SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ภ า ษ า ซี เ ป็น ก า ร เ ขีย น โ ป ร แ ก ร ม 
พื้นฐาน สามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้มากมาย 
ระ บบ ปฏิบัติกา รคอมพิวเตอร์ ทาง คณิตศาสตร์ 
โ ป ร แ ก ร ม ท า ง ไ ฟ ฟ้ า อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ 
ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB (The 
MathWorks - MATLAB and Simulink for 
Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้สามารถพิมพ์ 
ชุดคาสั่งภาษาซีเพิ่มเข้าไปในโปรแกรมคานวณทาง 
คณิตศาสตร์ ประมวลผลทางสัญญาณไฟฟ้า ทาง 
ไฟฟ้าสื่อสารก็ได้ ทาให้ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี 
ยิ่ง ขึ้น ค รับ แ ล ะ ยัง มีโ ป ร แ ก ร ม อื่น ๆ ที่มีภ า ษ า ซี 
ประยุกต์ใช้กันอีกมากมาย ไม่สามารถนามากล่าวได้ 
หมด ถึงแม้ว่าภาษาซีอาจจะดูเก่าไปสาหรับคนอื่น แต่ 
ผมว่าควรศึกษาภาษาซีที่เป็นรากฐานของภาษาอื่นๆ 
เสียก่อน เพราะภาษา C++ จาวา (Java) ฯลฯ และ 
ระบบลีนุกซ์ เป็นระบบที่ถูกพัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ 
ซึ่ง ก็เ ป็น ที่รู้กัน ทั่ว ไ ป ว่า ภา ษ า คู่ บ า ร มีข อ ง 
ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์มีการพัฒนามาจาก 
ภาษาซีเช่นกัน 
ระดับ กลาง คือไม่เ ป็นภาษาระดับต่าแบ บ 
แอสเซมบลีหรือเป็นภาษาสูงแบบ เบสิค โคบอล 
ฟอร์แทรน หรือ ปาสคาล เนื่องจากคุณสามารถจะ 
จัดการเกี่ยวกับเรื่องของพอยน์เตอร์ได้อย่างอิสระ 
และบางทีคุณก็สามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ผ่านทาง 
ภาษาซี ได้ราวกับคุณเขียนมันด้วภาษาแอสเซมบลี 
ด้วยข้อดีเหล่านี้เองทาให้โปรแกรมที่ถูกเขียนด้วย 
ภาษาซีมีความเร็วในการปฏิบัติงานสูงกว่าภาษา 
ทั่วๆไป แต่ก็ต้องแลกกับการเรียนรู้และการฝึกฝน 
อย่างหนัก 
ตัวอย่างภาษาซี 
ประวัติภาษาซี 
ภาษาซี เป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษา ระดับสูง 
และระดับต่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี(Dennis 
Ritche) 
Dennis Ritche 
แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่ 
เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเ ดนนิสได้ ใ ช้ 
หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic 
CombineProgramming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้น 
โดย เคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและ 
พัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็น 
ภาษาสาหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบ 
ยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) 
เป็นตัวอัก ษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL 
ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่า 
ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้าง 
การควบคุมการทางานของโปรแกรมเป็นอย่าง 
เดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึง ถือว่า 
เป็นภาษาระดับ สูง ใ นด้านที่ถือว่าภาษาซีเ ป็น 
ภาษาระดับต่า เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงใน 
ระดับต่าที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสอง 
ด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน 
ประวัติความเป็นมาของภาษาซี
ความสามารถระดับต่าทาให้ภาษาซีสามารถใช้ เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทาให้ ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถ สร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้น ได้เอง ทาให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบน เครื่องหนึ่ง สามารถนาไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่า เป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ 
วิวัฒนาการของภาษาซี 
(Ken Thompson) 
- ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได้ และยังมี ข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards 
- ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้างภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็นที่ นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก 
- ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และหนังสือเล่มนี้ทาให้ บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการเขียน โปรแกรมมากขึ้น 
- แต่เดิม ภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนา เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาท สาคัญในการ นามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็น ต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไป แนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่ เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C 
- ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่ง ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้ พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่ สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียน โปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนว การเขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรม ขนาดใหญ่ที่มีความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ ในโปรแกรมจานวนมาก จึงนิยมใช้เทคนิคของการ เขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนาโปรแกรม ขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้

