SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
บทที่ 3
คาสั่งควบคุมโปรแกรม
3.1 ตัวดาเนินการทางตรรกะ
ตัวดาเนินการประเภทนี้จะให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นค่าทางลอจิก คือเป็นจริง
(true) หรือเป็นเท็จ (false) อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น ตัวดาเนินการ
ประเภทนี้ยังแบ่งออกเป็นตัวดาเนินการแบบสัมพันธ์ ตัวดาเนินการทาง
ตรรกศาสตร์ และตัวดาเนินการระดับบิต
- ตัวดาเนินการแบบสัมพันธ์ (Relational Operators)
ตัวดาเนินการประเภทนีจะนาตัวถูกดาเนินการสองค่ามาเปรียบเทียบกัน
้
ผลลัทธ์ที่ได้จะเป็นจริงหรือเท็จ ในภาษาจาวามีตัวดาเนินการประเภทนี้ 6 ตัว
ดังตารางที่ 3.1
การนาตัวดาเนินการแบบสัมพันธ์มาเปรียบเทียบข้อมูลนีสามารถใช้ได้ทั้ง
้
กับตัวแปร ค่าคงทีหรือนิพจน์กได้ แต่ขอมูลที่นามาเปรียบเทียบกันจะต้องเป็น
่
็
้
ข้อมูลทีสอดคล้องกัน และผลลัทธ์จากการเปรียบเทียบนีสามารถนาไปเก็บในตัว
่
้
แปรแบบบูลนได้ ตัวอย่างเช่น
ี
-ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์(Logical Operators)
ตัวดาเนินการประเภทนี้จะใช้กระทากับตัวถูกดาเนินการที่เป็นนิพจน์ทางตรรกศาสตร์ หรือ
ข้อมูลที่เป็นบูลน ตัวดาเนินการประเภทนี้ ได้แก่ AND , OR , Exclusive-OR และ
ี
NOT โดยตัวดาเนินการแบบ NOT จะกระทากับตัวถูกตัวดาเนินการตัวเดียว ส่วนตัว
ดาเนินการตัวอืนๆ จะกระทากับตัวถูกดาเนินการสองตัว
่
ตารางที3.2 ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์
่
ตัวดาเนินการ

ชื่อ

ตัวอย่าง

ผลลัทธ์

&&

AND

(8>3)&&(6<9)

true

||

OR

(5<6) | | (7>6) true

!

NOT

!(3>2)

^

Exclusive-OR

(8>3) ^ (4<2) true

false
-ตัวดาเนินการระดับบิต(Operators)
ตัวดาเนินการประเภทนีจะกระทากับข้อมูลแบบบิตต่อบิต เช่น การกระทา
้
ลอจิก AND, OR, NOT หรือเลื่อนบิตแบบบิตต่อบิต เป็นต้น ตัวดาเนินการ
ประเภทนีแสดงได้ดงตารางที่3.3
้
ั
ตัวดาเนินการ
&
|
~
^
>>
>>>

ชื่อ
AND
OR
NOT
Exclusive-OR
เลือนบิตไปทางขวา
่
เลือนบิตแบบไม่คด
่
ิ
เครืองหมาย
่

ตัวอย่าง
4&7
4|7
~4
4^7
7 >> 1
-3 >>> 1

ผลลัพธ์
4
7
-5
3
3
-2

<<

เลือนบิตไปทางซ้าย
่

7 << 1

14
-ลาดับการทางานของตัวดาเนินการ
ในนิพจน์ต่างๆ อาจมีตัวดาเนินการประกอบอยูมากว่าหนึงตัว การหา
่
่
ผลลัพธ์ของนิพจน์คอมไพเลอร์จะต้องพิจารณาว่าจะทาตัวดาเนินการใดก่อนหลัง
ในภาษาวาจามีการจัดลาดับความสาคัญของตัวดาเนินการดังตัวอย่างที่3.4 โดย
เรียงลาดับความสาคัญจากบนลงล่าง
ลาดับ
1
2

