SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(Public Sector Management Quality Award: MQA)
กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย
หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์
และการจัดการความรู้
หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com
Contents
หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้1
หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล2
การทบทวนลักษณะสาคัญขององค์กร3
หมวด ๗ ผลลัพธ์การดาเนินการ4
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public
Sector Management Quality
Award : PMQA) เป็นกรอบการบริหารจัดการ
องค์การ ที่สานักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วน
ราชการนาไปใช้ในการประเมินองค์การด้วยตนเองที่ครอบคลุม
ภาพรวมในทุกมิติเพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้
เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นให้หน่วยงานราชการปรับปรุง
องค์การอย่างรอบด้านและอย่างต่อเนื่องครอบคลุมทั้ง 7 ด้าน
www.prachyanun.com
การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com
RBM
www.prachyanun.com
Cause and Effect
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง
ที่ดี พ.ศ. 2546 (Good Governance)
 หมวด 1 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (มาตรา 6)
 หมวด 2 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชาชน (มาตรา 7 – มาตรา 8)
 หมวด 3 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ (มาตรา 9 – มาตรา 19)
 หมวด 4 การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ
(มาตรา 20 – มาตรา 26)
 หมวด 5 การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน(มาตรา 27 – มาตรา 32)
 หมวด 6 การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ(มาตรา 33 – มาตรา 36)
 หมวด 7 การอานวยความสะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน (มาตรา 37 –
มาตรา 44)
 หมวด 8 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ม.45 – 49)
 หมวด 9 บทเบ็ดเตล็ด (ม.50 – 53)
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com
Good Governance & PMQA
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com
สมัครเข้ารับรางวัล
PMQA
การพัฒนาคุณภาพการ
บริหารจัดการภาครัฐ
Yes
No
ได้รับรายงานป้ อนกลับ
ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับ
การประกาศเกียรติคุณ
การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติที่เป็น
เลิศ (Best Practice Sharing)
บูรณาการเครื่องมือและโครงการต่าง ๆ
ในการพัฒนาระบบราชการ
(Management Tools and Projects)
การประเมินองค์กรด้วยตนเอง
(Self-Assessment)
ส่วนราชการทราบจุดแข็งและ
โอกาสในการปรับปรุง
ดาเนินการปรับปรุง สร้างแผนปรับปรุง
1 2
34
ADLI & PDCA
www.prachyanun.com
หมวดที่ 4 IT & KM
ในหมวดการวัด การวิเคราะห์ และ
การจัดการความรู้นี้
เป็ นการตรวจประเมินว่า ส่วนราชการ
เลือก รวบรวม วิเคราะห์ จัดการและ
ปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และ
จัดการความรู้อย่างไร
IT & KM
www.prachyanun.com
หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
เป็นการประเมินการเลือก
รวบรวม
วิเคราะห์
จัดการ
ปรับปรุงข้อมูลและสารสนเทศ และการจัดการ
ความรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์ในการปรับปรุงผลการ
ดาเนินการขององค์การ
www.prachyanun.com
การจัดการความรู้ ปภ.
www.prachyanun.com
หมวด ๔ การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้
www.prachyanun.com
ภาพรวม หมวดที่ 4
www.prachyanun.com
แนวทางการดาเนินการ หมวดที่ 4
www.prachyanun.com
แนวทางการดาเนินการ หมวดที่ 4 (ต่อ)
www.prachyanun.com
รหัส แนวทางการดาเนินการ
การจัดการ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้
IT4 ส่วนราชการต้องมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
ข้อมูลข่าวสารได้อย่างเหมาะสม (พ.ร.ฎ.GG มาตรา 39))
IT5 ส่วนราชการต้องมีระบบการติดตาม เฝ้ าระวัง และเตือนภัย (Warning
System) เช่น การกาหนดระบบการเตือนภัยแบบสัญญาณไฟจราจร การ
จัดตั้งห้องปฏิบัติการ (Operation Room, Management Cockpit, War
Room) ที่บ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
IT6 ส่วนราชการต้องมีระบบบริหารความเสี่ยงของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ
IT7 ส่วนราชการต้องจัดทาแผนการจัดการความรู้ และนาแผนไปปฏิบัติ
หมวดที่ 5 HRD
 ในหมวดของการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคลนี้
เป็ นการตรวจประเมินว่าระบบงาน และระบบการเรียนรู้
ของบุคลากรและการสร้างแรงจูงใจ ช่วยให้บุคลากร
พัฒนาตนเองและใช้ศ ักยภาพอย่างเต็มที่
เพื่อให้มุ่งไปในแนวทางเดียวกันกับเป้ าประสงค์
และแผนปฏิบัติการโดยรวมของส่วนราชการอย่างไร
รวมทั้ง ตรวจประเมินความใส่ใจการสร้างและรักษา
สภาพแวดล้อมในการทางาน สร้างบรรยากาศที่เอื้อ
ต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งจะนาไปสู่ผลการ
ดาเนินการที่เป็ นเลิศ และความเจริญก้าวหน้าของ
บุคลากรและส่วนราชการ
www.prachyanun.com
หมวด ๕ การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
www.prachyanun.com
แนวทางการดาเนินการ หมวดที่ 5
www.prachyanun.com
แนวทางการดาเนินการ หมวดที่ 5 (ต่อ)
www.prachyanun.com
แนวทางการให้คะแนนหมวด 1-6
www.prachyanun.com
บทสรุป
www.prachyanun.com
บทสรุป
www.prachyanun.com
คาถาม
www.prachyanun.com
วิทยากร
 รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
คณะครุศาตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
081-7037515
prachyanunn@kmutnb.ac.th
http://www.prachyanun.com
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
panitaw@kmutnb.ac.th
คณะครุศาตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
www.prachyanun.com
www.prachyanun.com

