SlideShare a Scribd company logo
แบบฟอร์มสรุปการอ่านหนังสือ
ปีการศึกษา 2554
เล่มที่ 1 ครบเครื่องเรื่องการคิด
ชื่อผู้แต่ง ด ร . สุ วิ ท ย์ มู ล คำา
ชื่อ-สกุล เลขที่พิมพ์ลายนิ้วมือ
ตำาแหน่ง
***********************
จากการอ่านหนังสือเล่มนี้ท่านได้ข้อคิด / ประโยชน์ / องค์ความรู้
ใหม่ / แนวคิด / ทฤษฏี / ข้อค้นพบ / แนวคิดสร้างสรรค์อะไรบ้าง และ
ท่านจะนำาความรู้ที่อ่านไปประยุกต์ใช้กับตนเอง / งาน / โรงเรียน
อ ย่ า ง ไ ร
การคิดคืออะไร ทำาไมต้องคิด คิดแล้วมีประโยชน์อย่างไร
แ ล ะ คิ ด อ ย่ า ง ไ ร จึ ง จ ะ ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กำาหนดในมาตรฐานการ
เรียนรู้ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ
คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ดังนั้น เพื่อ
ให้การจัดการเรียนการสอนส่งเสริมให้ผู้เรียน เป็นไปตามมาตรฐานที่
กำาหนดไว้ ในฐานะครูผู้สอนจึงมีความตระหนัก และสนใจเป็นพิเศษ
เพื่อให้ลูกศิษย์ของตนเองเป็นผู้ที่มีความคิด แต่ไม่ใช่แค่คิดเท่านั้น แต่
ต้องพัฒนาการฝึกคิดให้ครบ หรือแม้แต่ครูผู้สอนเอง ก็ต้องเป็นผู้ที่ต้อง
พั ฒ น า ก า ร ฝึ ก คิ ด ใ ห้ ค ร บ เ ช่ น กั น
ดร. สุวิทย์ มูลคำา ต้องการถ่ายทอดประสบการณ์การทำางานที่
เคยรับผิดชอบมาคือการบริหารจัดการศึกษา ดูแลสถานศึกษามาก็หลาย
แห่ง เป็นครู มาก็หลายสถาบัน มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ดังนั้น จึงได้ค้น
พบกับตนเอง และต้องการถ่ายทอดประสบการณ์ที่สำาคัญยิ่งนี้ โดยมอง
ว่า การบริหารจัดการศึกษาที่จะประสบผลสำาเร็จได้ คุณภาพของผู้เรียน
ต้องมาเป็นอันดับแรก และเป็นสิ่งที่สำาคัญที่สุด มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบต้อง
มีลักษณะที่เก่ง ดี และมีความสุข ดังนั้นจึงเป็นที่มาของความต้องการให้
ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านทักษะกระบวนการคิด มิฉะนั้นเด็ก
ไทยอาจไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และสงคราม
ท า ง ค ว า ม คิ ด ที่ กำา ลั ง จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น โ ล ก แ ห่ ง อ น า ค ต
การพัฒนากระบวนการคิด คือ กระบวนการพัฒนาสมอง และ
ทักษะกระบวนการคิด ซึ่งจะส่งผลถึงการสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม
ไทยได้ในระยะยาว ซึ่งจากการได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว บอกต่อได้ว่า “
”ความคิด เป็นกลไกของสมองที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาตามธรรมชาติของ
มนุษย์ เป็นกระบวนการทำางานของสมองที่ต้องอาศัยประสบการณ์ สิ่ง
เร้า สิ่งแวดล้อมรอบข้างในการช่วยกระตุ้นให้สมองเกิดการคิด และกลั่น
ออกมาเป็นองค์ความรู้ที่สามารถจับต้องได้ และในที่สุด มนุษย์เองก็
สามารถนำาเอาองค์ความรู้นั้นมาพัฒนาตนเอง ให้เก่งยิ่งขึ้นต่อไป และ
อีกนัยหนึ่ง การคิด นับได้ว่าเป็นกิจกรรมทางจิตอย่างหนึ่ง ที่ประกอบ
ด้วย 3 ลักษณะ คือ ความรู้สึก ความจำา และจินตนาการ การพัฒนา
กระบวนการคิด เริ่มต้นที่เราต้องเตรียมความพร้อมของสมองก่อน ซึ่ง
สมองของมนุษย์จะได้รับการพัฒนาตั้งแต่ก่อนคลอดประมาณ ร้อยละ
30 และ จะพัฒนาต่อไปหลังคลอด ในช่วงปฐมวัยอีกร้อยละ 70 ดัง
นั้นต้องมีการเตรียมความพร้อมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การดื่มนำ้า การรับ