More Related Content

What's hot

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคThitima Kpe
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคPimlapas Kimkur
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1Mrk Ji Črossovër
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ลูกแก้ว กนกวรรณ
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Supanan Fom
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7naraporn buanuch
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3Diiz Yokiiz
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์Pakkapong Kerdmanee
 

What's hot (15)

น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Kk
KkKk
Kk
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
1.ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1ข้อสอบกลางภาค1
ข้อสอบกลางภาค1
 
ข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาคข้อสอบกลางภาค
ข้อสอบกลางภาค
 
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
โปรแกรมและภาษาคอมพิวเตอร์
 
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-717 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
17 ณัฐวุฒิ-ปวช.3-7
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
สอบกลางภาคเรียน วิชาคอมพิวเตอร์
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 

Viewers also liked

Cb eval marjhori diaz ..
Cb eval marjhori diaz ..Cb eval marjhori diaz ..
Cb eval marjhori diaz ..Marjhorin
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5adaxxrose
 
Entrevista a Guillermo Gómez
Entrevista a Guillermo GómezEntrevista a Guillermo Gómez
Entrevista a Guillermo Gómezelisa hergueta
 
Diari del 31 de gener de 2013
Diari del 31 de gener de 2013Diari del 31 de gener de 2013
Diari del 31 de gener de 2013diarimes
 
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTE
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTEME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTE
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTEPSOE FUENTE DEL MAESTRE
 
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013PSOE FUENTE DEL MAESTRE
 
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-vii
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-viiRutas de aprendizaje secundaria-matematica-vii
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-viiNAVEGANTE4000
 
[Conaudio forrest gump]cartasajesus
[Conaudio forrest gump]cartasajesus[Conaudio forrest gump]cartasajesus
[Conaudio forrest gump]cartasajesusautsaider
 
Планируем релиз играючи
Планируем релиз играючиПланируем релиз играючи
Планируем релиз играючиIrina Vinogradova
 
Una españa para todos. Guillermo Fernández Vara
Una españa para todos. Guillermo Fernández VaraUna españa para todos. Guillermo Fernández Vara
Una españa para todos. Guillermo Fernández VaraPSOE FUENTE DEL MAESTRE
 
Anexo # 2.como ingresar al sitio web
Anexo # 2.como ingresar al sitio webAnexo # 2.como ingresar al sitio web
Anexo # 2.como ingresar al sitio webAleidy13
 
Historia sobre el mouse
Historia sobre el mouseHistoria sobre el mouse
Historia sobre el mouseoda0108
 
Cómo eras de niño hablar
Cómo eras de niño hablarCómo eras de niño hablar
Cómo eras de niño hablarEllen Ericson
 
Sistemaoperativodos
SistemaoperativodosSistemaoperativodos
SistemaoperativodosMarjhorin
 
Apuntes de la navidad en españa
Apuntes de la navidad en españaApuntes de la navidad en españa
Apuntes de la navidad en españaEllen Ericson
 
Organizador vocabulario
Organizador vocabulario Organizador vocabulario
Organizador vocabulario Ellen Ericson
 

Viewers also liked (20)

Cb eval marjhori diaz ..
Cb eval marjhori diaz ..Cb eval marjhori diaz ..
Cb eval marjhori diaz ..
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Entrevista a Guillermo Gómez
Entrevista a Guillermo GómezEntrevista a Guillermo Gómez
Entrevista a Guillermo Gómez
 
Diari del 31 de gener de 2013
Diari del 31 de gener de 2013Diari del 31 de gener de 2013
Diari del 31 de gener de 2013
 
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTE
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTEME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTE
ME GUSTAS, DEMOCRACIA, PORQUE ESTÁS COMO AUSENTE
 
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013
Foto denuncia estado via publica a 2 de febrero de 2013
 
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-vii
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-viiRutas de aprendizaje secundaria-matematica-vii
Rutas de aprendizaje secundaria-matematica-vii
 
[Conaudio forrest gump]cartasajesus
[Conaudio forrest gump]cartasajesus[Conaudio forrest gump]cartasajesus
[Conaudio forrest gump]cartasajesus
 