ตัวดาเนินการ
( ) , ( data type )
! , ~ , - , + , - - , ++

เรียงจาก
ซ้ายไปขวา
ซ้ายไปขวา

3

*, / , % , + , - , << , >> , >>>

ซ้ายไปขวา

4

< , > , <= , >= , == , !=

ซ้ายไปขวา

5
6

& , ^ , | , && , | |
!= , ^= , &= , >>>= , >>= , <<=
,%= , /= , *= , -= , += , =

ซ้ายไปขวา
ซ้ายไปขวา

จากตารางจะเห็นว่า ลงเล็บจะมีลาดับความสาคัญสูงสุด ส่วนตัวดาเนินการที่ใช้
สาหรับกาหนดค่าจะมีลาดับความสาคัญต่าสุด ถ้าหากมีตัวดาเนินการที่มีลาดับความสาคัญ
เท่ากันอยู่ในนิพจน์เดียวกัน ลาดับความสาคัญจะเรียงจากซ้ายไปขวา ในการเขียนโปรแกรม
ถ้าหากมีการประมวลผลซับซ้อนผูเ้ ขียนโปรแกรมควรใส่วงเล็บให้ประมวลผลก่อน เพื่อ
ป้องกันการสับสน
3.2 การเลือกทาแบบทางเดียว(if-statement)
ในภาษาจาวาจะใช้คาสั่ง if เลือก ทาแบบทางเดียวเพื่อจะตรวจสอบว่าชุดคาสั่งที่
ตามมาจะทาหรือไม่ ในการทางานของคาสั่งคอมพิวเตอร์จะตรวจสอบเงือนไขก่อน ถ้า
่
เงื่อนไขเป็นจริงจะทาคาสั่งหรือสเตตเมนต์ที่ตามหลังหรือเป็นสเตตเมนต์รวม ที่อยูใน
่
เครืองหมาย { } แต่ถาเงื่อนไขเป็นเท็จคอมพิวเตอร์จะกระโดดข้ามคาสั่งหรือสเตตเมนต์
่
้
ตามมาและไปทาคาสั่งหรือสเตตเมนต์ต่อไป รูปแบบคาสั่งเป็นดังต่อไปนี้
รูปแบบ If(condition) {action statement}
โดย การตรวจสอบเงื่อนไขจะเป็นการกระทาแบบบูลน ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็นจริง
ี
หรือเท็จเท่านันถ้าหากมีการใช้ตวดาเนินการจะใช้ ตัวดาเนินการที่ให้ผลลัพธ์เป็นแบบ
้
ั
บูลน สาหรับการทางานของคาสั่ง if สารถเขียนเป็นผังงานได้ดงนี้
ี
ั
3.3 คาสังเลือกทาอย่างใดอย่างหนึง(if-else)
่
่
จากคาสัง if ที่ผานมาจะใช้ในการเขียนโปรแกรมที่ใช้ทดสอบว่าจะเลือกทาหรือไม่ ถ้า
่
่
เงื่อนไขเป็นจริงจะทาคาสังหรือสเตตเมนต์หลัง if ในกรณีทคอมพิวเตอร์ตองเลือกทาอย่างใด
่
ี่
้
อย่างหนึ่ง โดยตรวจสอบเงือนไขทีกาหนดจะใช้คาสัง if-else ถ้าเงือนไขเป็นจริงจะทาคาสัง
่
่
่
่
่
หลัง if แต่ถาเงือนไขเป็นเท็จจะทาคาสังหลัง else โดยนิพจน์การตรวจสอบเงื่อนไขที่
้ ่
่
ตามหลัง if จะเป็นข้อมูลทางตรรกะ รูปแบบคาสังเป็นดังนี้
่
การทางานของคาสังนีสามารถเขียนผังงานได้ดงนี้
่ ้
ั
3.4 การใช้คาสัง if-else-if
่
การเขียนคาสั่งแบบเลือกทาสองทางทีใช้ if-else นันจะพบว่าชุดคาสั่งที่อยูหลัง
่
้
่
else จะถูกทางาน
ถ้าหากประโยคเงื่อนไขของ if เป็นเท็จ แต่ถาต้องการให้ตรวจสอบเงือนไขอืนๆ
้
่
่
ก่อนที่จะทาชุดคาสั่งหลัง if-else-if แทน ตัวอย่างเช่น ถ้าหากต้องการเขียนโปรแกรมใน
การคิดผลสอบของนักเรียน โดยมีเงือนไขเป็นถ้าคะแนนมากกว่า 50 ให้ผ่าน แต่ถา
่
้
คะแนนไม่มากกว่า 50 ให้ตก สามารถนาคาสัง if-else มาใช้ได้ โดยเขียนดังนี้
่
สาหรับงานบางประเภทถ้าหากตรวจสอบเงื่อนไขแล้วได้ผลเป็นเท็จ จากนัน
้
ต้องการให้ตรวจสอบเงื่อนไขอีกก็ทาได้เช่นกัน เช่น ถ้าหากในการคิดผลสอบแล้ว