ประทานอาหาร การหายใจ การฟังเพลง การคลายความเครียด เป็นต้น
เพราะฉะนั้น ครูต้องนึกตลอดเวลาว่า สมองเด็กกำาลังเจริญเติบโต และ
ต้องคำานึงถึงว่าเด็กต้องใช้เวลาอยู่กับครูนานเท่าไร ซึ่งแสดงว่าสมอง
ส่วนใหญ่นั้นล้วนแต่มีผลมาจากครู นอกจากนั้นสมองเด็กยังต้องการหา
สิ่งใหม่ๆ ประสบการณ์ใหม่ๆ มาเรียนเสมอ ต้องการตัวกระตุ้นแต่ไม่ใช่
วิชาการมากมายเกินไป ซำ้าซากน่าเบื่อ จนทำาให้เด็กมีความทุกข์ โดย
ให้ความรู้เฉพาะที่ใช้ประโยชน์ได้จริง ไม่ซำ้าซาก ต้องมีความพอดีใน
การให้ความรู้การทำากิจกรรม การออกำาหกลังกาย การพักผ่อน ตลอด
จนการดูแลสิ่งแวดล้อมที่จะมีผลต่อสมองเด็ก และการเรียนรู้
“สมอง คือ คอมพิวเตอร์มหัศจรรย์ มันมีอยู่แล้วในตัวของ
มนุษย์เอง ขอเพียงแต่รู้จักพัฒนาและ ใช้มันให้คุ้มค่า ผล
”ง า น ท า ง ปั ญ ญ า ก็ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ม า ก ม า ย
ก า ร คิ ด เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร
การคิดของมนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อมีการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว
ซึ่งอาจเป็นข้อมูล สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นสิ่งเร้า ซึ่งมนุษย์อาจรับรู้ด้วย
ประสาทสัมผัสทั้ง 5 แต่ถ้าหากสิ่งเร้าใดที่เกิดในลักษณะของความขัด
แย้ง จึงทำาให้มนุษย์เกิดกระบวนการคิด หาวิธีการในการแก้ปัญหา
ความคิดประกอบด้วย สิ่งเร้า การรับรู้ จุดมุ่งหมายในการคิด วิธีคิด
ข้อมูล/เนื้อหา และผลของการคิด ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ ได้อธิบายถึง
ค ว า ม คิ ด ว่ า มี ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ แ ก่
1. ความคิดตามแนวคิดของทิศนา แขมณี : ประกอบด้วยทักษะการคิด
ลั ก ษ ณ ะ ก า ร คิ ด แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด
2. ความคิดตามหลักพุทธวิธี “ ”โยนิโสมนสิการ : เป็นแนวคิดในการ
ห า เ ห ตุ ผ ล แ น ว ท า ง แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง อ อ ก
แ ห่ ง ก า ร พ้ น ทุ ก ข์ ต า ม แ น ว ท า ง ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า
3. ความคิดตามแนวคิดของนวลจิตติ์ เชาวกีรติพงศ์ : การคิดแบบ
ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ก า ร คิ ด แ บ บ ซั บ ซ้ อ น (ก า ร คิ ด ใ น
ร ะ ดั บ สู ง )
4. ความคิดตามแนวคิดของเอ็ดเวอร์ด เดอ โบโน : การคิดตามขั้นตอน
แ ล ะ ก า ร คิ ด แ บ บ น อ ก ก ร อ บ
5. ความคิดตามแนวคิดของกาเย่ : การคิดที่มีจุดหมาย และไม่มีจุด
ห ม า ย
6. ความคิดตามพระธรรมปิฏก : การคิดเป็น และคิดไม่เป็น
นอกจากนี้ ด ร . สุวิท ย์ มูล คำา ยังได้นำาเสนอบัญ ญัติ 10
ป ร ะ ก า ร ใ น ก า ร ส อ น คิด (อรพรรณ พรสีมา : 2543) ดังนี้
1. ใ ช้ คำา ถ า ม ใ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ คิ ด
2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยใช้จินตนาการ
3. เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ทำา กิ จ ก ร ร ม ทั้ ง ค น เ ดี ย ว แ ล ะ เ ป็ น ก ลุ่ ม
4. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เ ป็ น ขั้ น ต อ น
5. มี ก า ร ก ร ะ ตุ้ น แ ล ะ เ ส ริ ม แ ร ง เ ป็ น ร ะ ย ะ
6. รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง นั ก เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม ตั้ ง ใ จ
7. ใช้วิธีการชี้แนะ แทนการบอกคำา ตอบที่ถูกต้องในทันที
8. สร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อให้กระตือรือร้น
9. จัดแสดงสื่อ และอุปกรณ์การคิดหลายหลายประเภท และเปิด
โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก เ รี ย น ใ ช้ สื่ อ
10. จัดตกแต่งบอร์ด ผนังห้อง หรือมีทีแสดงผลงานทางความคิด
บุ ค ลิ ก ข อ ง ค น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ก า ร คิ ด
1. รู้ สึ ก ไ ว ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ สิ่ ง ร อ บ ข้ า ง
2. ช่ า ง สั ง เ ก ต
3. รั บ รู้ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว
4. ไม่ต้องการให้ใครมาขัดจังหวะในการจดจ่อกับกิจกรรมบางอย่าง
5. มี ส ม า ธิ ไ ด้ น า น ใ น ก า ร ทำา กิ จ ก ร ร ม
6. จำา เ ร็ ว
7. จำา แ ม่ น
8. เ บื่ อ ห น่ า ย ง่ า ย กั บ กิ จ ก ร ร ม ป ร ะ จำา วั น
9. ช อ บ ค น ที่ มี อ า ยุ ม า ก ก ว่ า
10. ช อ บ ทำา อ ะ ไ ร ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง
11. ช อ บ ทำา ง า น ค น เ ดี ย ว ม า ก ก ว่ า ง า น ก ลุ่ ม
12. ช อ บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ท้ า ท า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ
13. ส น ใ จ ช อ บ ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ
14. ส น ใ จ ใ น สิ่ ง ที่ ผู้ ใ ห ญ่ ต้ อ ง ป ร ะ ห ล า ด ใ จ
15. ทำา ง า น ที่ ช อ บ ไ ด้ ดี เ กิ น คำา สั่ ง
16. เ รี ย น รู้ สิ่ ง ใ ห ม่ ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว
17. ใ ช้ ภ า ษ า ที่ สู ง เ ดิ น วั ย
18. เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ใ ด แ ล้ ว มี แ น ว โ น้ ม ว่ า จ ะ ทำา ไ ด้ ดี
19. ช อ บ ตั้ ง คำา ถ า ม
20. ส น ใ จ เ ป็ น พิ เ ศ ษ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ช้ ค ว า ม คิ ด
21. ส อ บ จั ด ร ะ เ บี ย บ ห รื อ โ ค ร ง ส ร้ า ง ใ ห้ กั บ สิ่ ง ต่ า ง ๆ
22. สามารถคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนามธรรมได้อย่างลึกซึ้งมากกว่าเด็ก
ใ นวั ยเ ดี ย ว ดั บ เช่ น คำา ว่า ปร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ค วา มซื่ อ สั ต ย์
23. อ ย า ก รู้ อ ย า ก เ ห็ น เ ป็ น พิ เ ศ ษ
24. ช อ บ ก า ร ค า ด ค ะ แ น
25. มี เ ห ตุ ผ ล
26. บ อ ก ถึ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง แ ล ะ ค ว า ม ค ล้ า ย ค ลึ ง ไ ด้ ดี
27. จั บ ป ร ะ เ ด็ น สำา คั ญ เ ก่ ง
28. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันได้
29. ส รุ ป ภ า พ เ รื่ อ ง ร า ว ไ ด้ ดี
30. ไ ม่ ด้ ว น ส รุ ป โ ด ย ไ ม่ วิ เ ค ร า ะ ห์ ต ร ว จ ส อ บ ก่ อ น
31. ว า ง แ ผ น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น
32. มี ส า มั ญ สำา นึ ก ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า
33. สามารถผสมผสานความรู้ ความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ได้ดี
ดังนั้น เมื่อรู้หลักการอย่างนี้แล้ว คิดว่าน่าที่จะเป็นประโยชน์ที่เราควร
จะนำามาใช้กับตัวเอง และนักเรียนของเรา เพื่อเป็นนักคิดที่เยี่ยมที่สุด
กระบวนการค ด
กระบวนการค ด

