิดหน้าต่าง หรือใช้ในการเปิด โปรแกรม โดยการดับเบิÊลคลิกทีÉรูปภาพสัญลักษณ์บนหน้าจอ แดรก (Drag) คือ การลากหรือเคลืÉอนย้ายวัตถุ (Object) โดยการเลืÉอนตัวชีÊเมาส์มาทีÉวัตถุทีÉ ต้องการแล้วปล่อยนิÊวจากปุ่มทีÉกดค้างไว้ ใช้ในการย้ายวัตถุต่างๆ บนหน้าจอ - การกดปุ่มเมาส์ด้านซ้าย เราจะเรียกว่า “คลิกซ้าย” (Left Click) - การกดปุ่มเมาส์ด้านขวา เราจะเรียกว่า “คลิกขวา” (Right Click) ส่วนประกอบของวินโดวส์ การทำงานกับวินโดวส์เราจะต้องทำงานกับหน้าต่างหรือจอภาพแต่ละจอภาพของโปรแกรมนัÊนๆ หน้าต่างของวินโดวส์มีส่วนประกอบต่างๆ ดังต่อไปนีÊ [พิมพ์ข้อความ] หน้า13
  • 14. 1. แถบชืÉอ (Title Bar) เป็นแถบทีÉใช้แสดงชืÉอโปรแกรมและชืÉอเอกสารทีÉกำลังเปิดใช้งาน 2. กล่องรายการคำสัÉง (Control Menu Box) ใช้ควบคุมหน้าต่าง เช่น ปิด เปิด ย่อ ขยาย เป็นต้น 3. แถบเมนูหรือเมนูบาร์ (Menu Bar) เป็นแถบทีÉบรรจุเมนูและคำสัÉงการใช้งาน แต่ละเมนูจะบรรจุคำสัÉง ย่อยไว้ภายใน 4. ปุ่มมินิไมซ์ (Minimize Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ในการย่อหน้าจอให้เล็กลงเป็นไอคอนไปฝังบนทาสก์ บาร์ 5. ปุ่มแมกซิไมซ์ (Maximize Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ในการขยายหน้าจอให้เต็มพืÊนทีÉบนจอภาพ หรือย่อลง เป็นหน้าต่างเล็กๆ ทีÉสามารถยืดหดได้ 6. ปุ่มปิดโปรแกรม (Close Button) เป็นปุ่มทีÉใช้ปิดโปรแกรม 7. แถบเลืÉอน (Scroll Bar) เป็นตัวทีÉใช้ในการเลืÉอนดูข้อมูลส่วนทีÉเหลือทีÉไม่สามารถแสดงให้ดูได้ภายใน หน้าจอเดียว บางครัÊงอาจเรียกว่า “สกรอลบาร์” 8. แถบสถานะ (Status Bar) เป็นแถบแสดงสถานะ (บอกให้ทราบว่ามีรายการทีÉแสดงอยู่กีÉรายการ) หรือ กำลังทำงานโปรแกรมใดอยู่บ้าง [พิมพ์ข้อความ] หน้า14
  • 15. 9. แถบเครืÉองมือ (Tool Bar) เป็นแถบทีÉรวบรวมปุ่มคำสังÉทีÉสามารถใช้งานได้เลย โดยไม่ต้องเข้าไปทีÉ เมนูบาร์ เพียงแค่คลิกทีÉปุ่มทีÉต้องการเท่านัÊน 10. เมนูรายการคำสังÉ (Menu Program) เป็นรายการคำสังÉพืÊนฐานทีÉตดตัÊงอยู่ในโปรแกรมวินโดวส์ 11. ทาสก์บาร์ (Taskbar) เป็นทีÉพักสำหรับโปรแกรมทีÉถูกยุบลงมา ประโยชน์ของโปรแกรมประมวลผลคำ 1. ช่วยให้การจัดเก็บและค้นหาเอกสารมีความรวดเร็วมากขึÊนเพราะงานเอกสารต่างๆ จะถูกจัดเก็บเป็น แฟ้มข้อมูลลงในสืÉอบันทึกข้อมูลต่างๆสามารถค้นหาและเรียกใช้งานได้สะดวกและรวดเร็ว 2. ช่วยลดปริมาณกระดาษทีÉจัดเก็บทำให้ประหยัดพืÊนทีÉในการเก็บเอกสารเพราะเอกสารจะถูกจัดเก็บ อยู่ในสืÉอบันทึกข้อมูลต่างๆทีÉมีขนาดเล็กแต่มีความจุในการเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก 3.ช่วยลดขัÊนตอนในการจัดทำเอกสาร เช่นถ้าต้องการส่งจดหมายทีÉมีข้อความเหมือนกันไปให้ผู้รับ จดหมายเป็นจำนวนมากอาจทำได้โดยการจัดทำจดหมายเวียนซึÉงมีขัÊนตอนการทำทีÉสะดวกและรวดเร็ว ซึÉงถ้าหากใช้เครืÉองพิมพ์ดีดก็อาจจะต้องเสียเวลาในการจัดทำมาก 4. ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการจัดพิมพ์เอกสาร 5. ช่วยสร้างเอกสารให้มีความสวยงาม ทัÊงนีÊเพราะผู้ใช้สามารถนำรูปภาพรูปวาด ภาพกราฟิกต่าง ๆ มา แทรกลงในเอกสารได้โดยตรง 6. ช่วยให้การทำงานกับเอกสารถูกต้องและมีข้อผิดพลาดลดน้อยลง เพราะผู้ใช้งานสามารถตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารได้โดยตรงบนหน้าจอจนพอใจจึงจะสัÉงพิมพ์ เอกสารออกทางเครืÉองพิมพ์ได้ หรือาจใช้ระบบการตรวจสอบคำผิดแบบอัตโนมัติ ในการตรวจสอบการสะกดคำหรือไวยากรณ์ของภาษาได้ คุณสมบัติโดยทัÉวไปของโปรแกรมประมวลคำ อีกทัÊงกำหนดขนาดและรูปแบบตัวอักษรได้หลายแบบและยังมีชุดตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ เพืÉอให้ผู้ใช้สามารถเลือกใช้ได้ตามความพอใจและตามความเหมาะสมของเอกสารส่วนการจัดหน้าเอกสาร [พิมพ์ข้อความ] หน้า15