ต้องการให้ผลลัพธ์ออกมาเป็นเกรดโดยมีเงื่อนไขดังนี้
3.5 การเลือกทาแบบ switch
การเขียนโปรแกรมทีต้องมีการเลือกทาหลายทางเลือก เราสามารถนา
่
ประโยคคาสั่ง if-else มาซ้อนกันได้ แต่ถาเงือนไขทีต้องตัดสินใจขึนกับตัวแปร
้ ่
่
้
เดียว เราสามารถใช้คาสั่ง switch..case แทนได้ คาสัง switch นีมความ
่
้ี
ซับซ้อนน้อยกว่าการนา if-else มาเขียนซ้อนกัน และสามารถเปลียนเงื่อนไขได้
่
ง่ายอีกด้วย ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนโปรแกรมเป็นลักษณะเมนูดงต่อไปนี้
ั
และให้ผู้ใช้โปรแกรมเลือกวิธการคานวณเข้าไปโดยป้อนค่าอินพุตเข้าไป เรา
ี
สามารถเขียนโปรแกรมโดยนาค่าอินพุตที่ได้รับเข้าไปเก็บไว้ในตัวแปรตัวหนึง และใช้
่
คาสัง switch เลือกว่ามีค่าเท่ากับค่าใด (1,2,3,4) จากนันให้ไปทางานตามที่เลือก
่
้
ประโยคคาสั่ง switch..case มีรูปแบบดังนี้
คาสัง switch นีจะนาค่าใน variable มาตรวจสอบว่าเท่ากับค่าคงที่คาใด
่
้
่
หลัง case จากนัน โปรแกรมจะไปทา statement หลังค่าคงทีตัวนัน และออก
้
่ ้
จาก switch เมือถึงคาสั่ง break แต่ถาไม่เท่าค่าคงที่คาใดเลย โปรแกรมจะไปทา
่
้
่
statement หลัง default แต่ถาหากไม่มคาสั่ง break โปรแกรมจะทางานตาม
้
ี
คาสังทุกๆ case แม้วาตัวแปรใน switch จะไม่ตรงกับ case สาหรับค่าที่ใช้
่
่
ตรวจสอบจะเป็นตัวแปรนิพจน์ หรือฟังก์ชันก็ได้ สาหรับในแต่ละ case สามารถมี
คาสังได้มากกว่าหนึงคาสังหรืออาจไม่มกได้ โดยถ้าไม่มีคาสั่งโปรแกรมจะไปทางานใน
่
่ ่
ี็
case ถัดไป ค่าคงที่หลัง case จะต้องเป็นแบบ char, byte, short หรือ int
แล้วตามด้วยเครื่องหมายโคลอน (:)
3.6 การควบคุมคาสังซ้าด้วย for
่
การซ้าแบบ for หรือ loop for จะเป็นการให้โปรแกรมทาซ้าจนกว่าค่าตัวแปร
จะครบตามที่ตงไว้หรือทาตามเงื่อนไขที่กาหนด เริ่มแรกโปรแกรมจะกาหนดค่าเริมต้น
ั้
่
ให้กับตัวแปรเริมต้น (initialization) จากนันจะตรวจสอบเงื่อนไข ถ้าหากเงื่อนไขเป็น
่
้
จริงจะทาสเตตเมนต์ที่ตามมา และปรับค่าตัวแปรควบคุม โดยรูปแบบของคาสั่งเป็นดังนี้
รูปแบบ
ในส่วนของ condition บางครังจะเรียกตัวแปรควบคุมลูป ( loop control
้
variable ) เริ่มต้นคาสั่งจะทาส่วนกาหนดค่าเริมต้น (initial value) จากนันจะ
่
้
ตรวจสอบว่าเงื่อนไขเป็นจริงหรือไม่ ถ้าเงือนไขเป็นจริงจะทาตามสเตตเมนต์ที่จะทาซ้า
่
แล้วกลับมาทาส่วน update ซึงส่วนมากแล้วจะเป็นการเพิ่มค่าหรือลดค่าตัวแปร
่
จากนันจะตรวจสอบเงือนไขใหม่โดยทาแบบนี้ไปจนกว่าเงื่อนไขจะเป็นเท็จ สเตตเมนต์ที่
้
่
ทาซ้าอาจเป็นสเตตเมนต์รวม (Compound Statement) ก็ได้ แต่ต้องอยูภายใน
่
เครืองหมาย { กับ }
่
สาหรับในส่วนของการกาหนดค่าเริมต้น และ update มักจะเขียนเป็น
่
คาสังเดียว แต่ถ้าหากต้องการใช้หลายคาสั่งจะใช้เครืองหมาย comma คั่นระหว่าง
่
่
คาสัง ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนคาสั่งดังต่อไปนี้
่