Планируем релиз играючи
Планируем релиз играючиПланируем релиз играючи
Планируем релиз играючи
 
Una españa para todos. Guillermo Fernández Vara
Una españa para todos. Guillermo Fernández VaraUna españa para todos. Guillermo Fernández Vara
Una españa para todos. Guillermo Fernández Vara
 
Caratula matieliz
Caratula matielizCaratula matieliz
Caratula matieliz
 
Anexo # 2.como ingresar al sitio web
Anexo # 2.como ingresar al sitio webAnexo # 2.como ingresar al sitio web
Anexo # 2.como ingresar al sitio web
 
Historia sobre el mouse
Historia sobre el mouseHistoria sobre el mouse
Historia sobre el mouse
 
Opinion10dic2013
Opinion10dic2013Opinion10dic2013
Opinion10dic2013
 
Cómo eras de niño hablar
Cómo eras de niño hablarCómo eras de niño hablar
Cómo eras de niño hablar
 
Sistemaoperativodos
SistemaoperativodosSistemaoperativodos
Sistemaoperativodos
 
Apuntes de la navidad en españa
Apuntes de la navidad en españaApuntes de la navidad en españa
Apuntes de la navidad en españa
 
Organizador vocabulario
Organizador vocabulario Organizador vocabulario
Organizador vocabulario
 
Recovered file 1
Recovered file 1Recovered file 1
Recovered file 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

Similar to แผ่นพับภาษาซี

แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีMontita Kongmuang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์Tanadon Boonjumnong
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5Siriporn Narak
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมOnrutai Intanin
 

Similar to แผ่นพับภาษาซี (20)

ภาษาซีแผ่นพับ
ภาษาซีแผ่นพับภาษาซีแผ่นพับ
ภาษาซีแผ่นพับ
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษา.ซี
ภาษา.ซีภาษา.ซี
ภาษา.ซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
แผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซีแผ่นพับภาษาซี
แผ่นพับภาษาซี
 
ภาษาซี.Pdf
ภาษาซี.Pdfภาษาซี.Pdf
ภาษาซี.Pdf
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
ภาษา C
ภาษา Cภาษา C
ภาษา C
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5น.ส.ศิรพร   โมกศิริ  เลขที่ 9 ม.4.5
น.ส.ศิรพร โมกศิริ เลขที่ 9 ม.4.5
 