  • 16. นัÊนโปรแกรมประมวลผลคำสามารถควบคุมการจัดวางหน้าใหม่โดยอัตโนมัติทุกครัÊงทีÉมีการแก้ไขเอกสาร เช่น การกำหนดให้ข้อความในบรรทัดเริÉมทีÉเส้นขอบซ้ายตรงกันหรือกำหนดให้ข้อความอยู่ตรงกลางของ บรรทัด เป็นต้น เครืÉองมือช่วยในการทำจดหมายเวียนและจ่าหน้าซองจดหมาย เครืÉองมือนีÊจะช่วยสร้างจดหมายหลัก ไว้หนึÉงฉบับพร้อมทัÊงกำหนดตำแหน่งทีÉจะเปลีÉยนแปลงข้อมูลและสร้างแฟ้มข้อมูลสำหรับบันทึกชืÉอและทีÉอยู่ ของผู้รับไว้เมืÉอสังÉพิมพ์จดหมายเวียนนัÊนหรือจ่าหน้าซองจดหมายโปรแกรมจะนำข้อมูลมาใส่ในตำแหน่ง ทีÉ กำหนดไว้ให้อย่างอัตโนมัติจนครบทุกคนในปัจจุบันโปรแกรมประมวลผลคำมีการพัฒนาไปอย่างมาก คือ มี เครืÉองมือต่าง ๆ ทีÉช่วยในการพิมพ์ หรือสร่างเอกสารเป็นพิเศษ เช่น งานสร้างตาราง การจัดแบ่งข้อความเป็น คอลัมน์ การตรวจสอบตัวสะกด การตรวจสอบไวยากรณ์การแทรกรูปภาพลงในเอกสาร การใช้งานร่วมกับ โปรแกรมอืÉน ๆและความสามารถในการสร้างเว็บเพจ ดังนัÊนโปรแกรมประมวลผลคำจึงถูกนำมาใช้แทนการ ใช้เครืÉองพิมพ์ดีด และสามารถใช้วานเสมือนโรงพิมพ์ตัÊงโต๊ะ ความรู้เบืÊองต้นเกีÉยวกับโปรแกรม Microsoft office word 2010 เริÉมต้นการใช้งาน Microsoft office word 2010 โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมจัดทำเอกสารทีÉมีความนิยมอย่างมาก หลายหน่วยงาน หลายองค์กร ทัÊงภาครัฐและเอกชนนิยมใช้โปรแกรมนีÊ ในการจัดทำเอกสารหลายรูปแบบ เช่น หนังสือ แผ่น พับ แผ่นปลิว โปสเตอร์ เป็นต้น จะเรียกได้ว่า เป็นโปรแกรมพืÊนฐานสำหรับสำนักงานทีÉมีความจำเป็นทีÉ บุคลากรขององค์กร หน่วยงานทัÊงภาครัฐและเอกชน ต้องมีความรู้ มีทักษะในการใช้โปรแกรมได้เป็นอย่างดี จึงจะช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพดียิÉงขึÊน [พิมพ์ข้อความ] หน้า16
  • 17. การเริÉมต้นใช้งาน Microsoft Word เริÉมด้วยการเปิดโปรแกรม Microsoft Word ดังนีÊ 1.คลิกทีÉ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010 2. จะเปิดหน้าต่างโปรแกรม Microsoft Word 2010 การสร้างเอกสารใหม่ การเริÉมต้นสร้างงานเอกสาร เราต้องเปิดหรือสร้างเอกสารใหม่ได้ขึÊนมาก่อน โดยมีขัÊนตอนดังนีÊ 1.ไปทีÉแฟ้ม >คลิกสร้าง 2. เปิดหน้าต่าง เลือกแม่แบบทีÉมีอยู่ >เอกสารเปล่า >คลิกสร้าง จะได้เอกสารเปล่าเพืÉอพร้อมทีÉจะพิมพ์งาน การเปิดเอกสารเก่าใช่งาน เมืÉอเรามีเอกสารเก่า หรือไฟล์งานเดิมทีÉบันทึกไว้เรียบร้อยแล้ว ต้องการทีÉจะเปิดขึÊนมาใช้งาน หรือ ทำงานต่อ มีวิธีการดังนีÊ 1.เปิดโปรแกรม Microsoft Word 2010 โดย คลิกทีÉ Start > Programs > Microsoft Office > Microsoft Word 2010 2.เมืÉอโปรแกรม word เปิดขึÊน คลิกทีÉแฟ้ม 3.โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง เปิด ให้เลือกว่าไฟล์ word อยู่ทีÉไหน มองหาใน จะตัÊงค่าทีÉ MY Document เสมอ เราต้องรู้ว่าไฟล์ word ของเราชืÉออะไร เก็บไว้ในไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ไหน เลือกทีÉอยู่ให้ถูก และเลือกไฟล์ แล้วคลิกเปิด 4.อีกวิธีการหนึÉง คือ เปิดโปรแกรม word คลิกทีÉแฟ้ม >จะมองเห็นเอกสารล่าสุด ถ้ามีชืÉอ เอกสารทีÉเราจะ ใช้งาน ก็คลิกเปิดได้เลย การบันทึกข้อมูล ในการทำงานโปรแกรม word เราควรจะคลิกปุ่มบันทึกบนแท็บ ไว้เรืÉอย ๆ เพืÉอป้องกันงานสูญหาย เนืÉองจาก ไฟดับ ปลัËกหลุด หรือเครืÉองแฮงค์ เป็นต้น การบันทึกงานครัÊงแรก ให้ทำงานขัÊนตอนดังนีÊ 1. คลิกทีÉไอคอนบันทึก โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง บันทึกเป็น [พิมพ์ข้อความ] หน้า17
  • 18. 2. ในช่องบันทึกใน ให้คลีÉสามเหลีÉยมเล็ก ๆ ลงมาเพืÉอเลือกบันทึกงานว่าเก็บไว้ทีÉใด ไดร์ฟไหน โฟลเดอร์ใด 3. ในช่องชืÉอแฟ้ม ให้ตัÊงชืÉอไฟล์ 4. แล้วคลิกบันทึก นอกจากนีÊ การบันทึกไฟล์งาน นอกจากจะคลิกทีÉปุ่มบันทึก แล้วยังสามารถบันทึกได้โดย 1. ไปทีÉแท็บ แฟ้ม>คลิกบันทึก 2. โปรแกรมจะเปิดหน้าต่าง เปิด ให้เลือกบันทึกใน ไดร์ฟหรือโฟลเดอร์ไหน และตัÊงชืÉอไฟล์ก่อนคลิก บันทึก เหมือนวิธีเดียวกับคลิกบันทึกจากปุ่มบันทึก 3. การบันทึกอีกรูปแบบหนึÉง คือ บันทึกเป็น ใช้ในกรณีทีÉเราต้องการเปลีÉยนทีÉเก็บ หรือเปลีÉยนชืÉอไฟล์การ แทรกข้อความ เมืÉอเราพิมพ์งานหรือจัดหน้าเอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่เราต้องการจะเพิÉมเติมข้อมูลทีÉคิดว่าเป็น ประโยชน์ เราสามารถทำได้ ดังนีÊ 1.