SlideShare a Scribd company logo
ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์
รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
มรภ.นครราชสีมา : 22 ก.ค.57
ยุทธวิธีสู่ความสาเร็จ
ในการจัดการเรียนการสอน
ระดับบัณฑิตศึกษา
เรื่องที่จะคุย
1. แนวคิดคุณลักษณะของบัณฑิต
2. The 15 key trends to shape your future
3. แนวโน้มปี 2551
4. Seven Mega Trends
5. จุดเปลี่ยนของสังคม
6. การดารงชีวิตของแต่ละบุคคล หลังยุคอุตสาหกรรม
7. The Future of 21st Century Work
8. ความจาเป็นของบัณฑิตศึกษา
9. แนวคิดพื้นฐานของการบัณฑิตศึกษา
10. ความคาดหวังต่อนิสิตบัณฑิตศึกษา
11. กรอบแนวคิดคุณลักษณะบัณฑิต
12. มาตรฐานคุณวุฒิ
13. ข้ออ่อนด้อยของการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาไทย
14. การวิจัยกับการสอน
15. การเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา
16. กลยุทธ์การสอน
17. ลักษณะการคิด
18. การส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ / สังเคราะห์
19. Characteristics of critical thinking
20. รูปแบบการสัมมนา
แนวคิดคุณลักษณะของบัณฑิต
คุณลักษณะ
ระดับความสาคัญ
5 4 3 2 1
1. มีความรู้มากและแน่นในสาขาของตน
2. เข้าถึงแก่นของความรู้ในสาขาที่เรียน
3. นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
4. พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ได้
5. สร้างหลักการและทฤษฎีใหม่ได้
6. วิเคราะห์ สังเคราะห์ในเรื่องที่เรียนได้
7. คิดอะไรใหม่ๆ ในสาขาที่เรียน
8. คิดในเชิงกลยุทธ์มองไปข้างหน้าได้
9. คิดคาดการณ์อนาคตของโลกได้
10. ตกผลึกของความคิดในเรื่องที่เรียน
11. เชี่ยวชาญ ชานาญ ปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง
12. สร้างงานใหม่ได้ด้วยตนเองหรือร่วมกับคนอื่น
13. วิเคราะห์งานที่ทาได้อย่างแม่นยาเฉียบขาด
14. กาหนดทิศทางและทักษะที่ทาได้อย่างถูกต้อง
15. ยกระดับคุณภาพของงานให้สูงขึ้นอยู่เสมอ
16. ซื่อสัตย์ เสียสละ เป็นธรรม
17. เป็นแบบอย่างที่ดีในทางคุณธรรมจริยธรรม
18. ชี้นาสังคมในแนวทางที่ถูกต้อง
19. เสียสละเพื่อส่วนรวมและสังคม
The 15 key trends to shape your future
1 The age of instant communications
2 A world without economic borders
3 Four steps to one-world economy
4 The new service society
5 From big to small
6 The new age of leisure
7 The changing shape of work
8 Women in leadership
9 The decade of the brain
10 Cultural nationalism
11 The growing underclass
12 The active aging of the population
13 The new do-it-yourself boom
14 Cooperative enterprise
15 The triumph of the individual
(Gordon Dryden, 1997)
แนวโน้มปี 2551
แนวโน้มที่ 1 Fueling the Future
แนวโน้มที่ 2 The Innovation Economy
แนวโน้มที่ 3 The Next Workforce
แนวโน้มที่ 4 Longevity Medicine
แนวโน้มที่ 5 Weird Science
แนวโน้มที่ 6 Securing the Future
แนวโน้มที่ 7 The Future of Globalization : Cultures in Collision
แนวโน้มที่ 8 The Future of Climate Change
แนวโน้มที่ 9 The Future of the Individual
แนวโน้มที่ 10 The Future of America and China
(James Canton, 2006)
Seven Mega Trends
1. Technologicalization
2. Commercialization & Economy
3. Globalization & Network
4. Urbanization
5. Environmentalization & Energy
6. Individualization
7. Ageing & Health
จุดเปลี่ยนของสังคม
จุดเปลี่ยนของสังคม
จุดเดิม จุดเปลี่ยน จุดเด่น จุดมุ่งหมาย
แนวคิด Modernization
Post-
Modernization
Critical /
Analytical
รู้จักตัวเอง
กระบวนการ Industrialization
Post-
Industrialization
Creative /
Innovative
พัฒนาตัวเอง
วิถี Democracy Post-Democracy
Involvement/
Participation
เข้าใจสังคม
ความสัมพันธ์ Capitalism Post-Capitalism
Responsibility
Ethics
มีชีวิตที่ดีขึ้น
ผล Knowledge-
Based
Post-Knowledge
Based
Value /
Equality
สร้างค่านิยม
ภาพ Globalization
Post-
Globalization
Diversification /
Individualization
ยอมรับความ
หลากหลาย
การดารงชีวิตของแต่ละบุคคล หลังยุคอุตสาหกรรม
(Post-industrial)
มืออาชีพหลากหลาย (Multiple careers)
ทางานหลายอย่าง (Multiple jobs)
ไม่มีความชัดเจนในตัวตน (Blurred identity)
การเรียน-การงานขาดความสัมพันธ์ (Work-study mismatch)
มีโอกาสทางานอิสระ (Possible free-lancing)
ตกงานบ่อย (Frequent off-jobs)
รายได้ไม่แน่นอน (Precarious incomes)
สถานภาพปรับเปลี่ยนขึ้น-ลง (Fluctuating status)
อนาคตไม่แน่นอน (Unpredictable future)
มีการเปลี่ยนเครือข่าย (Varying networks)
มีการเปลี่ยนคู่ความสัมพันธ์ (Changing partners)
ความไม่มั่นคง/ไม่แน่นอน (Insecurity, uncertainty)
Kai-ming cheng, 2007/ ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร
enGauge 21st Century Skills
Digital-Age Literacy
Multicultural Literacy and
Global Awareness
Inventive Thinking
Higher-Order Thinking and
Sound Reasoning
Effective
Communication
Interactive Communication
High Productivity
Ability to Produce Relevent,
High-Quality Products
21st Century Learning
Creative
Work
Routine
Work
Routine
Work
DONE BY MACHINESDONE BY PEOPLE
The Future of 21st Century Work
IN LESS DEVELOPED COUNTRIES
IN MORE DEVELOPED COUNTRIES
Source : Trilling & Fadel, 21st Century Skills, 2009
• Research
• Development
• Design
• Marketing and Sales
• Global Supply Chain
Management
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 : กับดักหรือหวังดี
กับดับของตะวันตก : ยังคงเป็นผู้ซื้ออยู่อย่างเดิม
ผู้ซื้อ ผู้ผลิต
1. เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่
2. ตามทันผลิตภัณฑ์ใหม่ได้
3. เรียนรู้นวัตกรรมใหม่
4. สื่อสารและร่วมมือระดับนานาชาติ
5. เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
6. พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง
7. เปลี่ยนสินค้าใหม่ได้เรื่อยๆ
1. มองข้ามเทคโนโลยีใหม่ไปได้
2. สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ได้เอง
3. พัฒนานวัตกรรมที่สอดคล้องสังคม
4. เน้นสาระและร่วมมือเพื่อพัฒนาสิ่งใหม่
5. รู้จักตัวเองและพัฒนาเพื่อเป็นตัวของตัวเอง
6. เป็นผู้กาหนดการเปลี่ยนแปลงได้
7. ออกแบบสินค้าใหม่สู่ตลาดเสมอ
ใช้ของใหม่ได้ สร้างของใหม่ได้
จะเห็นได้ว่าทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 นั้นจะส่งผลให้คนทั่วไปมีทางเดินเป็น 2 ทางคือ เป็น
ผู้ซื้อ (Consumer) หรือเป็นผู้ผลิต (Producer) แต่สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนาอย่างของ
อาเซียนส่วนใหญ่ (อาจยกเว้นประเทศสิงคโปร์) แล้วจะเป็นซื้อเสียเป็นส่วนใหญ่ ถ้าเรา
เรียนรู้ทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 อย่างไม่ไตร่ตรอง เราจะกลายเป็นผู้ซื้อที่ดีของตะวันตก
อันนี้คือกับดักหรือหวังดี
ทักษะสาหรับประเทศไทย 7 กลุ่ม
• Critical Thinking & Evaluation
• Analysis and Synthesis
• Creativity and Imagination
• Productivity and Innovation
• Change and Problem-Solving
• Communication and Self-Confident
• Ethics and Responsibility
สังคมไทยต้องการคนรุ่นใหม่ที่มีความคิดวิจารณญาณ รู้จักแยกแยะได้ว่า
อะไรเหมาะ ไม่เหมาะ เป็นเบื้องต้น ตามมาด้วยการคิดใหม่ๆ มีจิตนาการ
แล้วให้มีผลผลิตเข้าสู่ตลาดได้ เข้าใจทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและ
สังคม สื่อสารและกับคนอื่นได้อย่างมั่นใจและพร้อมใช้ชีวิตอย่างรับผิดชอบ
มีคุณธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบคนอื่นในสังคมไทยและสังคมโลก
หลักการสอนสู่ศตวรรษที่ 21 เจ็ดประการ
• การสอนแบบเน้นปัญหา (Problem-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นกรณีศึกษา (Case-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นการวิจัย (Research-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นโครงการ (Project-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นผลงาน (Productivity-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นการทางาน (Work-Based Instruction)
• การสอนแบบเน้นการตกผลึก (Crystal-Based Instruction)
การสอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่เน้นการบอกจากครู โดยครูไปหาความรู้จากตารา
เอกสาร แล้วนามาบอกเด็ก เด็กจะฟัง จด ท่อง จา ตามที่ครูบอกแล้วก็สอบตามนั้น
รูปแบบนี้ไม่ทาให้เป็นผู้มีทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 เพียงพอ เด็กจะไม่รู้จักคิด ไม่
พัฒนาความรู้ ไม่รับผิดชอบต่อเพื่อนและสังคม และไม่พัฒนาการมีคุณธรรมได้อย่าง
แท้จริง จาเป็นจะต้องเปลี่ยนวัฒนธรรมการสอนจากการที่ผู้เรียนต้องรับความรู้จากครู
คนเดียวมาเป็นการสอนให้ผู้เรียนหาความรู้ด้วยตัวเองได้ ด้วยกระบวนการเหล่านี้
ทักษะที่คาดหวังจึงจะเกิดขึ้นกับผู้เรียนได้
ความจาเป็นของบัณฑิตศึกษา
1) ความจาเป็นที่จะต้องสร้างและมีเอกลักษณ์เฉพาะของไทยเรา
2) จาเป็นที่จะต้องมีองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาสังคมไทยโดยตรง
3) องค์ความรู้ของต่างประเทศเริ่มผูกขาดและมีราคาแพง
4) สังคมไทยมีความจาเป็นต้องแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ มากขึ้น
5) การมีบทบาทนาในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียจาเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ
แนวคิดพื้นฐานของการบัณฑิตศึกษา
1) การวิจัย (Research)
2) ความเป็นนักวิชาการ (Scholarship)
3) ความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Specialization)
4) ความเป็นเลิศ (Excellence)
5) การพัฒนา (Development)
 มองประเด็นต่างๆ อย่างวิเคราะห์ สังเคราะห์
 มีฉันทะทางวิชาการ/กระตือรือร้นในการหาความรู้
 ใฝ่เจาะไปถึงพรมแดนของความรู้ด้วยกระบวนการวิจัย
 พร้อมที่จะแลกเปลี่ยน ถกเถียงทางวิชาการที่ค้นพบกับคนอื่นๆ
 รับหรือเปลี่ยนแปลงความเชื่อเมื่อมีความรู้ใหม่
 มุ่งมั่นที่จะผลักดันงานที่ผ่านการกลั่นกรองแล้ว
 มีจุดยืนของตนเอง/เฉียบคมในความคิด
 สง่างามทางความคิด/ทางวิชาการ/ทางการกระทา
 มีสานึก/รับผิดชอบในวิชาชีพและสังคม
ความคาดหวังต่อนิสิตบัณฑิตศึกษา
กรอบแนวคิดคุณลักษณะบัณฑิต
กรอบ
ลักษณะ
BASIC
พื้นฐาน
ADVANCED
ก้าวหน้า
PROACTIVE
เชิงรุก
EXCELLENT
เป็นเลิศ
KNOWLEDGE
ความรู้
มีความรู้ทั่วไป
ตามวิชาชีพของตน
(1)
มีความรู้ทันสมัย และรู้จักสืบเสาะ
แสวงหาความรู้อยู่เสมอ
(2)
มีความรู้ลึก
สามารถเชื่อมโยง
และบูรณาการความรู้
(3)
มีความเชี่ยวชาญ เข้าถึงแก่นความรู้
และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่
(4)
THINKING
ความคิด
สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
และประเมินผล
(5)
มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิด
ใหม่ได้อย่างทันสมัย
(6)
มียุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ สามารถคิด
ไปข้างหน้า และคิดได้เอง
(7)
มีความคิดรวบยอด
ตกผลึกทางความคิด และสามารถ
คาดการณ์อนาคตได้
(8)
SKILL
ความสามารถ
สามารถปฏิบัติงานได้
ตามวิชาชีพ
(9)
สามารถปรับปรุง พัฒนางาน และ
แสวงหาวิธีการใหม่ๆ ที่ดีขึ้น
(10)
สามารถสร้างงานใหม่และทาได้ด้วย
ตนเอง
(11)
มีความเชี่ยวชาญ ชานาญการ และ
ปฏิบัติงานได้
อย่างแม่นยา
(12)
ETHICS
คุณธรรม
จริยธรรม
มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์
