SlideShare a Scribd company logo
ภาษา C
ภาษาซี เป็นการเขียนโปรแกรมพื้นฐาน
สามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้มากมาย
ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทางคณิตศาสตร์
โปรแกรมทางไฟฟ้ า อิเล็กทรอนิกส์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB
(The MathWorks - MATLAB and Simulink for
Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้สามารถพิมพ์
ชุดคาสั่งภาษาซีเพิ่มเข้าไปในโปรแกรมคานวณทาง
คณิตศาสตร์ประมวลผลทางสัญญาณไฟฟ้ า ทาง
ไฟฟ้ าสื่อสารก็ได้ ทาให้ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี
ยิ่งขึ้น
ประวัติภาษาซี
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูง
และระดับต่า ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis
Ritche) แห่งห้องทดลองเบลล
(BellLaboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดย
เดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL :
Basic Combine Programming Language) ซึ่ง
พัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การ
ออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มี
จุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสาหรับใช้เขียนโปรแกรม
ปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะ
เห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของ
ภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและ
ภาษาระดับต่า ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและ
มีโครงสร้างการควบคุมการทางานของโปรแกรม
เป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ
จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูงในด้านที่ถือว่าภาษาซี
เป็ภาษาระดับต่าเพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงใน
ระดับต่าที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสอง
ด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน
ความสามารถระดับต่าทาให้ภาษาซีสามารถใช้
เฉพาะเครื่องได้และความสามารถระดับสูง
วิวัฒนาการของภาษาซี
- ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken
Thompson ซึ่งทางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง
ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได้ และยังมี
ข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก
ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards)
- ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken
Thompson ได้สร้างภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็นที่
นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก
- ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M.
Ritchie ได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า TheC
Programming Language และหนังสือเล่มนี้ทาให้
บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการเขียน
โปรแกรมมากขึ้น
- แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8
bit ภายใต้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่ง
ในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญใน
การนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และ
มีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย
- ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่ง
ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนา
ภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและความสามารถ
ของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่
แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนด
วัตถุเป้ าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented
Programming)

More Related Content

What's hot

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
พลอย ศิวพร
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
nattawt
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
Sun ZaZa
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
Montita Kongmuang
 
Kk
KkKk

What's hot (7)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
 
Kk
KkKk
Kk
 

Viewers also liked

IDRC14-ppp-Gowan_Monica
IDRC14-ppp-Gowan_MonicaIDRC14-ppp-Gowan_Monica
IDRC14-ppp-Gowan_Monica
Global Risk Forum GRFDavos
 
επιστολη
επιστοληεπιστολη
επιστολη
alexadra71
 
οικογενεια λεξεων
οικογενεια λεξεωνοικογενεια λεξεων
οικογενεια λεξεων
alexadra71
 
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτωνEπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
rodanthi_x
 
αφήγηση ιστορίας
αφήγηση ιστορίαςαφήγηση ιστορίας
αφήγηση ιστορίαςNansy Tzg
 
Γράφω το δικό μου παραμύθι
Γράφω το δικό μου παραμύθιΓράφω το δικό μου παραμύθι
Γράφω το δικό μου παραμύθιthalianikaki
 
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
Παπαδημητρακοπούλου Τζένη
 
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
Παπαδημητρακοπούλου Τζένη
 
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣ
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣ
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣGeorge Konstantinou
 

Viewers also liked (10)

IDRC14-ppp-Gowan_Monica
IDRC14-ppp-Gowan_MonicaIDRC14-ppp-Gowan_Monica
IDRC14-ppp-Gowan_Monica
 
επιστολη
επιστοληεπιστολη
επιστολη
 
οικογενεια λεξεων
οικογενεια λεξεωνοικογενεια λεξεων
οικογενεια λεξεων
 
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτωνEπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
Eπίθετα- Oυσιαστικά Πακέτο δραστηριοτήτων
 
αφήγηση ιστορίας
αφήγηση ιστορίαςαφήγηση ιστορίας
αφήγηση ιστορίας
 
Γράφω το δικό μου παραμύθι
Γράφω το δικό μου παραμύθιΓράφω το δικό μου παραμύθι
Γράφω το δικό μου παραμύθι
 
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
Καρτέλες δίψηφων για την Α΄τάξη του δημοτικού έγχρωμο (https://blogs.sch.gr/s...
 