More Related Content

Viewers also liked

Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato (tomato breeding)
Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato  (tomato breeding)Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato  (tomato breeding)
Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato (tomato breeding)
Mohammed Sami
 
Money and Mobile: Swedbank
Money and Mobile: SwedbankMoney and Mobile: Swedbank
Money and Mobile: Swedbank
Erkki Saarniit
 
Cts idj brief jan15
Cts idj brief jan15Cts idj brief jan15
Cts idj brief jan15
Leon Lim
 
Pitch1
Pitch1Pitch1
Pitch1
carysmorley
 
Drawing project 2 january 2015
Drawing project 2 january 2015Drawing project 2 january 2015
Drawing project 2 january 2015
Leon Lim
 
La nouvelle norme est anormale
La nouvelle norme est anormaleLa nouvelle norme est anormale
La nouvelle norme est anormale
Pictet Wealth Management
 
Project 2 rebranding daily object jan 2015
Project 2 rebranding daily object jan 2015Project 2 rebranding daily object jan 2015
Project 2 rebranding daily object jan 2015
Leon Lim
 
Enbe the journal note brief
Enbe the journal note briefEnbe the journal note brief
Enbe the journal note brief
Leon Lim
 
Family care v2
Family care v2Family care v2
Project 3 residential landscape project
Project 3 residential landscape projectProject 3 residential landscape project
Project 3 residential landscape project
Leon Lim
 
Vehicles d’hidrògen
Vehicles d’hidrògenVehicles d’hidrògen
Vehicles d’hidrògengabe98
 
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielle
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielleEtude de cas n°1 : Entreprise industrielle
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielleElodieOuestOnline
 
Diego’s recipie
Diego’s recipieDiego’s recipie
Diego’s recipie
20drodriguez
 
Présentation dessin
Présentation dessinPrésentation dessin
Présentation dessinELIHOMME
 
โชคลาภกับอัญมณี
โชคลาภกับอัญมณีโชคลาภกับอัญมณี
โชคลาภกับอัญมณี
KungPiyanuch
 
Project 2 design process research analysis
Project 2 design process research  analysisProject 2 design process research  analysis
Project 2 design process research analysis
Leon Lim
 
призетация
призетацияпризетация
призетацияksrnia15
 
Un SystèMe Unifié N1
Un SystèMe Unifié N1Un SystèMe Unifié N1
Un SystèMe Unifié N1
guestb44ed1
 

Viewers also liked (20)

Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato (tomato breeding)
Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato  (tomato breeding)Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato  (tomato breeding)
Transgenics - a biotech approach for improvement of tomato (tomato breeding)
 
Money and Mobile: Swedbank
Money and Mobile: SwedbankMoney and Mobile: Swedbank
Money and Mobile: Swedbank
 
Vehícles elèctrics
Vehícles elèctricsVehícles elèctrics
Vehícles elèctrics
 
Cts idj brief jan15
Cts idj brief jan15Cts idj brief jan15
Cts idj brief jan15
 
Pitch1
Pitch1Pitch1
Pitch1
 
Drawing project 2 january 2015
Drawing project 2 january 2015Drawing project 2 january 2015
Drawing project 2 january 2015
 