เสียสละ มีวัฒนธรรม และ
มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
(13)
เป็นแบบอย่างที่ดี
เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก
(14)
ส่งเสริมและชี้นาสังคมให้ตระหนัก
ถึงคุณธรรม จริยธรรม
(15)
อุทิศตนเพื่อส่วนรวม
มีความกล้าหาญทาง
จริยธรรม
(16)
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท
1. มีความรู้ลึก เชื่อมโยงและบูรณาการความรู้ทั้งในสาขาวิชาที่ตนศึกษาและสาขาวิชาอื่นๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในงาน
อาชีพได้
2. มีความคิดรวบยอดมองเห็นการณ์ไกล เข้าใจและสามารถดาเนินการวิจัยตามมาตรฐานสากล
3. มีความสามารถพัฒนานวัตกรรม สร้างงานใหม่ สร้างสรรค์ความก้าวหน้าทางวิชาการ อันเนื่องมาจากการวิจัยอย่างต่อเนื่อง
4. เป็นแบบอย่างทางคุณธรรมจริยธรรมและชี้นาประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรมได้ดี
เงื่อนไขการเรียนรู้
เงื่อนไขการเรียนรู้สาหรับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโทนั้นจะต้องมีหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ที่
ลึกซึ้ง มีกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยการวิจัยที่ชัดเจน นอกจากนี้ยังต้องมีหลักสูตรหรือรายวิชาที่มีการวิเคราะห์ เชื่อมโยงกับ
สาขาอื่นๆ และเชื่อมโยงกับงานที่จะไปทาเมื่อสาเร็จการศึกษา ในส่วนของการเรียนการสอนก็จะต้องเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
ระหว่างผู้สอน ผู้เรียนและผู้เรียนด้วยกัน ด้วยกระบวนการจัดทาโครงการ การทาวิจัย การวิเคราะห์วิจารณ์โครงการและการวิจัย
นั้นด้วยกระบวนการสัมมนา จนสามารถสร้างแนวคิดที่ชัดเจนตกผลึกเป็นของตนเองได้ ในขณะเดียวกันก็จะต้องมีโครงการและ/
หรือกรณีศึกษาเพื่อสะท้อนนวัตกรรมและความรับผิดชอบต่อวิชาการและสังคม
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก
1. เข้าถึงแก่นความรู้ สามารถสร้างและอธิบายองค์ความรู้ใหม่ได้
2. มีสมรรถภาพทางปัญญา ตกผลึกทางความคิดและคาดการณ์อนาคตได้
3. มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ที่ทาวิจัย เชื่อมโยงศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญกับศาสตร์อื่นได้อย่างกลมกลืน
4. มีความกล้าหาญทางจริยธรรม เป็นผู้นาในจรรยาบรรณของวิชาชีพและ จริยธรรมของสังคม
เงื่อนไขการเรียนรู้
เงื่อนไขการเรียนรู้สาหรับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในระดับนี้มีกรอบหลัก คือ การวิจัย ความเชี่ยวชาญและการ
เป็นนักวิชาการ ดังนั้นจึงประกอบด้วยการค้นคว้า เรียนรู้ที่ลึกซึ้งถึงพรมแดนของความรู้ กระบวนการแสวงหาความรู้ที่
เข้มลึกและเจาะถึงแก่นของความรู้ การทดสอบ ท้าทายต่อความรู้ใหม่ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อค้นพบใหม่ในสาขาของตน
กับสังคมได้อย่างเหมาะสม
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก
Level Hong Kong : Generic Level Descriptors
Knowledge & Intellectual
Skills
Processes
Application,
Autonomy &
Accountability
Communication, IT
and Numeracy
6 - Critically review,
consolidate, and extend
a systematic, coherent
body of knowledge
- Utilize highly specialized
technical research or
scholastic skills across an
area of study
- Critically evaluate new
information, concepts and
evidence from a rage of
sources and develop
creative responses
- Critically review,
consolidate and extend
knowledge, skills
practices and thinking in a
subject/discipline
- Deal with complex
issues and make
informed judgements in
the absence of complete
or consistent
data/information.
-Transfer and apply
diagnostic and creative
skills in a range of
situations
-Exercise appropriate
judgement in complex
planning, design,
technical and/or
management functions
related to products,
services, operations or
processes, including
resourcing and
evaluation
-Conduct research,
and/or advanced
technical or
professional activity
-Design and apply
appropriate research
methodologies.
-Apply knowledge
and skills in a broad
range of professional
work activities
-Practice significant
autonomy in
determining and
achieving personal
and/or group
outcomes
-Accept accountability
in related decision
making including use
of supervision
-Demonstrate
leadership and/or
make an identifiable
contribution to
change and
development.
-Communicate, using
appropriate methods,
to a range of
audiences including
peers, senior
colleagues,
specialists
-Use a wide range of
software to support
and enhance work;
identify refinements to
existing software to
increase effectiveness
or specify new
software
-Undertake critical
evaluations of a wide
range of numerical and
graphical data, and
use calculations at
various stages of the
work
Malaysia : Generic Level Descriptors
Certificate of
Competency
for Skills
Training
Knowledge
Intellectual
skills
Psychomotor
skills
Information
Management,
communication
& Learning
skills
Personal
attributes,
professionalism
& responsibility
Context
Masters Mastery or
overview at
advanced
level, of the
theoretical
and/or applied
aspects of a
specialist
body of study
or professional
practice; Much
of the study
undertaken will
have been at or
informed by, the
forefront of an
academic or
professional
discipline and
are familiar with
complex and
specialised
areas of
knowledge and
skills