More Related Content

Similar to การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
Natepanna Yavirach
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 

Similar to การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (10)

Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007Pmqa%20 aug%202007
Pmqa%20 aug%202007
 
แผนพัฒนาการศึกษา3
แผนพัฒนาการศึกษา3แผนพัฒนาการศึกษา3
แผนพัฒนาการศึกษา3
 
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqfการประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
การประเมินผู้เรียนตามมาตรฐาน Tqf
 
งานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยางานวิจัยจิตวิทยา
งานวิจัยจิตวิทยา
 
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์
การบริหารองค์กรด้วยเทคโนโลยีออนไลน์
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
Km beyond40
Km beyond40Km beyond40
Km beyond40
 
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
ลักษณะผลงานทางวิชาการ2560#1
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 

More from Prachyanun Nilsook

เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
Prachyanun Nilsook
 

More from Prachyanun Nilsook (20)

Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in educationGenerative Artificial Intelligence for Imagineering in education
Generative Artificial Intelligence for Imagineering in education
 
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
3.เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_12.pdf
 
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdfเทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
เทคนิคการเขียนบทความระดับนานาชาติ_2566_10.pdf
 
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาบทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
บทบาทของวิชาชีพเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิตระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
ระบบธนาคารสะสมหน่วยกิต
 
Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
BCG Model
BCG ModelBCG Model
BCG Model
 
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdfคู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
คู่มือการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งสมรรถนะ.pdf
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdfแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน-สอศ.2559.pdf
 
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
เทคนิคการเขียนโครงการวิจัยและนวัตกรรมให้ได้ทุนวิจัยจากสำนักงาน วช.
 
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอนเทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอนการเขียนเอกสารประกอบการสอน
การเขียนเอกสารประกอบการสอน
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
กระบวนการร่างบทความวิจัยในวารสารระดับนานาชาติด้านคอมพิวเตอร์
 
Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022Online education innovation_new_normal_2022
Online education innovation_new_normal_2022
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการการทำผลงานทางวิชาการ  เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การทำผลงานทางวิชาการ เกณฑ์และการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
Digital transformation
Digital transformation Digital transformation
Digital transformation
 
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
แนวทางการตีพิมพ์บทความวิจัยระดับนานาชาติ
 

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