โปรแกรมคอม
โปรแกรมคอมโปรแกรมคอม
โปรแกรมคอม
 

แผ่นพับภาษาซี

  • 1. ภ า ษ า ซี เ ป็น ก า ร เ ขีย น โ ป ร แ ก ร ม พื้นฐาน สามารถประยุกต์ใช้กับงานต่างๆได้มากมาย ระ บบ ปฏิบัติกา รคอมพิวเตอร์ ทาง คณิตศาสตร์ โ ป ร แ ก ร ม ท า ง ไ ฟ ฟ้ า อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ เช่น โปรแกรม MATLAB (The MathWorks - MATLAB and Simulink for Technical Computing) ซึ่งเวลาใช้สามารถพิมพ์ ชุดคาสั่งภาษาซีเพิ่มเข้าไปในโปรแกรมคานวณทาง คณิตศาสตร์ ประมวลผลทางสัญญาณไฟฟ้า ทาง ไฟฟ้าสื่อสารก็ได้ ทาให้ประสิทธิภาพของงานที่ทาดี ยิ่ง ขึ้น ค รับ แ ล ะ ยัง มีโ ป ร แ ก ร ม อื่น ๆ ที่มีภ า ษ า ซี ประยุกต์ใช้กันอีกมากมาย ไม่สามารถนามากล่าวได้ หมด ถึงแม้ว่าภาษาซีอาจจะดูเก่าไปสาหรับคนอื่น แต่ ผมว่าควรศึกษาภาษาซีที่เป็นรากฐานของภาษาอื่นๆ เสียก่อน เพราะภาษา C++ จาวา (Java) ฯลฯ และ ระบบลีนุกซ์ เป็นระบบที่ถูกพัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ ซึ่ง ก็เ ป็น ที่รู้กัน ทั่ว ไ ป ว่า ภา ษ า คู่ บ า ร มีข อ ง ระบบปฏิบัติการตระกูลยูนิกซ์มีการพัฒนามาจาก ภาษาซีเช่นกัน ระดับ กลาง คือไม่เ ป็นภาษาระดับต่าแบ บ แอสเซมบลีหรือเป็นภาษาสูงแบบ เบสิค โคบอล ฟอร์แทรน หรือ ปาสคาล เนื่องจากคุณสามารถจะ จัดการเกี่ยวกับเรื่องของพอยน์เตอร์ได้อย่างอิสระ และบางทีคุณก็สามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ผ่านทาง ภาษาซี ได้ราวกับคุณเขียนมันด้วภาษาแอสเซมบลี ด้วยข้อดีเหล่านี้เองทาให้โปรแกรมที่ถูกเขียนด้วย ภาษาซีมีความเร็วในการปฏิบัติงานสูงกว่าภาษา ทั่วๆไป แต่ก็ต้องแลกกับการเรียนรู้และการฝึกฝน อย่างหนัก ตัวอย่างภาษาซี ประวัติภาษาซี ภาษาซี เป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษา ระดับสูง และระดับต่า ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริดชี(Dennis Ritche) Dennis Ritche แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell Laboratories) ที่ เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเ ดนนิสได้ ใ ช้ หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic CombineProgramming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้น โดย เคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและ พัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็น ภาษาสาหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบ ยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอัก ษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่า ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้าง การควบคุมการทางานของโปรแกรมเป็นอย่าง เดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึง ถือว่า เป็นภาษาระดับ สูง ใ นด้านที่ถือว่าภาษาซีเ ป็น ภาษาระดับต่า เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงใน ระดับต่าที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสอง ด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ประวัติความเป็นมาของภาษาซี
  • 2. ความสามารถระดับต่าทาให้ภาษาซีสามารถใช้ เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทาให้ ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถ สร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้น ได้เอง ทาให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบน เครื่องหนึ่ง สามารถนาไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่า เป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ วิวัฒนาการของภาษาซี (Ken Thompson) - ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซึ่งทางานบนเครื่อง DEC PDP-7 ซึ่ง ทางานบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ไม่ได้ และยังมี ข้อจากัดในการใช้งานอยู่ (ภาษา B สืบทอดมาจาก ภาษา BCPL ซึ่งเขียนโดย Marth Richards - ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ได้สร้างภาษา C เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ภาษา B ให้ดียิ่งขึ้น ในระยะแรกภาษา C ไม่เป็นที่ นิยมแก่นักโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไปนัก - ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ได้เขียนหนังสือเล่มหนึ่งชื่อว่า The C Programming Language และหนังสือเล่มนี้ทาให้ บุคคลทั่วไปรู้จักและนิยมใช้ภาษา C ในการเขียน โปรแกรมมากขึ้น - แต่เดิม ภาษา C ใช้ Run บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซึ่งในช่วงปี ค. ศ. 1981 เป็นช่วงของการพัฒนา เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาท สาคัญในการ นามาใช้บนเครื่อง PC ตั้งแต่นั้นเป็น ต้นมา และมีการพัฒนาต่อมาอีกหลาย ๆ ค่าย ดังนั้นเพื่อกาหนดทิศทางการใช้ภาษา C ให้เป็นไป แนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ได้กาหนดข้อตกลงที่ เรียกว่า 3J11 เพื่อสร้างภาษา C มาตรฐานขึ้นมา เรียนว่า ANSI C - ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แห่ง ห้องปฏิบัติการเบล (Bell Laboratories) ได้ พัฒนาภาษา C++ ขึ้นรายละเอียดและ ความสามารถของ C++ มีส่วนขยายเพิ่มจาก C ที่ สาคัญ ๆ ได้แก่ แนวความคิดของการเขียน โปรแกรมแบบกาหนดวัตถุเป้าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซึ่งเป็นแนว การเขียนโปรแกรมที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรม ขนาดใหญ่ที่มีความสลับซับซ้อนมาก มีข้อมูลที่ใช้ ในโปรแกรมจานวนมาก จึงนิยมใช้เทคนิคของการ เขียนโปรแกรมแบบ OOP ในการพัฒนาโปรแกรม ขนาดใหญ่ในปัจจุบันนี้