Ability to
integrate new
ideas with
established
knowledge
and show
originality,
creativity,
flexibility and
independence
in the
systematic
application of
knowledge in
tackling
complex
issues and
solving
problems.
High order of
skill in
analysis,
critical
evaluation
and/or
professional
application
through the
planning and
execution of
project work or
a piece of
scholarship or
research
Understands
how the
boundaries of
knowledge are
advanced
through
research
Substantial
personal
responsibility
and initiative in
planning and
taking
responsibility
for complex
decision
making
Qualities
needed for
employment in
circumstances
requiring sound
judgement and
personal
responsibility for
related decision
making, in
complex and
unpredictable
professional
environments.
บัณฑิตศึกษา 2 แนว
แนววิชาการ แนววิชาชีพ
การวิจัยค้นคว้า การฝึกอบรม
ความเป็นนักวิชาการ ความเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ความเรืองปัญญา ความชานาญ
การแสวงหา การพัฒนาทักษะ
ความรู้บริสุทธิ์ ความรู้ประยุกต์
สนองตอบต่อวิชาการ สนองต่ออาชีพ/สังคม
มาก
มาก
มาก น้อย
วิจัยมาก
อบรมมาก
แบบผสม 
วิจัยน้อย
อบรมมาก
 แบบเน้นวิชาชีพ
วิจัยมาก 
อบรมบ้าง
แบบเน้นการวิจัย
วิจัยน้อย
อบรมน้อย
โครงการพิเศษระยะสั้น
ผสมผสาน 2 แนว
วิชาการ
วิชาชีพ
กลยุทธ์การสอน 5 กลุ่มหลัก
1. การใช้กรณีศึกษา (Case-based study) การใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem
based learning)
2. การพัฒนาโครงการและกิจกรรมต่างๆ (Project-based learning) ให้
เป็นผลงานวิจัย (Research based learning) ขึ้นมา
3. การเรียนรู้ด้วยการให้เกิดการตกผลึกทางปัญญา (Crystal based
approach) และมองเห็นองค์ความรู้อย่างมีบูรณาการ (Integrated
based learning)
4. การฝึกปฏิบัติและฝึกแก้ปัญหาในสถานที่จริง (Field-based learning or
workplace learning)
5. รู้จักประเมิน (Evaluation) และนาไปสู่สิ่งใหม่ต่อไป
ปัญจวิธี : สอนให้คิด
1. คิดคนเดียว - ตั้งประเด็นคิดที่เฉียบคม
- หาทางให้ทุกคนคิดอย่างลึก
2. คิดเป็นกลุ่ม - แลกเปลี่ยนเชิงโต้แย้งความคิดในกลุ่ม (ย่อย)
- ยืนยันด้วยเหตุผลและข้อมูล
- เปลี่ยนเมื่อเห็นว่าข้อมูลตัวเองไม่พอ
3. พร้อมโต้แย้ง - พร้อมแจงความคิดของกลุ่ม
- แลกเปลี่ยนความคิดของกลุ่มให้ได้
4. อธิบายความคิด - พร้อมที่จะเสนอในที่ประชุม (ใหญ่)
- รับการเปลี่ยนแปลง / นาไปสู่การคิดใหม่
5. สรุปความคิด - ผู้สอนวิเคราะห์ / สรุป
ปัญจวิธี : สอนให้วิจัย
1. นาผลงานวิจัยมาใช้สอน (ของคนอื่นก็ได้แต่น่าจะเป็นงานของ
ตนเอง)
2. นาโครงการวิจัยมาวิเคราะห์ / สังเคราะห์ (มีโครงการที่หลากหลาย
และมองเห็นแนวของตนเอง)
3. ทารายงานด้วยการวิจัย (ให้คิดและมองนอกกรอบไปบ้างอย่าติดกับ
ของเดิมมากนัก)
4. การทา Baby Thesis (วิจัยขนาดเล็กเพื่อเรียนรู้วิธีการ) (อย่ามากนัก)
5. ทาวิทยานิพนธ์ (Thesis) (ให้เขาทาเองเป็นหลัก บทบาทที่ปรึกษา)
อย่าปัดความรับผิดชอบ ต้องสร้างและมีความมุ่งมั่น
อยากให้ลูกศิษย์มีอะไรเราต้องมีสิ่งนั้นก่อน
มีความปรารถนาดี อยากให้เขารู้ และพัฒนาถึงที่สุด
ไม่เอาเปรียบ (ในทุกกรณี) คิดถึงและเอามาเผื่อ
เล่าประสบการณ์ที่เป็นกาลังใจ (Intellectual Journey)
เชื่อว่าผู้เรียนต้องการเรียนและเรียนได้
ต้องชี้และบอกให้ชัด ปลูกฝังจรรยาบรรณ
 Nobody is perfect, but…
สานึกและรับผิดชอบ
จัดกระบวนการสนับสนุน
อาจารย์
ผู้บริหาร
นักศึกษา
ฝ่ายสนับสนุน
เป้ าหมายชัดเจน
มีงานวิจัยสม่าเสมอ
มีผลงานใหม่เสมอ
มีกิจกรรมวิชาการ
มีเครือข่ายระดับชาติ / นานาชาติ
ข้อหนึ่ง การเรียนการสอนที่ยังไม่สร้างความรู้ขึ้นใหม่ในสังคมไทย
ข้อสอง สิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมไทย
ข้อสาม ครูเป็นผู้แสวงหาความรู้ และเตรียมความรู้ให้กับผู้เรียน
ข้อสี่ การเรียนการสอนที่เน้นการบรรยายเป็นส่วนใหญ่
ข้อห้า เชื่อตามที่ผู้สอนบอก
ข้ออ่อนด้อยของการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาไทย
ตามอย่าง
บริโภคนิยม
สร้างสรรค์
ผลิตผลนิยม
ข
ก
สู่บัณฑิตศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ
ข้อหนึ่ง สร้างความรู้ขึ้นใหม่ในสังคมไทย
ข้อสอง เรียนรู้เนื้ อหาที่สอดคล้องและแก้ปัญหาสังคมไทย
ข้อสาม ผู้เรียนรับผิดชอบความรู้และหาด้วยตนเอง
ข้อสี่ ลดบรรยาย ลงมือทา (Lecture Less Do More)
ข้อห้า คิดใหม่ สร้างงานใหม่ เป็นตัวของตัวเอง
Teaching Profession : Basic Ideas
1. Quality, Excellent and Greatness
2. Youth, Society and Goodness
3. Knowledge, Wisdom and Research
4. Ideas, Product and Best Practice
5. Improvement, Development and Change
6. Network, Cooperation and Teamness
7. Evaluation, Compare and Progress
แนวคิดพื้นฐานของวิชาชีพครูจะต้องเชื่อมโยงกับความดีความงาม
ความเป็นเลิศ ความรู้และความก้าวหน้าเป็นหลักใหญ่
สรุปยุทธศาสตร์ 7 ประการ
ผู้บริหารมุ่งมั่น/เอาจริง และยิ่งใหญ่ Dreaming /Visioning
สร้างแรงบันดาลใจให้ครู Inspiring/Encouraging
ส่งเสริม ลงมือปฏิบัติจริงให้ดีที่สุด
สนใจเด็ก Best Practicing/doing
เรียนรู้และใช้กระบวนการที่หลากหลาย Diversifying/Differentiating
พัฒนาครูให้แสวงหาสิ่งที่ดีกว่า Empowering/Developing
ประเมินติดตามใกล้ชิด ดูแลคุณภาพ Coaching/Mentoring
สร้างความร่วมมือกับชุมชน/เครือข่าย Networking/Cooperating
ก้าวพ้นบาปห้าประการ-ปัญจบาป
เน้นแต่วิชาการ ไม่เน้นชีวิตจริง
เน้นแต่เนื้ อหา ไม่เน้นกระบวนการ
เน้นแต่ความจา ไม่เน้นการคิด
เน้นแต่ความคงที่ ไม่เน้นความเปลี่ยนแปลง
เน้นแต่อดีต ไม่เน้นอนาคต
ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์  สินลารัตน์