La nouvelle norme est anormale
La nouvelle norme est anormaleLa nouvelle norme est anormale
La nouvelle norme est anormale
 
Project 2 rebranding daily object jan 2015
Project 2 rebranding daily object jan 2015Project 2 rebranding daily object jan 2015
Project 2 rebranding daily object jan 2015
 
Enbe the journal note brief
Enbe the journal note briefEnbe the journal note brief
Enbe the journal note brief
 
1
11
1
 
Family care v2
Family care v2Family care v2
Family care v2
 
Project 3 residential landscape project
Project 3 residential landscape projectProject 3 residential landscape project
Project 3 residential landscape project
 
Vehicles d’hidrògen
Vehicles d’hidrògenVehicles d’hidrògen
Vehicles d’hidrògen
 
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielle
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielleEtude de cas n°1 : Entreprise industrielle
Etude de cas n°1 : Entreprise industrielle
 
Diego’s recipie
Diego’s recipieDiego’s recipie
Diego’s recipie
 
Présentation dessin
Présentation dessinPrésentation dessin
Présentation dessin
 
โชคลาภกับอัญมณี
โชคลาภกับอัญมณีโชคลาภกับอัญมณี
โชคลาภกับอัญมณี
 
Project 2 design process research analysis
Project 2 design process research  analysisProject 2 design process research  analysis
Project 2 design process research analysis
 
призетация
призетацияпризетация
призетация
 
Un SystèMe Unifié N1
Un SystèMe Unifié N1Un SystèMe Unifié N1
Un SystèMe Unifié N1
 

Similar to กระบวนการค ด

Content03
Content03Content03
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
Surapon Boonlue
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
Pat1803
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2krubuatoom
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Kasem S. Mcu
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333krujee
 

Similar to กระบวนการค ด (20)

Content03
Content03Content03
Content03
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
04chap2
04chap204chap2
04chap2
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ทรรศนะ2
ทรรศนะ2ทรรศนะ2
ทรรศนะ2
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
การสังเกต Sn
การสังเกต Snการสังเกต Sn
การสังเกต Sn
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
วิชาการศึกษาค้นคว้า ม.33333
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 