คลิกตัÊงเคอร์เซอร์บริเวณทีÉจะเติมข้อความ 2. สำหรับข้อความทีÉจะเติมเราสามารถพิมพ์เติมเข้าไปได้เลยหรือไป copy มาจากทีÉอืÉนก็ได้ โดยป้ายเลือก บริเวณทีÉต้องการ ให้เกิดแถบสี แล้วคลิกขวา >คัดลอก 3. เมืÉอคัดลอกมาแล้ว เราจะนำมาวางตรงทีÉตัÊงเคอร์เซอร์ไว้ ให้คลิกขวา >เลือกตัวเลือกการวาง 4. การวางข้อความ/ภาพทีÉ copy มามีตัวเลือกการวางหลายลักษณะ ดังนีÊ -ใช่ชุดรูปแบบปลายทาง -รักษาการจัดรูปแบบตามต้นฉบับ -ผสานการจัดรูปแบบ -เก็บข้อความเท่านัÊน -รูปภาพ [พิมพ์ข้อความ] หน้า18
  • 19. -วางแบบพิเศษ การวางแบบพิเศษ สามารถเลือกรูปแบบเอกสารทีÉจะวางได้ตามตัวเลือก เมืÉอเลือกได้แล้วคลิกตกลง 5. เมืÉอเลือกลักษณะการวางได้ตามต้องการแล้ว ก็จะปรากฏข้อความทีÉ copy มา การเลืÉอนไปส่วนตัวต่าง ๆ ของเอกสาร การเลืÉอนไปยังส่วนต่าง ๆ ของเอกสาร ทำได้หลายวิธีการ ดังนีÊ 1. เลืÉอนขึÊน-ลง ไปยังส่วนต่าง ๆ หรือหน้าต่างของเอกสารโดยใช้ แถบเลืÉอน (Scroll Bar) 2. ใช้ลูกศรขึÊน และลูกศรลง ทีÉอยู่ด้านข้างทางขวามือของหน้าจอ คลิกขึÊน-ลง เพืÉอเลือก หน้าทีÉต้องการ 3. ใช้ลูกศรคลิกไปหน้าก่อน และหน้าถัดไป 4. คลิก วงกลมเพืÉอเลือกลักษณะการเรียกดู ดังภาพ 5. เลือกไปทีÉ ดังภาพ 6. จะเปิดหน้าต่าง ค้นหาและแทนทีÉ ให้กำหนดว่า จะไปหน้าไหน ให้ใส่หมายเลขหน้าตามทีÉ ต้องการ 7. สมมติว่า จะไปหน้า 1 ก็ใส่เลข 1 แล้วคลิกปุ่ม ไปทีÉการออกจากโปรแกรม [พิมพ์ข้อความ] หน้า19
  • 20. เมืÉอพิมพ์เอกสารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เราบันทึกงานเก็บตามขัÊนตอนและต้องการจะออกจากโปรแกรม มีหลายวิธีการดังนีÊ วิธีทีÉ1ไปทีÉแท็บแฟ้ม เลือกจบการทำงาน โปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจากโปรแกรม Microsoft Word วิธีทีÉ 2 คลิกทีÉเครืÉองหมายกากบาทสีแดง ทีÉมุมบนขวามือของหน้ากระดาษโปรแกรมจะปิดตัวเอง ออกจาก โปรแกรม Microsoft Word คอมพิวเตอร์สารสนเทศเพืÉองานอาชีพ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาททีÉสำคัญยิÉงต่อสังคมของมนุษย์เราในปัจจุบันแทบทุกวงการล้วนนำ คอมพิวเตอร์เข้าไปเกีÉยวข้องกับการใช้งานจนกล่าวได้ว่าคอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยทีÉสำคัญอย่างยิÉงต่อการ ดำเนินชีวิตและการทำงานในชีวิตประจำวันฉะนัÊนการเรียนรู้เพืÉอทำความรู้จักกับคอมพิวเตอร์จึงถือเป็นสิÉงทีÉ มีความจำเป็นเป็นอย่างยิÉงเพืÉอทีÉจะทราบว่าคอมพิวเตอร์คืออะไรทำงานอย่างไร และมีความสำคัญต่อมนุษย์ อย่างไรเราจึงควรทำการศึกษาในหัวข้อต่อไปนีÊ ความหมายของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า ComputareซึÉงหมายถึง การนับหรือ การคำนวณ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอร์ไว้ว่า "เครืÉองอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าทีÉเหมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆทีÉง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ [พิมพ์ข้อความ] หน้า20
  • 21. คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครืÉองจักรอิเล็กทรอนิกส์ทีÉถูกสร้างขึÊนเพืÉอใช้ทำงานแทนมนุษย์ในด้านการคิดคำนวณ และสามารถจำข้อมูลทัÊงตัวเลขและตัวอักษรได้เพืÉอการเรียกใช้งานในครัÊงต่อไป นอกจากนีÊยังสามารถ จัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูงโดยปฏิบัติตามขัÊนตอนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถ ในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่นการเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูลการจัดเก็บข้อมูลในตัวเครืÉอง และสามารถประมวลผลจากข้อมูลต่างๆ ได้ การทำงานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็ตามจะมีลักษณะการทำงานของส่วนต่างๆทีÉมีความสัมพันธ์กันเป็น กระบวนการ โดยมีองค์ประกอบพืÊนฐานหลักคือ Input Process และ output ซึÉงมีขัÊนตอนการทำงานดังภาพ ขัÊนตอนทีÉ 1 