More Related Content

Viewers also liked

Mathematical Sets
Mathematical Sets Mathematical Sets
Mathematical Sets
Karitho Loaiza Osorio
 
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhari
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhariEbook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhari
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhariAGK_masoem
 
Spy Programs
Spy ProgramsSpy Programs
Spy ProgramsHHSome
 
Assignment 4 Netiquette Kalle Andersson
Assignment 4 Netiquette Kalle AnderssonAssignment 4 Netiquette Kalle Andersson
Assignment 4 Netiquette Kalle Andersson
HHSome
 
Phishing
PhishingPhishing
Phishing
HHSome
 
Vocabulary yr
Vocabulary yrVocabulary yr
Vocabulary yrjdrinks
 
Vocabulary yr
Vocabulary yrVocabulary yr
Vocabulary yrjdrinks
 
Measurements and metrics 10 11
Measurements and metrics 10 11Measurements and metrics 10 11
Measurements and metrics 10 11jdrinks
 

Viewers also liked (8)

Mathematical Sets
Mathematical Sets Mathematical Sets
Mathematical Sets
 
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhari
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhariEbook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhari
Ebook ringkasan-kitab-hadist-shahih-imam-bukhari
 
Spy Programs
Spy ProgramsSpy Programs
Spy Programs
 
Assignment 4 Netiquette Kalle Andersson
Assignment 4 Netiquette Kalle AnderssonAssignment 4 Netiquette Kalle Andersson
Assignment 4 Netiquette Kalle Andersson
 
Phishing
PhishingPhishing
Phishing
 
Vocabulary yr
Vocabulary yrVocabulary yr
Vocabulary yr
 
Vocabulary yr
Vocabulary yrVocabulary yr
Vocabulary yr
 
Measurements and metrics 10 11
Measurements and metrics 10 11Measurements and metrics 10 11
Measurements and metrics 10 11
 

Similar to ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
Teacher Sophonnawit
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน krupornpana55
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
DrDanai Thienphut
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
Surapon Boonlue
 
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
Wiriyah Ruechaipanit
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
Wiriyah Ruechaipanit
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
DrDanai Thienphut
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
ratchadaphun
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
Pattie Pattie
 
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
greatzaza007
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
Association of Thai Information Science Education
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 
Blog21 cs
Blog21 csBlog21 cs
Blog21 cs
Pattie Pattie
 
Blog21 cs
Blog21 csBlog21 cs
Blog21 cs
Pattie Pattie
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
Prachyanun Nilsook
 

Similar to ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ (20)

Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21และการพัฒนาการเรียนการสอน
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐานการวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
การวิจัยโดยใช้เกมมิฟิเคชั่นเป็นฐาน
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
การทำหลักสูตรอุดมศึกษาเพื่อสร้างผู้เรียนให้พร้อมสู่ศตวรรษที่ 21
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
Teaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategyTeaching and learning development strategy
Teaching and learning development strategy
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
 
Education psu
Education psuEducation psu
Education psu
 
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
สาขาอาชีพแห่งอนาคต (1)
 
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลาการจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
การจัดการศึกษาสาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ที่มีคุณภาพ โดย รศ.ดร.มาลี กาบมาลา
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
Blog21 cs
Blog21 csBlog21 cs
Blog21 cs
 
Blog21 cs
Blog21 csBlog21 cs
Blog21 cs
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์