กระบวนการค ด

  • 1. แบบฟอร์มสรุปการอ่านหนังสือ ปีการศึกษา 2554 เล่มที่ 1 ครบเครื่องเรื่องการคิด ชื่อผู้แต่ง ด ร . สุ วิ ท ย์ มู ล คำา ชื่อ-สกุล เลขที่พิมพ์ลายนิ้วมือ ตำาแหน่ง *********************** จากการอ่านหนังสือเล่มนี้ท่านได้ข้อคิด / ประโยชน์ / องค์ความรู้ ใหม่ / แนวคิด / ทฤษฏี / ข้อค้นพบ / แนวคิดสร้างสรรค์อะไรบ้าง และ ท่านจะนำาความรู้ที่อ่านไปประยุกต์ใช้กับตนเอง / งาน / โรงเรียน อ ย่ า ง ไ ร การคิดคืออะไร ทำาไมต้องคิด คิดแล้วมีประโยชน์อย่างไร แ ล ะ คิ ด อ ย่ า ง ไ ร จึ ง จ ะ ไ ด้ ป ร ะ โ ย ช น์ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กำาหนดในมาตรฐานการ เรียนรู้ มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ดังนั้น เพื่อ ให้การจัดการเรียนการสอนส่งเสริมให้ผู้เรียน เป็นไปตามมาตรฐานที่ กำาหนดไว้ ในฐานะครูผู้สอนจึงมีความตระหนัก และสนใจเป็นพิเศษ เพื่อให้ลูกศิษย์ของตนเองเป็นผู้ที่มีความคิด แต่ไม่ใช่แค่คิดเท่านั้น แต่ ต้องพัฒนาการฝึกคิดให้ครบ หรือแม้แต่ครูผู้สอนเอง ก็ต้องเป็นผู้ที่ต้อง พั ฒ น า ก า ร ฝึ ก คิ ด ใ ห้ ค ร บ เ ช่ น กั น ดร. สุวิทย์ มูลคำา ต้องการถ่ายทอดประสบการณ์การทำางานที่ เคยรับผิดชอบมาคือการบริหารจัดการศึกษา ดูแลสถานศึกษามาก็หลาย แห่ง เป็นครู มาก็หลายสถาบัน มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ดังนั้น จึงได้ค้น พบกับตนเอง และต้องการถ่ายทอดประสบการณ์ที่สำาคัญยิ่งนี้ โดยมอง ว่า การบริหารจัดการศึกษาที่จะประสบผลสำาเร็จได้ คุณภาพของผู้เรียน ต้องมาเป็นอันดับแรก และเป็นสิ่งที่สำาคัญที่สุด มนุษย์ที่สมบูรณ์แบบต้อง มีลักษณะที่เก่ง ดี และมีความสุข ดังนั้นจึงเป็นที่มาของความต้องการให้ ผู้เรียนได้รับการพัฒนาด้านทักษะกระบวนการคิด มิฉะนั้นเด็ก ไทยอาจไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก และสงคราม ท า ง ค ว า ม คิ ด ที่ กำา ลั ง จ ะ เ กิ ด ขึ้ น ใ น โ ล ก แ ห่ ง อ น า ค ต การพัฒนากระบวนการคิด คือ กระบวนการพัฒนาสมอง และ ทักษะกระบวนการคิด ซึ่งจะส่งผลถึงการสร้างความมั่นคงให้แก่สังคม ไทยได้ในระยะยาว ซึ่งจากการได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้ว บอกต่อได้ว่า “ ”ความคิด เป็นกลไกของสมองที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาตามธรรมชาติของ
  • 2. มนุษย์ เป็นกระบวนการทำางานของสมองที่ต้องอาศัยประสบการณ์ สิ่ง เร้า สิ่งแวดล้อมรอบข้างในการช่วยกระตุ้นให้สมองเกิดการคิด และกลั่น ออกมาเป็นองค์ความรู้ที่สามารถจับต้องได้ และในที่สุด มนุษย์เองก็ สามารถนำาเอาองค์ความรู้นั้นมาพัฒนาตนเอง ให้เก่งยิ่งขึ้นต่อไป และ อีกนัยหนึ่ง การคิด นับได้ว่าเป็นกิจกรรมทางจิตอย่างหนึ่ง ที่ประกอบ ด้วย 3 ลักษณะ คือ ความรู้สึก ความจำา และจินตนาการ การพัฒนา กระบวนการคิด เริ่มต้นที่เราต้องเตรียมความพร้อมของสมองก่อน ซึ่ง สมองของมนุษย์จะได้รับการพัฒนาตั้งแต่ก่อนคลอดประมาณ ร้อยละ 30 และ จะพัฒนาต่อไปหลังคลอด ในช่วงปฐมวัยอีกร้อยละ 70 ดัง นั้นต้องมีการเตรียมความพร้อมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การดื่มนำ้า การรับ ประทานอาหาร การหายใจ การฟังเพลง การคลายความเครียด เป็นต้น เพราะฉะนั้น