รับข้อมูลเข้า(Input) เริÉมต้นด้วยการนำข้อมูลเข้าเครืÉองคอมพิวเตอร์ ซึÉงสามารถผ่านทางอุปกรณ์ชนิดต่างๆ แล้วแต่ชนิดของ ข้อมูลทีÉจะป้อนเข้าไป เช่น ถ้าเป็นการพิมพ์ข้อมูลจะใช้แผงแป้นพิมพ์ (Keyboard) เพืÉอพิมพ์ข้อความหรือ โปรแกรมเข้าเครืÉองถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครืÉองอ่านพิกัดภาพกราฟิค (Graphics Tablet) โดยมีปากกา ชนิดพิเศษสำหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเล่นเกมก็จะมีก้านควบคุม (Joystick) สำหรับเคลืÉอนตำแหน่งของ การเล่นบนจอภาพเป็นต้น [พิมพ์ข้อความ] หน้า21
  • 22. ขัÊนตอนทีÉ 2 ประมวลผลข้อมูล (Process) เมืÉอนำข้อมูลเข้ามาแล้วเครืÉองจะดำเนินการกับข้อมูลตามคำสัÉงทีÉได้รับมาเพืÉอให้ได้ผลลัพธ์ตามทีÉ ต้องการการประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่างเช่น นำข้อมูลมาหาผลรวม นำข้อมูลมาจัดกลุ่ม นำข้อมูลมาหาค่ามากทีÉสุด หรือน้อยทีÉสุด เป็นต้น ขัÊนตอนทีÉ 3 แสดงผลลัพธ์ (Output) เป็นการนำผลลัพธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอุปกรณ์ทีÉกำหนดไว้ โดยทัวÉไปจะแสดงผ่าน ทางจอภาพ หรือเรียกกันโดยทัวÉไปว่า "จอมอนิเตอร์" (Monitor) หรือจะพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษโดยใช้ เครืÉองพิมพ์ก็ได้ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์ 1.หน่วยเก็บ(Storage)หมายถึงความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานานนับเป็น จุดเด่นทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำงานแบบอัตโนมัติของเครืÉองคอมพิวเตอร์ทัÊงเป็นตัวบ่งชีÊ ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองด้วย 2.ความเร็ว(Speed)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูล(ProcessingSpeed) โดยใช้เวลาน้อยเป็นจุดเด่นทางโครงสร้างทีÉผู้ใช้ทัวÉไปมีส่วนเกีÉยวข้องน้อยทีÉสุดเป็นตัวบ่งชีÊประสิทธิภาพของ เครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉสำคัญส่วนหนึÉงเช่นกัน [พิมพ์ข้อความ] หน้า22
  • 23. 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับ ขัÊนตอนได้อย่างถูกต้องและต่อเนืÉองอย่างอัตโนมัติโดยมนุษย์มีส่วนเกีÉยวข้องเฉพาะในขัÊนตอนการกำหนด โปรแกรมคำสังÉและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านัÊน 4. ความน่าเชืÉอถือ (Sure)หมายถึงความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ทีÉถูกต้องความน่าเชืÉอถือ นับเป็นสิÉงสำคัญทีÉสุดในการทำงานของเครืÉองคอมพิวเตอร์ ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ จากการทีÉคอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการทำให้ถูกนำมาใช้ประโยชน์ต่อการดำเนิน ชีวิตประจำวันในสังคมเป็นอย่างมาก ทีÉพบเห็นได้บ่อยทีÉสุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์ จดหมาย รายงานเอกสารต่างๆ ซึÉงเรียกว่างานประมวลผล ( Word processing ) นอกจากนีÊยังมีการประยุกต์ใช้ คอมพิวเตอร์ในด้านต่างๆ อีกหลายด้านดังต่อไปนีÊ 1. งานธุรกิจ เช่น บริษัท ร้านค้า ห้างสรรพสินค้าตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทำบัญชี งาน ประมวลคำและติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากนีÊงานอุตสาหกรรมส่วนใหญ่ก็ ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิตและการประกอบชิÊนส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงาน ประกอบรถยนต์ซึÉงทำให้การผลิตมีคุณภาพดีขึÊนบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคารทีÉให้บริการถอนเงิน ผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบีÊยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงิน ระหว่างบัญชีเชืÉอมโยงกันเป็นระบบเครือข่าย 2. งานวิทยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุขสามารถนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในนำมาใช้ในส่วนของ [พิมพ์ข้อความ] หน้า23
