SlideShare a Scribd company logo
ภาษา C 
ภาษาซี เป็นการเขียน โปรแกรมพื้นฐาน สามารถ ประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้ มากมาย ระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ ทางคณิตศาสตร์ โปรแกรมทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB (The MathWorks - MATLAB and Simulink for Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้ สามารถพิมพ์ชุดคาสั่งภาษาซี เพิ่มเข้าไปในโปรแกรม คานวณทางคณิตศาสตร์ ประมวลผลทาง สัญญาณไฟฟ้า ทางไฟฟ้า สื่อสารก็ได้ ทาให้ ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี ยิ่งขึ้นครับ และยังมีโปรแกรม อื่นๆ ที่มีภาษาซีประยุกต์ใช้ กันอีกมากมาย ไม่สามารถ นามากล่าวได้หมด ถึงแม้ว่า ภาษาซีอาจจะดูเก่าไปสาหรับ คนอื่น แต่ผมว่าควรศึกษา ภาษาซีที่เป็นรากฐานของ ภาษาอื่นๆเสียก่อน เพราะ ภาษา C++ จาวา (Java) ฯลฯ และ ระบบลีนุกซ์ เป็นระบบ ที่ถูกพัฒนามาจากระบบ ยูนิกซ์ซึ่งก็เป็นที่รู้กันทั่วไปว่า ภาษาคู่บารมีของ ระบบปฏิบัติการตระกูล ยูนิกซ์มีการพัฒนามาจาก ภาษาซีเช่นกัน 
ภาษาซีเป็นภาษาที่ บางคนเรียกว่าภาษา ระดับกลาง คือไม่เป็น ภาษาระดับต่าแบบ แอสเซมบลีหรือเป็นภาษาสูง แบบ เบสิค โคบอล ฟอร์ แทรน หรือ ปาสคาล เนื่องจากคุณสามารถจะ จัดการเกี่ยวกับเรื่องของพอยน์ เตอร์ได้อย่างอิสระ และบางที คุณก็สามารถควบคุม ฮาร์ดแวร์ผ่านทาง ภาษาซี ได้ ราวกับคุณเขียนมันด้วย ภาษาแอสเซมบลี ด้วยข้อดี เหล่านี้เองทาให้โปรแกรมที่ ถูกเขียนด้วยภาษาซีมีความเร็ว ในการปฏิบัติงานสูงกว่าภาษา ทั่วๆไป แต่ก็ต้องแลกกับการ เรียนรู้และการฝึกฝนอย่าง หนัก
ประวัติภาษาซี 
ภาษาซีเป็นภาษาที่ ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูง และระดับต่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มล รัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้ หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่ง พัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบ และพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็น ภาษาสาหรับใช้เขียน โปรแกรมปฏิบัติการระบบ ยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็น ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของ ภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็น ภาษาระดับสูงและ ภาษาระดับต่า ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมี โครงสร้างการควบคุมการ ทางานของโปรแกรมเป็น อย่างเดียวกับภาษาของ โปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึง ถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ใน ด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็น ภาษาระดับต่า เพราะภาษาซีมี วิธีการเข้าถึงในระดับต่าที่สุด ของฮาร์ดแวร์ ความสามารถ ทั้งสองด้านของภาษานี้เป็น สิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่าทาให้ ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะ เครื่องได้ และความสามารถ ระดับสูง ทาให้ภาษาซีเป็น อิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซี สามารถสร้างรหัสภาษาเครื่อง ซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้น ได้เอง ทาให้โปรแกรมที่เขียน ด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่อง หนึ่ง สามารถนาไปใช้กับอีก เครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับ การใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของ การเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ 
ภาษาซี 
สมาชิกในกลุ่ม 
นางสาวบุษบา สุขมีชัย ม.5/4 เลขที่ 24 
นางสาวปิยนันท์ พรรณรังษี 
ม.5/4 เลขที่ 29

More Related Content

What's hot

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
tanawatsangtawan
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
nattawt
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)nattawt
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Tharathep Chumchuen
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Siriporn Roddam
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
Sun ZaZa
 
Kk
KkKk

What's hot (7)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา (1)
ภาษา (1)ภาษา (1)
ภาษา (1)
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
Kk
KkKk
Kk
 

Similar to Butsaba5 4 20

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
พลอย ศิวพร
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
พลอย ศิวพร
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
Wasan Larreng
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานjokercoke
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์Pokypoky Leonardo
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
Supitcha Kietkittinan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
jamiezaa123
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]Nattapon
 