เริ่มโปรแกรมจะใส่ค่าเริมต้น 1 ลงในตัวแปร number จากนันจะทดสอบ
่
้
เงื่อนไขว่าเงื่อนไขเป็นจริงหรือไม่ ถ้าเป็นจริงจะทาสเตตเมนต์และเพิ่มค่า number
ขึนหนึงค่า
้ ่
ในการเพิมค่าให้กับตัวแปรควบคุมจะเพิ่มขึนเป็นลาดับ โดยอาจเป็นตัวเลข
่
้
1,2,3,… หรืออักษร ‘A’,’B’,’C’, ก็ได้ดงนัน การประกาศประเภทของตัวแปรควบคุม
ั ้
จะต้องให้สอดคล้องกับค่าของข้อมูลด้วย
ถ้าหากเขียนคาสั่ง for ดังต่อไปนี้
โปรแกรมจะพิมพ์คา counter ตั้งแต่ 1 ถึง 10 โดยเริ่มแรกใส่คาให้กับตัวแปร
่
่
counter ซึงเป็นตัวแปรเริมต้นก่อน จากนั้นจะตรวจสอบเงื่อนไขว่า counter น้อยกว่า
่
่
หรือเท่ากับ 10 จริงหรือไม่ ถ้าจริงจะพิมพ์คาใน counter และเพิ่มค่า counter ขึนอีก
่
้
หนึงค่า จากนันจะตรวจสอบเงื่อนไขใหม่ โดยการทางานสามารถเขียนผังงานได้ดงนี้
่
้
ั
3.9 ลูปซ้อนลูป(Nested Loops)
ในการเขียนโปรแกรมสามารถนาคาสั่งลูปแบบต่างๆ ให้มาทางานซ้อนกันได้เรียกว่า
ลูปแบบซ้อนลูป ดังตัวอย่างต่อไปนี้

จากตัวอย่างโปรแกรมลูปแรกจะเป็นลูปของตัวแปร I โดยภายในลูปจะทาลูปของตัวแปร j
จานวน 3ครั้ง ทาให้การทางานSystem.out.print (j+‚ ‚) มีการทางานทั้งหมด 9 ครั้ง
3.10 คาสัง break หรือ continue
่
บ่อยครั้งที่ทางานกับกลุมคาสั่ง Selection (if, switch..case) และ
่
Repetition (for, do..while, while) ที่ต้องมี 2 คาสั่งนีใช้งานร่วมด้วย
้
ระหว่าง Code ของโปรแกรม ซึง 2 คาสังดังกล่าวมีความหมายและการใช้งาน
่
่
ดังนี้
break : ใช้เพือหยุดการทางานและออกจากโปรแกรมย่อย เช่น ใช้จบการ
่
ทางานของ case แต่ละ case หรือใช้จบการทางานของ loop
continue : ใช้เพื่อสังให้เครื่องทาต่องานต่อ หรือให้ขนไปวนรอบของ loop
่
ึ้
3.11 ข้อควรระวังในการใช้คาสังทาซ้า
่
ในการเขียนโปรแกรมทาลูปมักจะมีข้อผิดพลาดเกิดขึนเสมอ โดยโปรแกรมที่เขียน
้
ขึนจะคอมไพล์ผาน แต่จะทางานไม่ถูกต้องตามทีต้องการ ข้อผิดพลาดนีเ้ รียกว่า logic
้
่
่
error ซึงโดยทัวไปในการทาลูปแล้วจะมีขอผิดพลาดอยู่ 4 ประการคือ
่
่
้
1. การกาหนดค่าเริมต้นในการทาลูป
่
2. การทดสอบเงือนไขก่อนการทาลูป
่
3. ข้อผิดพลาดภายในโครงสร้างของลูป
4. การเขียนสเตตเมนต์ปรับค่าตัวควบคุมลูป
-แนะนา system.in.read()
การเรียกใช้ System.in.read นันจะรับตัวอักขระได้ตัวเดียว ถ้าหากต้องการรับ
้
หลายตัวสามารถนาคาสั่งการทาซ้ามาใช้ได้ และในการใช้เมธอดนี้ ถ้าหากไม่เรียก
java.io.* ด้วยคาว่า import ในส่วนหัวของโปรแกรมแล้วก็สามารถเรียกใช้ตอจาก
่
throws ได้ ดังตัวอย่างโปรแกรมที่ 3.26