  • 24. การคำนวณทีÉค่อนข้างซับซ้อน เช่นงานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่อวกาศ หรือ งานทะเบียนการเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สำหรับการตรวจรักษาโรคได้ซึÉงจะให้ผลทีÉแม่นยำกว่าการตรวจ ด้วยวิธีเคมีแบบเดิมและให้การรักษาได้รวดเร็วขึÊน 3. งานคมนาคมและสืÉอสารในส่วนทีÉเกีÉยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ทีÉนังÉซึÉงมี การเชืÉอมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ทำให้สะดวกต่อผู้เดินทางทีÉไม่ต้องเสียเวลารอ อีกทัÊงยังใช้ ในการควบคุมระบบการจราจรเช่น ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศหรือในการสืÉอสารก็ใช้ ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพืÉอให้อยู่ในวงโคจรซึÉงจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสืÉอสารมี ความชัดเจน 4. งานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนิกและวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จำลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การรับแรงสัÉนสะเทือนของอาคารเมืÉอเกิดแผ่นดินไหวโดยคอมพิวเตอร์จะ คำนวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริงรวมทัÊงการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของ โครงการต่างๆ เช่น คนงาน เครืÉองมือผลการทำงาน 5. งานราชการ เป็นหน่วยงานทีÉมีการใช้คอมพิวเตอร์มากทีÉสุดโดยมีการใช้หลายรูปแบบ ทัÊงนีÊขึÊนอยู่กับ บทบาทและหน้าทีÉของหน่วยงานนัÊนๆ เช่นกระทรวงศึกษาธิการ มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผ่าน คอมพิวเตอร์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้จัดระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพืÉอเชืÉอมโยงไปยัง สถาบันต่างๆ , กรมสรรพากรใช้จัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น 6. การศึกษา ได้แก่การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอนซึÉงมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยการสอน ในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียนซึÉงทำให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียนการเก็บข้อมูลยืม และการส่งคืนหนังสือห้องสมุด [พิมพ์ข้อความ] หน้า24
  • 25. ลักษณะของคอมพิวเตอร์ เครืÉองคอมพิวเตอร์ถูกสร้างขึÊนมาเพืÉอให้มีจุดเด่น 4 ประการ เพืÉอทดแทนข้อจำกัดของมนุษย์มีดังนีÊ 1. หน่วยเก็บ (Storage) หมายถึง ความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมากและเป็นเวลานาน นับเป็นจุดเด่น ทางโครงสร้างและเป็นหัวใจของการทำงานแบบอัตโนมัติของเครืÉองคอมพิวเตอร์ ทัÊงเป็นตัวบ่งชีÊ ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองด้วย 2. ความเร็ว (Speed) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed)โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุดเด่นทางโครงสร้างทีÉผู้ใช้ทัวÉไปมีส่วน เกีÉยวข้องน้อยทีÉสุด เป็นตัวบ่งชีÊประสิทธิภาพของเครืÉอง คอมพิวเตอร์ทีÉสำคัญส่วนหนึÉงเช่นกัน เช่นกัน 3. ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับขัÊนตอนได้ อย่างถูกต้องและต่อเนืÉองอย่างอัตโนมัติ โดยมนุษย์มีส่วนเกีÉยวข้องเฉพาะในขัÊนตอนการกำหนดโปรแกรม คำสังÉและข้อมูลก่อนการประมวลผลเท่านัÊน 4. ความน่าเชืÉอถือ (Sure) หมายถึง ความสามารถในการประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ทีÉถูกต้อง ความน่าเชืÉอถือ นับเป็นสิÉงสำคัญทีÉสุดในการทำงานของเครืÉองคอมพิวเตอร์ ความสามารถนีÊเกีÉยวข้องกับโปรแกรมคำสังÉและ ข้อมูลทีÉมนุษย์กำหนดให้กับเครืÉองคอมพิวเตอร์โดยตรง กล่าวคือ หากมนุษย์ป้อนข้อมูลทีÉไม่ถูกต้องให้กับ เครืÉองคอมพิวเตอร์ก็ย่อมได้ผลลัพธ์ทีÉไม่ถูกต้องด้วยเช่นกัน คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ 1.ความเป็นอัตโนมัติ ( Self Acting) คอมพิวเตอร์ประดิษฐ์ขึÊนด้วยอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ มีการจัดเก็บ หรือแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าเพืÉอให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ การประมวลผลของ คอมพิวเตอร์จะทำงานแบบอัตโนมัติภายใต้คำสังÉทีÉได้ถูกกำหนดไว้ การทำงานดังกล่าวจะเริÉมตัÊงแต่การนำ ข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ออกมาให้อยู่ในรูปแบบทีÉมนุษย์สามารถเข้าใจได้ 2.ความเร็ว ( Speed) คอมพิวเตอร์จะประมวลผลงานด้วยความเร็วสูง ต่างจากการประมวลผลงานในอดีตทีÉ [พิมพ์ข้อความ] หน้า25