ครูต้องนึกตลอดเวลาว่า สมองเด็กกำาลังเจริญเติบโต และ ต้องคำานึงถึงว่าเด็กต้องใช้เวลาอยู่กับครูนานเท่าไร ซึ่งแสดงว่าสมอง ส่วนใหญ่นั้นล้วนแต่มีผลมาจากครู นอกจากนั้นสมองเด็กยังต้องการหา สิ่งใหม่ๆ ประสบการณ์ใหม่ๆ มาเรียนเสมอ ต้องการตัวกระตุ้นแต่ไม่ใช่ วิชาการมากมายเกินไป ซำ้าซากน่าเบื่อ จนทำาให้เด็กมีความทุกข์ โดย ให้ความรู้เฉพาะที่ใช้ประโยชน์ได้จริง ไม่ซำ้าซาก ต้องมีความพอดีใน การให้ความรู้การทำากิจกรรม การออกำาหกลังกาย การพักผ่อน ตลอด จนการดูแลสิ่งแวดล้อมที่จะมีผลต่อสมองเด็ก และการเรียนรู้ “สมอง คือ คอมพิวเตอร์มหัศจรรย์ มันมีอยู่แล้วในตัวของ มนุษย์เอง ขอเพียงแต่รู้จักพัฒนาและ ใช้มันให้คุ้มค่า ผล ”ง า น ท า ง ปั ญ ญ า ก็ จ ะ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ม า ก ม า ย ก า ร คิ ด เ กิ ด ขึ้ น ไ ด้ อ ย่ า ง ไ ร การคิดของมนุษย์ เกิดขึ้นเมื่อมีการสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมรอบตัว ซึ่งอาจเป็นข้อมูล สถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นสิ่งเร้า ซึ่งมนุษย์อาจรับรู้ด้วย ประสาทสัมผัสทั้ง 5 แต่ถ้าหากสิ่งเร้าใดที่เกิดในลักษณะของความขัด แย้ง จึงทำาให้มนุษย์เกิดกระบวนการคิด หาวิธีการในการแก้ปัญหา ความคิดประกอบด้วย สิ่งเร้า การรับรู้ จุดมุ่งหมายในการคิด วิธีคิด ข้อมูล/เนื้อหา และผลของการคิด ซึ่งในหนังสือเล่มนี้ ได้อธิบายถึง ค ว า ม คิ ด ว่ า มี ห ล า ย ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ แ ก่ 1. ความคิดตามแนวคิดของทิศนา แขมณี : ประกอบด้วยทักษะการคิด ลั ก ษ ณ ะ ก า ร คิ ด แ ล ะ ก ร ะ บ ว น ก า ร คิ ด 2. ความคิดตามหลักพุทธวิธี “ ”โยนิโสมนสิการ : เป็นแนวคิดในการ ห า เ ห ตุ ผ ล แ น ว ท า ง แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง อ อ ก แ ห่ ง ก า ร พ้ น ทุ ก ข์ ต า ม แ น ว ท า ง ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า 3. ความคิดตามแนวคิดของนวลจิตติ์ เชาวกีรติพงศ์ : การคิดแบบ ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ก า ร คิ ด แ บ บ ซั บ ซ้ อ น (ก า ร คิ ด ใ น
  • 3. ร ะ ดั บ สู ง ) 4. ความคิดตามแนวคิดของเอ็ดเวอร์ด เดอ โบโน : การคิดตามขั้นตอน แ ล ะ ก า ร คิ ด แ บ บ น อ ก ก ร อ บ 5. ความคิดตามแนวคิดของกาเย่ : การคิดที่มีจุดหมาย และไม่มีจุด ห ม า ย 6. ความคิดตามพระธรรมปิฏก : การคิดเป็น และคิดไม่เป็น นอกจากนี้ ด ร . สุวิท ย์ มูล คำา ยังได้นำาเสนอบัญ ญัติ 10 ป ร ะ ก า ร ใ น ก า ร ส อ น คิด (อรพรรณ พรสีมา : 2543) ดังนี้ 1. ใ ช้ คำา ถ า ม ใ น ก า ร ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ คิ ด 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โดยใช้จินตนาการ 3. เ ปิ ด โ อ ก า ส ใ ห้ ทำา กิ จ ก ร ร ม ทั้ ง ค น เ ดี ย ว แ ล ะ เ ป็ น ก ลุ่ ม 4. ใ ห้ นั ก เ รี ย น ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด อ ย่ า ง เ ป็ น ขั้ น ต อ น 5. มี ก า ร ก ร ะ ตุ้ น แ ล ะ เ ส ริ ม แ ร ง เ ป็ น ร ะ ย ะ 6. รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง นั ก เ รี ย น ด้ ว ย ค ว า ม ตั้ ง ใ จ 7. ใช้วิธีการชี้แนะ แทนการบอกคำา