ผลลัพธ์จากการทาโปรแกรมโดยกดตัวอักขระไปทีละตัว
สมาชิก
1.นางสาวสุวภัทร ร่มสายหยุด เลขที่ 28
2.นางสาวเมทินี เผ่ากาญจนา เลขที่ 33
3.นางสาวช่อผกา อ่อนเบา เลขที่ 34
4.นางสาวผาณิตรี ถาวรพานิช เลขที่ 35
5.นางสาวพิมพ์ฤดี เพิมทอง เลขที่ 36
่
6.นางสาวอัญชลี จาเริญรักษา เลขที่ 37
ชันมัธยมศึกษาปีที่ 6/1
้

More Related Content

Similar to javabasic

คำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรมคำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรมJK133
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์korn27122540
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1Thinnakrit Knoo-Aksorn
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3Supicha Ploy
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1Little Tukta Lita
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลInam Chatsanova
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกSupicha Ploy
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 

Similar to javabasic (20)

งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรมคำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
 
11
1111
11
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
อยากเขียนโปรแกรมสักตัว เล่ม 1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Know009
Know009Know009
Know009
 
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
ฟังก์ชั่นย่อยและโปรแกรมมาตรฐาน ม.6.1
 
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูลตัวแปรและชนิดข้อมูล
ตัวแปรและชนิดข้อมูล
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
Lesson 19
Lesson 19Lesson 19
Lesson 19
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
C lab5 2
C lab5 2C lab5 2
C lab5 2
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 

More from Lacus Methini

ประกวดภาพถ่าย
ประกวดภาพถ่ายประกวดภาพถ่าย
ประกวดภาพถ่ายLacus Methini
 
สร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมสร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมLacus Methini
 
สร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมสร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมLacus Methini
 
คำชมเชย
คำชมเชยคำชมเชย
คำชมเชยLacus Methini
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระLacus Methini
 
IS-อัตราการนอนหลับ
IS-อัตราการนอนหลับIS-อัตราการนอนหลับ
IS-อัตราการนอนหลับLacus Methini
 
รายงาน เรื่อง
รายงาน เรื่องรายงาน เรื่อง
รายงาน เรื่องLacus Methini
 

More from Lacus Methini (13)

ประกวดภาพถ่าย
ประกวดภาพถ่ายประกวดภาพถ่าย
ประกวดภาพถ่าย
 
It news
It newsIt news
It news
 
Brand
BrandBrand
Brand
 
สร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมสร ปคำต ชม
สร ปคำต ชม
 
สร ปคำต ชม
สร ปคำต ชมสร ปคำต ชม
สร ปคำต ชม
 
คำชมเชย
คำชมเชยคำชมเชย
คำชมเชย
 
Mind map2
Mind map2Mind map2
Mind map2
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
ข่าวIt
ข่าวItข่าวIt
ข่าวIt
 
IS-อัตราการนอนหลับ
IS-อัตราการนอนหลับIS-อัตราการนอนหลับ
IS-อัตราการนอนหลับ
 
รายงาน เรื่อง
รายงาน เรื่องรายงาน เรื่อง
รายงาน เรื่อง
 
ข่าวIt
ข่าวItข่าวIt
ข่าวIt
 

javabasic