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
(https://blogs.sch.gr/sfaira-sti-deutera/) (http://blogs.sch.gr/goma/) Βελτιω...
 
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣ
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣ
ΧΡΟΝΟΙ ΡΗΜΑΤΩΝ -ΚΑΤΑΛΗΞΕΙΣ
 
Η χρήση της γενικής
Η χρήση της γενικήςΗ χρήση της γενικής
Η χρήση της γενικής
 

Similar to ภาษาซี

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
พลอย ศิวพร
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
พลอย ศิวพร
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
นู๋ผึ้ง สุภัสสรา นวลสม
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
Chatman's Silver Rose
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมSarocha Makranit
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
koyjanpang
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณNarongrit Hotrucha
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
KANLAYAONJU
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
naraporn buanuch
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้วManeerat Artgeaw
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2
del1997
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซี
del1997
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
Tharathep Chumchuen
 

Similar to ภาษาซี (20)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษา.ซี
ภาษา.ซีภาษา.ซี
ภาษา.ซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
 
ความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซีความเป็นมาของภาษาซี
ความเป็นมาของภาษาซี
 
งาน #1
งาน #1งาน #1
งาน #1
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
นันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณนันทวัน สิงหาคุณ
นันทวัน สิงหาคุณ
 
Pawina5 4 20
Pawina5 4 20Pawina5 4 20
Pawina5 4 20
 
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-76 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
6 บุญเกียรติ-ปวช.3-7
 
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์  อาจแก้วน.ส. มณีรัตน์  อาจแก้ว
น.ส. มณีรัตน์ อาจแก้ว
 
ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2ประวัติ ภาษาซี 2
ประวัติ ภาษาซี 2
 
ประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซีประวัติ ภาษาซี
ประวัติ ภาษาซี
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภาษาC
ภาษาCภาษาC
ภาษาC
 

Recently uploaded

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ภาษาซี

  • 1. ภาษา C ภาษาซี เป็นการเขียนโปรแกรมพื้นฐาน สามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้มากมาย ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ทางคณิตศาสตร์ โปรแกรมทางไฟฟ้ า อิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB (The MathWorks - MATLAB and Simulink for Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้สามารถพิมพ์ ชุดคาสั่งภาษาซีเพิ่มเข้าไปในโปรแกรมคานวณทาง คณิตศาสตร์ประมวลผลทางสัญญาณไฟฟ้ า ทาง ไฟฟ้ าสื่อสารก็ได้ ทาให้ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี ยิ่งขึ้น ประวัติภาษาซี ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูง และระดับต่า ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห้องทดลองเบลล (BellLaboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดย เดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่ง พัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การ ออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มี จุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสาหรับใช้เขียนโปรแกรม ปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะ เห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของ ภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและ ภาษาระดับต่า ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและ มีโครงสร้างการควบคุมการทางานของโปรแกรม เป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูงในด้านที่ถือว่าภาษาซี เป็ภาษาระดับต่าเพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงใน ระดับต่าที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสอง ด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่าทาให้ภาษาซีสามารถใช้ เฉพาะเครื่องได้และความสามารถระดับสูง วิวัฒนาการของภาษาซี - ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได้ และยังมี ข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards) - ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้างภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็นที่ นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก - ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า TheC Programming Language และหนังสือเล่มนี้ทาให้ บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการเขียน โปรแกรมมากขึ้น - แต่เดิมภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่ง ในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนาเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาคัญใน การนามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา และ มีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย - ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่ง ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้พัฒนา ภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและความสามารถ ของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียนโปรแกรมแบบกาหนด วัตถุเป้ าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented Programming)