  • 26. อาศัยแรงงานของมนุษย์ซึÉงให้ผลลัพธ์ทีÉล่าช้ากว่ามาก งาน ๆ หนึÉงหากใช้แรงงานคนอาจเสียเวลาหลายวัน หรือหลายสัปดาห์ในการคิดและประมวลผล แต่หากนำเอาคอมพิวเตอร์มาใช้อาจลดเวลาและให้ผลลัพธ์ได้ เพียงไม่กีÉนาที ความรวดเร็วในการประมวลผลดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างมากต่อการดำเนินงานธุรกรรมใน ปัจจุบัน ผลลัพธ์ทีÉได้จากการคำนวณด้วยคอมพิวเตอร์ ช่วยให้ผู้บริหารนำเอาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ หรือดำเนินงานได้อย่างรวดเร็ว 3.ความถูกต้อง แม่นยำ ( Accuracy) คอมพิวเตอร์จะให้ผลลัพธ์ทีÉถูกต้อง แม่นยำและมีความผิดพลาดน้อย ทีÉสุด การใช้แรงงานคนเพืÉอประมวลผลเป็นเวลานาน อาจเกิดการผิดพลาดได้ เนืÉองมาจากความอ่อนล้า เช่น ลงรายการผิด หรือบันทึกข้อมูลผิดประเภท ตรงกันข้ามกับคอมพิวเตอร์ทีÉสามารถทำงานได้อย่างต่อเนืÉองและ ซํÊา ๆ แบบเดิมได้เป็นอย่างดี ทัÊงนีÊขึÊนอยู่กับการป้อนข้อมูลเข้าทีÉถูกต้องด้วย เนืÉองจากคอมพิวเตอร์ไม่สามารถ ทราบได้ว่าข้อมูลทีÉผู้ใช้ป้อนเข้ามานัÊนเป็นอย่างไร ผิดหรือถูก หากมีการป้อนข้อมูลผิด โปรแกรมหรือ ชุดคำสังÉอาจประมวลผลตามทีÉได้รับข้อมูลมาเช่นนัÊน ซึÉงความไม่ถูกต้องดังกล่าวไม่ใช่เป็นความผิดพลาด ของคอมพิวเตอร์ หากเป็นความผิดพลาดของฝัÉงผู้ใช้เอง เป็นต้น 4.ความน่าเชืÉอถือ ( Reliability) ข้อมูลทีÉได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ จะมีความน่าเชืÉอถือและ สามารถนำไปใช้ประโยชน์อืÉน ๆ ต่อไปได้ โดยเฉพาะในปัจจุบันมีฮาร์ดแวร์ทีÉผลิตขึÊนด้วยอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ มีการคิดค้นและพัฒนาให้ดีกว่ายุคสมัยก่อนทีÉมีการใช้เพียงแค่หลอดสุญญากาศ การ ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันจึงมีความผิดพลาดตํÉามากหรือแทบไม่เกิดขึÊนเลย นันÉคือการมีความ น่าเชืÉอถือสูงนัÉนเอง 5.การจัดเก็บข้อมูล ( Storage Capability) คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บข้อมูลได้หลากหลายรูปแบบ ทัÊง ข้อมูลทีÉเป็นข้อความธรรมดาหลาย ๆ ล้านตัวอักษร เพลง ภาพถ่าย วิดีโอ หรือไฟล์ข้อมูลขนาดใหญ่จำนวน มาก โดยมีหน่วยเก็บข้อมูลเฉพาะเป็นของตนเอง ช่วยให้การจัดเก็บและถ่ายเทข้อมูลเป็นไปได้โดยสะดวก มากยิÉงขึÊน ปัจจุบันมักพบเห็นหน่วยเก็บข้อมูลทีÉจุข้อมูลได้มากขึÊนและมีราคาทีÉถูกลงกว่าแต่ก่อนมาก 6.ทำงานซํÊา ๆ ได้ ( Repeatability) คอมพิวเตอร์สามารถทำงานซํÊา ๆ กันได้หลายรอบ ช่วยลดปัญหาเรืÉอง ความอ่อนล้าจากการทำงานของแรงงานคน นอกจากนัÊนยังลดความผิดพลาดต่าง ๆ ได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลทีÉ ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคำนวณและหาผลลัพธ์ได้อย่างรวดเร็ว การคิด หาผลลัพธ์ของงานทีÉมีลักษณะซํÊา ๆ แบบเดิม เช่น การบันทึกรายการบัญชีประจำวัน การลงรายการสินค้าเข้า ออกในระบบสินค้าคงคลังทีÉเกิดขึÊนเป็นประจำ จึงเหมาะอย่างยิÉงต่อการนำเอาคอมพิวเตอร์ไปใช้งาน [พิมพ์ข้อความ] หน้า26