  • 1. ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑูรย์ สินลารัตน์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ มรภ.นครราชสีมา : 22 ก.ค.57 ยุทธวิธีสู่ความสาเร็จ ในการจัดการเรียนการสอน ระดับบัณฑิตศึกษา
  • 2. เรื่องที่จะคุย 1. แนวคิดคุณลักษณะของบัณฑิต 2. The 15 key trends to shape your future 3. แนวโน้มปี 2551 4. Seven Mega Trends 5. จุดเปลี่ยนของสังคม 6. การดารงชีวิตของแต่ละบุคคล หลังยุคอุตสาหกรรม 7. The Future of 21st Century Work 8. ความจาเป็นของบัณฑิตศึกษา 9. แนวคิดพื้นฐานของการบัณฑิตศึกษา 10. ความคาดหวังต่อนิสิตบัณฑิตศึกษา 11. กรอบแนวคิดคุณลักษณะบัณฑิต 12. มาตรฐานคุณวุฒิ 13. ข้ออ่อนด้อยของการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาไทย 14. การวิจัยกับการสอน 15. การเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา 16. กลยุทธ์การสอน 17. ลักษณะการคิด 18. การส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ / สังเคราะห์ 19. Characteristics of critical thinking 20. รูปแบบการสัมมนา
  • 3. แนวคิดคุณลักษณะของบัณฑิต คุณลักษณะ ระดับความสาคัญ 5 4 3 2 1 1. มีความรู้มากและแน่นในสาขาของตน 2. เข้าถึงแก่นของความรู้ในสาขาที่เรียน 3. นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 4. พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ได้ 5. สร้างหลักการและทฤษฎีใหม่ได้ 6. วิเคราะห์ สังเคราะห์ในเรื่องที่เรียนได้ 7. คิดอะไรใหม่ๆ ในสาขาที่เรียน 8. คิดในเชิงกลยุทธ์มองไปข้างหน้าได้ 9. คิดคาดการณ์อนาคตของโลกได้ 10. ตกผลึกของความคิดในเรื่องที่เรียน 11. เชี่ยวชาญ ชานาญ ปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง 12. สร้างงานใหม่ได้ด้วยตนเองหรือร่วมกับคนอื่น 13. วิเคราะห์งานที่ทาได้อย่างแม่นยาเฉียบขาด 14. กาหนดทิศทางและทักษะที่ทาได้อย่างถูกต้อง 15. ยกระดับคุณภาพของงานให้สูงขึ้นอยู่เสมอ 16. ซื่อสัตย์ เสียสละ เป็นธรรม 17. เป็นแบบอย่างที่ดีในทางคุณธรรมจริยธรรม 18. ชี้นาสังคมในแนวทางที่ถูกต้อง 19. เสียสละเพื่อส่วนรวมและสังคม
  • 4. The 15 key trends to shape your future 1 The age of instant communications 2 A world without economic borders 3 Four steps to one-world economy 4 The new service society 5 From big to small 6 The new age of leisure 7 The changing shape of work 8 Women in leadership 9 The decade of the brain 10 Cultural nationalism 11 The growing underclass 12 The active aging of the population 13 The new do-it-yourself boom 14 Cooperative enterprise 15 The triumph of the individual (Gordon Dryden, 1997)
  • 5. แนวโน้มปี 2551 แนวโน้มที่ 1 Fueling the Future แนวโน้มที่ 2 The Innovation Economy แนวโน้มที่ 3 The Next Workforce แนวโน้มที่ 4 Longevity Medicine แนวโน้มที่ 5 Weird Science แนวโน้มที่ 6 Securing the Future แนวโน้มที่ 7 The Future of Globalization : Cultures in Collision แนวโน้มที่ 8 The Future of Climate Change แนวโน้มที่ 9 The Future of the Individual แนวโน้มที่ 10 The Future of America and China (James Canton, 2006)
  • 6. Seven Mega Trends 1. Technologicalization 2. Commercialization & Economy 3. Globalization & Network 4. Urbanization 5. Environmentalization & Energy 6. Individualization 7. Ageing & Health
  • 7. จุดเปลี่ยนของสังคม จุดเปลี่ยนของสังคม จุดเดิม จุดเปลี่ยน จุดเด่น จุดมุ่งหมาย แนวคิด Modernization Post- Modernization Critical / Analytical รู้จักตัวเอง กระบวนการ Industrialization Post- Industrialization Creative / Innovative พัฒนาตัวเอง วิถี Democracy Post-Democracy Involvement/ Participation เข้าใจสังคม ความสัมพันธ์ Capitalism Post-Capitalism Responsibility Ethics มีชีวิตที่ดีขึ้น ผล Knowledge- Based Post-Knowledge Based Value / Equality สร้างค่านิยม ภาพ Globalization Post- Globalization Diversification / Individualization ยอมรับความ หลากหลาย
  • 8. การดารงชีวิตของแต่ละบุคคล หลังยุคอุตสาหกรรม (Post-industrial) มืออาชีพหลากหลาย (Multiple careers) ทางานหลายอย่าง (Multiple jobs) ไม่มีความชัดเจนในตัวตน (Blurred identity) การเรียน-การงานขาดความสัมพันธ์ (Work-study mismatch) มีโอกาสทางานอิสระ (Possible free-lancing) ตกงานบ่อย (Frequent off-jobs) รายได้ไม่แน่นอน (Precarious incomes) สถานภาพปรับเปลี่ยนขึ้น-ลง (Fluctuating status) อนาคตไม่แน่นอน (Unpredictable future) มีการเปลี่ยนเครือข่าย (Varying networks) มีการเปลี่ยนคู่ความสัมพันธ์ (Changing partners) ความไม่มั่นคง/ไม่แน่นอน (Insecurity, uncertainty) Kai-ming cheng, 2007/ ศ.ดร.กิตติชัย วัฒนานิกร
  • 9. enGauge 21st Century Skills Digital-Age Literacy Multicultural Literacy and Global Awareness Inventive Thinking Higher-Order Thinking and Sound Reasoning Effective Communication Interactive Communication High Productivity Ability to Produce Relevent, High-Quality Products 21st Century Learning
  • 10. Creative Work Routine Work Routine Work DONE BY MACHINESDONE BY PEOPLE The Future of 21st Century Work IN LESS DEVELOPED COUNTRIES IN MORE DEVELOPED COUNTRIES Source : Trilling & Fadel, 21st Century Skills, 2009 • Research • Development • Design • Marketing and Sales • Global Supply Chain Management
  • 11. ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 : กับดักหรือหวังดี กับดับของตะวันตก : ยังคงเป็นผู้ซื้ออยู่อย่างเดิม ผู้ซื้อ ผู้ผลิต 1. เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ 2. ตามทันผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ 3. เรียนรู้นวัตกรรมใหม่ 4. สื่อสารและร่วมมือระดับนานาชาติ 5. เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ 6. พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง 7. เปลี่ยนสินค้าใหม่ได้เรื่อยๆ 1. มองข้ามเทคโนโลยีใหม่ไปได้ 2. สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ได้เอง 3. พัฒนานวัตกรรมที่สอดคล้องสังคม 4. เน้นสาระและร่วมมือเพื่อพัฒนาสิ่งใหม่ 5. รู้จักตัวเองและพัฒนาเพื่อเป็นตัวของตัวเอง 6. เป็นผู้กาหนดการเปลี่ยนแปลงได้ 7. ออกแบบสินค้าใหม่สู่ตลาดเสมอ ใช้ของใหม่ได้ สร้างของใหม่ได้ จะเห็นได้ว่าทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 นั้นจะส่งผลให้คนทั่วไปมีทางเดินเป็น 2 ทางคือ เป็น ผู้ซื้อ (Consumer) หรือเป็นผู้ผลิต (Producer) แต่สาหรับประเทศที่กาลังพัฒนาอย่างของ อาเซียนส่วนใหญ่ (อาจยกเว้นประเทศสิงคโปร์) แล้วจะเป็นซื้อเสียเป็นส่วนใหญ่ ถ้าเรา เรียนรู้ทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 อย่างไม่ไตร่ตรอง เราจะกลายเป็นผู้ซื้อที่ดีของตะวันตก อันนี้คือกับดักหรือหวังดี
  • 12. ทักษะสาหรับประเทศไทย 7 กลุ่ม • Critical Thinking & Evaluation • Analysis and Synthesis • Creativity and Imagination • Productivity and Innovation • Change and Problem-Solving • Communication and Self-Confident • Ethics and Responsibility สังคมไทยต้องการคนรุ่นใหม่ที่มีความคิดวิจารณญาณ รู้จักแยกแยะได้ว่า อะไรเหมาะ ไม่เหมาะ เป็นเบื้องต้น ตามมาด้วยการคิดใหม่ๆ มีจิตนาการ แล้วให้มีผลผลิตเข้าสู่ตลาดได้ เข้าใจทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกและ สังคม สื่อสารและกับคนอื่นได้อย่างมั่นใจและพร้อมใช้ชีวิตอย่างรับผิดชอบ มีคุณธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบคนอื่นในสังคมไทยและสังคมโลก