Similar to Butsaba5 4 20 (20)

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษา.ซี
ภาษา.ซีภาษา.ซี
ภาษา.ซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
นาย ทรงพล สายทอง-58170105-กลุ่ม-01
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
650 1
650 1650 1
650 1
 
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
บทที่ 3. คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
C0143-05
C0143-05C0143-05
C0143-05
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
Cloud computing
Cloud computingCloud computing
Cloud computing
 
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
บทที่ 3 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ [slide]
 

Recently uploaded

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 

Recently uploaded (6)

โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 

Butsaba5 4 20

  • 1. ภาษา C ภาษาซี เป็นการเขียน โปรแกรมพื้นฐาน สามารถ ประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้ มากมาย ระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ ทางคณิตศาสตร์ โปรแกรมทางไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB (The MathWorks - MATLAB and Simulink for Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้ สามารถพิมพ์ชุดคาสั่งภาษาซี เพิ่มเข้าไปในโปรแกรม คานวณทางคณิตศาสตร์ ประมวลผลทาง สัญญาณไฟฟ้า ทางไฟฟ้า สื่อสารก็ได้ ทาให้ ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี ยิ่งขึ้นครับ และยังมีโปรแกรม อื่นๆ ที่มีภาษาซีประยุกต์ใช้ กันอีกมากมาย ไม่สามารถ นามากล่าวได้หมด ถึงแม้ว่า ภาษาซีอาจจะดูเก่าไปสาหรับ คนอื่น แต่ผมว่าควรศึกษา ภาษาซีที่เป็นรากฐานของ ภาษาอื่นๆเสียก่อน เพราะ ภาษา C++ จาวา (Java) ฯลฯ และ ระบบลีนุกซ์ เป็นระบบ ที่ถูกพัฒนามาจากระบบ ยูนิกซ์ซึ่งก็เป็นที่รู้กันทั่วไปว่า ภาษาคู่บารมีของ ระบบปฏิบัติการตระกูล ยูนิกซ์มีการพัฒนามาจาก ภาษาซีเช่นกัน ภาษาซีเป็นภาษาที่ บางคนเรียกว่าภาษา ระดับกลาง คือไม่เป็น ภาษาระดับต่าแบบ แอสเซมบลีหรือเป็นภาษาสูง แบบ เบสิค โคบอล ฟอร์ แทรน หรือ ปาสคาล เนื่องจากคุณสามารถจะ จัดการเกี่ยวกับเรื่องของพอยน์ เตอร์ได้อย่างอิสระ และบางที คุณก็สามารถควบคุม ฮาร์ดแวร์ผ่านทาง ภาษาซี ได้ ราวกับคุณเขียนมันด้วย ภาษาแอสเซมบลี ด้วยข้อดี เหล่านี้เองทาให้โปรแกรมที่ ถูกเขียนด้วยภาษาซีมีความเร็ว ในการปฏิบัติงานสูงกว่าภาษา ทั่วๆไป แต่ก็ต้องแลกกับการ เรียนรู้และการฝึกฝนอย่าง หนัก
  • 2. ประวัติภาษาซี ภาษาซีเป็นภาษาที่ ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูง และระดับต่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มล รัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้ หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่ง พัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบ และพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็น ภาษาสาหรับใช้เขียน โปรแกรมปฏิบัติการระบบ ยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็น ตัวอักษรต่อจากบี (B) ของ ภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็น ภาษาระดับสูงและ ภาษาระดับต่า ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมี โครงสร้างการควบคุมการ ทางานของโปรแกรมเป็น อย่างเดียวกับภาษาของ โปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึง ถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ใน ด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็น ภาษาระดับต่า เพราะภาษาซีมี วิธีการเข้าถึงในระดับต่าที่สุด ของฮาร์ดแวร์ ความสามารถ ทั้งสองด้านของภาษานี้เป็น สิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่าทาให้ ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะ เครื่องได้ และความสามารถ ระดับสูง ทาให้ภาษาซีเป็น อิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซี สามารถสร้างรหัสภาษาเครื่อง ซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้น ได้เอง ทาให้โปรแกรมที่เขียน ด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่อง หนึ่ง สามารถนาไปใช้กับอีก เครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับ การใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของ การเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซี สมาชิกในกลุ่ม นางสาวบุษบา สุขมีชัย ม.5/4 เลขที่ 24 นางสาวปิยนันท์ พรรณรังษี ม.5/4 เลขที่ 29