  • 27. 7.การติดต่อสืÉอสาร ( Communication) คอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเชืÉอมโยงเข้าหากันเป็นเครือข่ายมาก ยิÉงขึÊน แต่เดิมอาจเป็นแค่เครืÉองคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลธรรมดา แต่ด้วยเทคโนโลยีทีÉก้าวหน้าไปมาก เรา สามารถเชืÉอมต่อคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครืÉองเข้าหากันเป็นเครือข่ายได้ ไม่ว่าจะเป็นเครือข่ายภายในองค์กร เล็ก ๆ หรือระดับเครือข่ายใหญ่ ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ทำให้การประมวลผลงานมีประสิทธิภาพมากยิÉงขึÊน และ ไม่จำกัดอยู่แค่พืÊนทีÉหนึÉงอีกต่อไป คุณสมบัติเหล่านีÊอาจพบเห็นได้ในคอมพิวเตอร์แบบใหม่ ๆ ทัวÉไป ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ 1.ประโยชน์ด้านการศึกษา ใช้เพืÉองานด้านการเรียนการสอนในหลายรูปแบบ เช่นการนำบทเรียน การผลิต สืÉอการสอน การใช้ซีดีรอมสำหรับการเรียนรู้ เกมเพืÉอการศึกษาหรือคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.ด้านความบันเทิง เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพืÉอความสนุกสนานบันเทิง เช่น เล่นเกม ฟังเพลงชมภาพยนต์ 3.ด้านการเงิน การธนาคาร ใช้ในการเบิก - ถอนเงินผ่านเครืÉอง ATM การโอนเงินด้วย ระบบด้วยอัตโนมัติโดยโอนเงินจากทีÉหนึÉงไปยังอีกทีÉหนึÉงโดยผ่านระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ การดูข้อมูลตลาดหุ้นการทำกราฟแสดงยอดขาย 4.ด้านการสืÉอสารและคมนาคม ใช้ในการติดต่อสืÉอสารผ่านอินเตอร์เน็ต สืÉอสาร ถ่ายทอดผ่านดาวเทียมการติดต่อสืÉอสารผ่านโทรศัพท์ การคมนาคมทางเรือ เครืÉองบินและรถไฟฟ้า 5.ด้านศิลปะและการออกแบบ เป็นการใช้คอมพิวเตอร์เพืÉอการวาดรูปการ์ตูนออกแบบงานและการสร้าง ภาพกราฟิกหรือการตกแต่งภาพในคอมพิวเตอร์ 6.ด้านการแพทย์ ปัจจุบันมีการนำคอมพิวเตอร์มาช่วยงานด้านการแพทย์หลายด้าน เช่น การเก็บประวัติคนไข้ การใช้ทดลองประกอบการวินิจฉันของแพทย์ใช้ในการตรวจ เลือก ตรวจปัสสาวะ การผ่าตัดหัวใจการตรวจสอบห้องพักผู้ป่วยว่าว่างหรือไม่ การ [พิมพ์ข้อความ] หน้า27
  • 28. ควบคุมแสงเลเซอร์การเอ็กซ์เรย์ การตรวจคลืÉนสมองคลืÉนหัวใจ เป็นต้น 7.ด้านวิทยาศาสตร์และเคมี ใช้ในการวิเคราะห์สูตรทางเคมีการคำนวณสูตรทาง วิทยาศาสตร์การค้นคว้าทดลองในห้องวิทยาศาสตร์ การคำนวณเกีÉยวกับระบบสุริยะ จักรวาลและการเกิดปรากฏการณ์เกีÉยวกับดวงดาวต่างๆ ประเภทของคอมพิวเตอร์ 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ทีÉมีประสิทธิภาพในการทำงานสูง มีขนาดของ ความจำมาก ตัÊงอยู่ในห้องทีÉสามารถปรับอุณหภูมิได้ การใช้งานคอมพิวเตอร์ประเภทนีÊมักในงานวิจัย เช่น การวิเคราะห์ภาพถ่ายดาวเทียม การพยากรณ์อากาศ และงานอืÉนๆทีÉมีการคำนวณซับซ้อน ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ 2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทีÉมีประสิทธิภาพรองลงมาจาก ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นเครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉสามารถเชืÉอมโยงกับคอมพิวเตอร์ปลายทางได้จำนวนมาก ทำ ให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้พร้อมกันหลายร้อยคน จึงมักใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ [พิมพ์ข้อความ] หน้า28
  • 29. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลางทีÉมีประสิทธิภาพน้อยกว่า เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ แต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ มักพบในองค์กรทีÉใช้งานเฉพาะด้าน เช่น ประมวลผล งานบัญชี โดยนำไปเชืÉอมต่อกับเครืÉองปลายทางได้หลายคน โดยมีการประมวลผลทีÉอยู่ส่วนกลาง แล้วส่งผล ไปทีÉเครืÉองปลายทาง โดยทีÉเครืÉองปลายทางไม่ต้องประมวลผลเอง มินิคอมพิวเตอร์ 4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ทีÉใช้งานอย่างแพร่หลาย ทีทัÊงคอมพิวตอร์ส่วน บุคคลแบบตัÊงโต๊ะ ซึÉงเหมาะกับการทำงานในสำนักงาน สถานศึกษา ทีÉบ้าน หรือคอมพิวเตอร์แบบพกพาไป ในสถานทีÉต่างๆได้ เช่น โน๊ตบุ๊ก เป็นต้น [พิมพ์ข้อความ] หน้า29