ตอบที่ถูกต้องในทันที 8. สร้างสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อให้กระตือรือร้น 9. จัดแสดงสื่อ และอุปกรณ์การคิดหลายหลายประเภท และเปิด โ อ ก า ส ใ ห้ นั ก เ รี ย น ใ ช้ สื่ อ 10. จัดตกแต่งบอร์ด ผนังห้อง หรือมีทีแสดงผลงานทางความคิด บุ ค ลิ ก ข อ ง ค น ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ก า ร คิ ด 1. รู้ สึ ก ไ ว ต่ อ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ล ะ สิ่ ง ร อ บ ข้ า ง 2. ช่ า ง สั ง เ ก ต 3. รั บ รู้ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ไ ด้ อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว 4. ไม่ต้องการให้ใครมาขัดจังหวะในการจดจ่อกับกิจกรรมบางอย่าง 5. มี ส ม า ธิ ไ ด้ น า น ใ น ก า ร ทำา กิ จ ก ร ร ม 6. จำา เ ร็ ว 7. จำา แ ม่ น 8. เ บื่ อ ห น่ า ย ง่ า ย กั บ กิ จ ก ร ร ม ป ร ะ จำา วั น 9. ช อ บ ค น ที่ มี อ า ยุ ม า ก ก ว่ า 10. ช อ บ ทำา อ ะ ไ ร ไ ด้ ด้ ว ย ต น เ อ ง 11. ช อ บ ทำา ง า น ค น เ ดี ย ว ม า ก ก ว่ า ง า น ก ลุ่ ม 12. ช อ บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ท้ า ท า ย ค ว า ม ส า ม า ร ถ 13. ส น ใ จ ช อ บ ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ 14. ส น ใ จ ใ น สิ่ ง ที่ ผู้ ใ ห ญ่ ต้ อ ง ป ร ะ ห ล า ด ใ จ 15. ทำา ง า น ที่ ช อ บ ไ ด้ ดี เ กิ น คำา สั่ ง 16. เ รี ย น รู้ สิ่ ง ใ ห ม่ ไ ด้ ร ว ด เ ร็ ว 17. ใ ช้ ภ า ษ า ที่ สู ง เ ดิ น วั ย
  • 4. 18. เ ข้ า ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ใ ด แ ล้ ว มี แ น ว โ น้ ม ว่ า จ ะ ทำา ไ ด้ ดี 19. ช อ บ ตั้ ง คำา ถ า ม 20. ส น ใ จ เ ป็ น พิ เ ศ ษ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ช้ ค ว า ม คิ ด 21. ส อ บ จั ด ร ะ เ บี ย บ ห รื อ โ ค ร ง ส ร้ า ง ใ ห้ กั บ สิ่ ง ต่ า ง ๆ 22. สามารถคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เป็นนามธรรมได้อย่างลึกซึ้งมากกว่าเด็ก ใ นวั ยเ ดี ย ว ดั บ เช่ น คำา ว่า ปร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ค วา มซื่ อ สั ต ย์ 23. อ ย า ก รู้ อ ย า ก เ ห็ น เ ป็ น พิ เ ศ ษ 24. ช อ บ ก า ร ค า ด ค ะ แ น 25. มี เ ห ตุ ผ ล 26. บ อ ก ถึ ง ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง แ ล ะ ค ว า ม ค ล้ า ย ค ลึ ง ไ ด้ ดี 27. จั บ ป ร ะ เ ด็ น สำา คั ญ เ ก่ ง 28. แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความคิดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกันได้ 29. ส รุ ป ภ า พ เ รื่ อ ง ร า ว ไ ด้ ดี 30. ไ ม่ ด้ ว น ส รุ ป โ ด ย ไ ม่ วิ เ ค ร า ะ ห์ ต ร ว จ ส อ บ ก่ อ น 31. ว า ง แ ผ น ไ ด้ อ ย่ า ง ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น 32. มี ส า มั ญ สำา นึ ก ใ น ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า 33. สามารถผสมผสานความรู้ ความคิดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ได้ดี ดังนั้น เมื่อรู้หลักการอย่างนี้แล้ว คิดว่าน่าที่จะเป็นประโยชน์ที่เราควร จะนำามาใช้กับตัวเอง และนักเรียนของเรา เพื่อเป็นนักคิดที่เยี่ยมที่สุด