  • 13. หลักการสอนสู่ศตวรรษที่ 21 เจ็ดประการ • การสอนแบบเน้นปัญหา (Problem-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นกรณีศึกษา (Case-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นการวิจัย (Research-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นโครงการ (Project-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นผลงาน (Productivity-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นการทางาน (Work-Based Instruction) • การสอนแบบเน้นการตกผลึก (Crystal-Based Instruction) การสอนที่เป็นอยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่เน้นการบอกจากครู โดยครูไปหาความรู้จากตารา เอกสาร แล้วนามาบอกเด็ก เด็กจะฟัง จด ท่อง จา ตามที่ครูบอกแล้วก็สอบตามนั้น รูปแบบนี้ไม่ทาให้เป็นผู้มีทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 เพียงพอ เด็กจะไม่รู้จักคิด ไม่ พัฒนาความรู้ ไม่รับผิดชอบต่อเพื่อนและสังคม และไม่พัฒนาการมีคุณธรรมได้อย่าง แท้จริง จาเป็นจะต้องเปลี่ยนวัฒนธรรมการสอนจากการที่ผู้เรียนต้องรับความรู้จากครู คนเดียวมาเป็นการสอนให้ผู้เรียนหาความรู้ด้วยตัวเองได้ ด้วยกระบวนการเหล่านี้ ทักษะที่คาดหวังจึงจะเกิดขึ้นกับผู้เรียนได้
  • 14. ความจาเป็นของบัณฑิตศึกษา 1) ความจาเป็นที่จะต้องสร้างและมีเอกลักษณ์เฉพาะของไทยเรา 2) จาเป็นที่จะต้องมีองค์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาสังคมไทยโดยตรง 3) องค์ความรู้ของต่างประเทศเริ่มผูกขาดและมีราคาแพง 4) สังคมไทยมีความจาเป็นต้องแสวงหาทางเลือกใหม่ๆ มากขึ้น 5) การมีบทบาทนาในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียจาเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ
  • 15. แนวคิดพื้นฐานของการบัณฑิตศึกษา 1) การวิจัย (Research) 2) ความเป็นนักวิชาการ (Scholarship) 3) ความเชี่ยวชาญเฉพาะ (Specialization) 4) ความเป็นเลิศ (Excellence) 5) การพัฒนา (Development)
  • 16.  มองประเด็นต่างๆ อย่างวิเคราะห์ สังเคราะห์  มีฉันทะทางวิชาการ/กระตือรือร้นในการหาความรู้  ใฝ่เจาะไปถึงพรมแดนของความรู้ด้วยกระบวนการวิจัย  พร้อมที่จะแลกเปลี่ยน ถกเถียงทางวิชาการที่ค้นพบกับคนอื่นๆ  รับหรือเปลี่ยนแปลงความเชื่อเมื่อมีความรู้ใหม่  มุ่งมั่นที่จะผลักดันงานที่ผ่านการกลั่นกรองแล้ว  มีจุดยืนของตนเอง/เฉียบคมในความคิด  สง่างามทางความคิด/ทางวิชาการ/ทางการกระทา  มีสานึก/รับผิดชอบในวิชาชีพและสังคม ความคาดหวังต่อนิสิตบัณฑิตศึกษา
  • 17. กรอบแนวคิดคุณลักษณะบัณฑิต กรอบ ลักษณะ BASIC พื้นฐาน ADVANCED ก้าวหน้า PROACTIVE เชิงรุก EXCELLENT เป็นเลิศ KNOWLEDGE ความรู้ มีความรู้ทั่วไป ตามวิชาชีพของตน (1) มีความรู้ทันสมัย และรู้จักสืบเสาะ แสวงหาความรู้อยู่เสมอ (2) มีความรู้ลึก สามารถเชื่อมโยง และบูรณาการความรู้ (3) มีความเชี่ยวชาญ เข้าถึงแก่นความรู้ และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ (4) THINKING ความคิด สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผล (5) มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถคิด ใหม่ได้อย่างทันสมัย (6) มียุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ สามารถคิด ไปข้างหน้า และคิดได้เอง (7) มีความคิดรวบยอด ตกผลึกทางความคิด และสามารถ คาดการณ์อนาคตได้ (8) SKILL ความสามารถ สามารถปฏิบัติงานได้ ตามวิชาชีพ (9) สามารถปรับปรุง พัฒนางาน และ แสวงหาวิธีการใหม่ๆ ที่ดีขึ้น (10) สามารถสร้างงานใหม่และทาได้ด้วย ตนเอง (11) มีความเชี่ยวชาญ ชานาญการ และ ปฏิบัติงานได้ อย่างแม่นยา (12) ETHICS คุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์ เสียสละ มีวัฒนธรรม และ มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ (13) เป็นแบบอย่างที่ดี เข้าใจผู้อื่น และเข้าใจโลก (14) ส่งเสริมและชี้นาสังคมให้ตระหนัก ถึงคุณธรรม จริยธรรม (15) อุทิศตนเพื่อส่วนรวม มีความกล้าหาญทาง จริยธรรม (16)
  • 18. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท 1. มีความรู้ลึก เชื่อมโยงและบูรณาการความรู้ทั้งในสาขาวิชาที่ตนศึกษาและสาขาวิชาอื่นๆ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ในงาน อาชีพได้ 2. มีความคิดรวบยอดมองเห็นการณ์ไกล เข้าใจและสามารถดาเนินการวิจัยตามมาตรฐานสากล 3. มีความสามารถพัฒนานวัตกรรม สร้างงานใหม่ สร้างสรรค์ความก้าวหน้าทางวิชาการ อันเนื่องมาจากการวิจัยอย่างต่อเนื่อง 4. เป็นแบบอย่างทางคุณธรรมจริยธรรมและชี้นาประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรมได้ดี เงื่อนไขการเรียนรู้ เงื่อนไขการเรียนรู้สาหรับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโทนั้นจะต้องมีหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ที่ ลึกซึ้ง มีกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยการวิจัยที่ชัดเจน นอกจากนี้ยังต้องมีหลักสูตรหรือรายวิชาที่มีการวิเคราะห์ เชื่อมโยงกับ สาขาอื่นๆ และเชื่อมโยงกับงานที่จะไปทาเมื่อสาเร็จการศึกษา ในส่วนของการเรียนการสอนก็จะต้องเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างผู้สอน ผู้เรียนและผู้เรียนด้วยกัน ด้วยกระบวนการจัดทาโครงการ การทาวิจัย การวิเคราะห์วิจารณ์โครงการและการวิจัย นั้นด้วยกระบวนการสัมมนา จนสามารถสร้างแนวคิดที่ชัดเจนตกผลึกเป็นของตนเองได้ ในขณะเดียวกันก็จะต้องมีโครงการและ/ หรือกรณีศึกษาเพื่อสะท้อนนวัตกรรมและความรับผิดชอบต่อวิชาการและสังคม มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาโท
  • 19. มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก 1. เข้าถึงแก่นความรู้ สามารถสร้างและอธิบายองค์ความรู้ใหม่ได้ 2. มีสมรรถภาพทางปัญญา ตกผลึกทางความคิดและคาดการณ์อนาคตได้ 3. มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ที่ทาวิจัย เชื่อมโยงศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญกับศาสตร์อื่นได้อย่างกลมกลืน 4. มีความกล้าหาญทางจริยธรรม เป็นผู้นาในจรรยาบรรณของวิชาชีพและ จริยธรรมของสังคม เงื่อนไขการเรียนรู้ เงื่อนไขการเรียนรู้สาหรับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในระดับนี้มีกรอบหลัก คือ การวิจัย ความเชี่ยวชาญและการ เป็นนักวิชาการ ดังนั้นจึงประกอบด้วยการค้นคว้า เรียนรู้ที่ลึกซึ้งถึงพรมแดนของความรู้ กระบวนการแสวงหาความรู้ที่ เข้มลึกและเจาะถึงแก่นของความรู้ การทดสอบ ท้าทายต่อความรู้ใหม่ ตลอดจนเชื่อมโยงข้อค้นพบใหม่ในสาขาของตน กับสังคมได้อย่างเหมาะสม มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอก
  • 20. Level Hong Kong : Generic Level Descriptors Knowledge & Intellectual Skills Processes Application, Autonomy & Accountability Communication, IT and Numeracy 6 - Critically review, consolidate, and extend a systematic, coherent body of knowledge - Utilize highly specialized technical research or scholastic skills across an area of study - Critically evaluate new information, concepts and evidence from a rage of sources and develop creative responses - Critically review, consolidate and extend knowledge, skills practices and thinking in a subject/discipline - Deal with complex issues and make informed judgements in the absence of complete or consistent data/information. -Transfer and apply diagnostic and creative skills in a range of situations -Exercise appropriate judgement in complex planning, design, technical and/or management functions related to products, services, operations or processes, including resourcing and evaluation -Conduct research, and/or advanced technical or professional activity -Design and apply appropriate research methodologies. -Apply knowledge and skills in a broad range of professional work activities -Practice significant autonomy in determining and achieving personal and/or group outcomes -Accept accountability in related decision making including use of supervision -Demonstrate leadership and/or make an identifiable contribution to change and development. -Communicate, using appropriate methods, to a range of audiences including peers, senior colleagues, specialists -Use a wide range of software to support and enhance work; identify refinements to existing software to increase effectiveness or specify new software -Undertake critical evaluations of a wide range of numerical and graphical data, and use calculations at various stages of the work
  • 21. Malaysia : Generic Level Descriptors Certificate of Competency for Skills Training Knowledge Intellectual skills Psychomotor skills Information Management, communication & Learning skills Personal attributes, professionalism & responsibility Context Masters Mastery or overview at advanced level, of the theoretical and/or applied aspects of a specialist body of study or professional practice; Much of the study undertaken will have been at or informed by, the forefront of an academic or professional discipline and are familiar with complex and specialised areas of knowledge and skills Ability to integrate new ideas with established knowledge and show originality, creativity, flexibility and independence in the systematic application of knowledge in tackling complex issues and solving problems. High order of skill in analysis, critical evaluation and/or professional application through the planning and execution of project work or a piece of scholarship or research Understands how the boundaries of knowledge are advanced through research Substantial personal responsibility and initiative in planning and taking responsibility for complex decision making Qualities needed for employment in circumstances requiring sound judgement and personal responsibility for related decision making, in complex and unpredictable professional environments.
  • 22. บัณฑิตศึกษา 2 แนว แนววิชาการ แนววิชาชีพ การวิจัยค้นคว้า การฝึกอบรม ความเป็นนักวิชาการ ความเป็นผู้เชี่ยวชาญ ความเรืองปัญญา ความชานาญ การแสวงหา การพัฒนาทักษะ ความรู้บริสุทธิ์ ความรู้ประยุกต์ สนองตอบต่อวิชาการ สนองต่ออาชีพ/สังคม
  • 23. มาก มาก มาก น้อย วิจัยมาก อบรมมาก แบบผสม  วิจัยน้อย อบรมมาก  แบบเน้นวิชาชีพ วิจัยมาก  อบรมบ้าง แบบเน้นการวิจัย วิจัยน้อย อบรมน้อย โครงการพิเศษระยะสั้น ผสมผสาน 2 แนว วิชาการ วิชาชีพ
  • 24. กลยุทธ์การสอน 5 กลุ่มหลัก 1. การใช้กรณีศึกษา (Case-based study) การใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem based learning) 2. การพัฒนาโครงการและกิจกรรมต่างๆ (Project-based learning) ให้ เป็นผลงานวิจัย (Research based learning) ขึ้นมา 3. การเรียนรู้ด้วยการให้เกิดการตกผลึกทางปัญญา (Crystal based approach) และมองเห็นองค์ความรู้อย่างมีบูรณาการ (Integrated based learning) 4. การฝึกปฏิบัติและฝึกแก้ปัญหาในสถานที่จริง (Field-based learning or workplace learning) 5. รู้จักประเมิน (Evaluation) และนาไปสู่สิ่งใหม่ต่อไป
  • 25. ปัญจวิธี : สอนให้คิด 1. คิดคนเดียว - ตั้งประเด็นคิดที่เฉียบคม - หาทางให้ทุกคนคิดอย่างลึก 2. คิดเป็นกลุ่ม - แลกเปลี่ยนเชิงโต้แย้งความคิดในกลุ่ม (ย่อย) - ยืนยันด้วยเหตุผลและข้อมูล - เปลี่ยนเมื่อเห็นว่าข้อมูลตัวเองไม่พอ 3. พร้อมโต้แย้ง - พร้อมแจงความคิดของกลุ่ม - แลกเปลี่ยนความคิดของกลุ่มให้ได้ 4. อธิบายความคิด - พร้อมที่จะเสนอในที่ประชุม (ใหญ่) - รับการเปลี่ยนแปลง / นาไปสู่การคิดใหม่ 5. สรุปความคิด - ผู้สอนวิเคราะห์ / สรุป
  • 26. ปัญจวิธี : สอนให้วิจัย 1. นาผลงานวิจัยมาใช้สอน (ของคนอื่นก็ได้แต่น่าจะเป็นงานของ ตนเอง) 2. นาโครงการวิจัยมาวิเคราะห์ / สังเคราะห์ (มีโครงการที่หลากหลาย และมองเห็นแนวของตนเอง) 3. ทารายงานด้วยการวิจัย (ให้คิดและมองนอกกรอบไปบ้างอย่าติดกับ ของเดิมมากนัก) 4. การทา Baby Thesis (วิจัยขนาดเล็กเพื่อเรียนรู้วิธีการ) (อย่ามากนัก) 5. ทาวิทยานิพนธ์ (Thesis) (ให้เขาทาเองเป็นหลัก บทบาทที่ปรึกษา)
  • 27. อย่าปัดความรับผิดชอบ ต้องสร้างและมีความมุ่งมั่น อยากให้ลูกศิษย์มีอะไรเราต้องมีสิ่งนั้นก่อน มีความปรารถนาดี อยากให้เขารู้ และพัฒนาถึงที่สุด ไม่เอาเปรียบ (ในทุกกรณี) คิดถึงและเอามาเผื่อ เล่าประสบการณ์ที่เป็นกาลังใจ (Intellectual Journey) เชื่อว่าผู้เรียนต้องการเรียนและเรียนได้ ต้องชี้และบอกให้ชัด ปลูกฝังจรรยาบรรณ  Nobody is perfect, but… สานึกและรับผิดชอบ
  • 29. ข้อหนึ่ง การเรียนการสอนที่ยังไม่สร้างความรู้ขึ้นใหม่ในสังคมไทย ข้อสอง สิ่งที่ผู้เรียนเรียนรู้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในสังคมไทย ข้อสาม ครูเป็นผู้แสวงหาความรู้ และเตรียมความรู้ให้กับผู้เรียน ข้อสี่ การเรียนการสอนที่เน้นการบรรยายเป็นส่วนใหญ่ ข้อห้า เชื่อตามที่ผู้สอนบอก ข้ออ่อนด้อยของการเรียนการสอนบัณฑิตศึกษาไทย ตามอย่าง บริโภคนิยม สร้างสรรค์ ผลิตผลนิยม ข ก
  • 30. สู่บัณฑิตศึกษาเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ ข้อหนึ่ง สร้างความรู้ขึ้นใหม่ในสังคมไทย ข้อสอง เรียนรู้เนื้ อหาที่สอดคล้องและแก้ปัญหาสังคมไทย ข้อสาม ผู้เรียนรับผิดชอบความรู้และหาด้วยตนเอง ข้อสี่ ลดบรรยาย ลงมือทา (Lecture Less Do More) ข้อห้า คิดใหม่ สร้างงานใหม่ เป็นตัวของตัวเอง
  • 31.
  • 32. Teaching Profession : Basic Ideas 1. Quality, Excellent and Greatness 2. Youth, Society and Goodness 3. Knowledge, Wisdom and Research 4. Ideas, Product and Best Practice 5. Improvement, Development and Change 6. Network, Cooperation and Teamness 7. Evaluation, Compare and Progress แนวคิดพื้นฐานของวิชาชีพครูจะต้องเชื่อมโยงกับความดีความงาม ความเป็นเลิศ ความรู้และความก้าวหน้าเป็นหลักใหญ่
  • 33. สรุปยุทธศาสตร์ 7 ประการ ผู้บริหารมุ่งมั่น/เอาจริง และยิ่งใหญ่ Dreaming /Visioning สร้างแรงบันดาลใจให้ครู Inspiring/Encouraging ส่งเสริม ลงมือปฏิบัติจริงให้ดีที่สุด สนใจเด็ก Best Practicing/doing เรียนรู้และใช้กระบวนการที่หลากหลาย Diversifying/Differentiating พัฒนาครูให้แสวงหาสิ่งที่ดีกว่า Empowering/Developing ประเมินติดตามใกล้ชิด ดูแลคุณภาพ Coaching/Mentoring สร้างความร่วมมือกับชุมชน/เครือข่าย Networking/Cooperating
  • 34. ก้าวพ้นบาปห้าประการ-ปัญจบาป เน้นแต่วิชาการ ไม่เน้นชีวิตจริง เน้นแต่เนื้ อหา ไม่เน้นกระบวนการ เน้นแต่ความจา ไม่เน้นการคิด เน้นแต่ความคงที่ ไม่เน้นความเปลี่ยนแปลง เน้นแต่อดีต ไม่เน้นอนาคต