  • 30. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ เครืÉองคอมพิวเตอร์ทีÉเราเห็นๆ กันอยู่นีÊเป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหนึÉงของระบบคอมพิวเตอร์เท่านัÊน แต่ถ้า ต้องการให้เครืÉองคอมพิวเตอร์แต่ละเครืÉองสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามทีÉเราต้องการนัÊน จำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพืÊนฐาน 4 ประการดังนีÊ 1.ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ทีÉประกอบขึÊนเป็นเครืÉองคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่าง สามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครืÉองพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึÉงสามารถ แบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทำงาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วย ประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าทีÉการทำงานแตกต่างกัน 2.ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนทีÉมนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคำสัÉง ทีÉถูกเขียนขึÊนเพืÉอสังÉให้เครืÉองคอมพิวเตอร์ทำงาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชืÉอมระหว่างผู้ใช้เครืÉอง คอมพิวเตอร์และเครืÉองคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครืÉองคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับเครืÉองคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ ดังนีÊ 3.บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึÉงมีความรู้เกีÉยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สังÉงานเพืÉอให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามทีÉต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนีÊ  ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของ หน่วยงาน  นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ทีÉศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทำการวิเคราะห์ ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพืÉอให้โปรแกรมเมอร์เป็น [พิมพ์ข้อความ] หน้า30
  • 31. ผู้เขียนโปรแกรมให้กับระบบงานโปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสัÉงงานเครืÉอง คอมพิวเตอร์เพืÉอให้ทำงานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังทีÉนักวิเคราะห์ระบบได้ เขียนไว้  ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทัวÉไป ซึÉงต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครืÉอง และวิธีการใช้งาน โปรแกรม เพืÉอให้โปรแกรมทีÉมีอยู่สามารถทำงานได้ตามทีÉต้องการ ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) ข้อมูล (Data) เป็นองค์ประกอบทีÉสำคัญอย่างหนึÉง การทำงานของ คอมพิวเตอร์จะเกีÉยวข้องกับข้อมูลตัÊงแต่การนำข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลทีÉสามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือ ทีÉเรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซึÉงข้อมูลเหล่านีÊอาจจะเป็นได้ทัÊงตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบ อืÉนๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ จำแนกหน้าทีÉของฮาร์ดแวร์ต่างๆสามารถแบ่งเป็นส่วนสำคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นำข้อมูลเข้า (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage Device) อุปกรณ์แสดงผล (Output Device) เป็นอุปกรณ์ทีÉเกีÉยวข้องกับการนำเข้าข้อมูลหรือชุดคำสังÉเข้ามายังระบบเพืÉอให้คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไป ได้ ซึÉงอาจจะเป็น ตัวเลข ตัวอักษร ภาพนิÉง ภาพเคลืÉอนไหว เสียง เป็นต้น อุปกรณ์ประมวลผลหลักๆ มีดังนีÊ ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชืÉอหนึÉง ว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ทีÉมีความสำคัญมากทีÉสุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าทีÉในการประมวลผลข้อมูลทีÉผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นำเข้าข้อมูลตามชุดคำสัÉงหรือ โปรแกรมทีÉผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง [พิมพ์ข้อความ] หน้า31