SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
Home Page


       เปนหนาแรกของเว็บไซต ซึ่งเปรียบไดกับเปนเอกสารหนาแรกของเว็บไซต
โดยเมื่อผูใชอินเทอรเน็ตเขามาใชเว็บไซตใดก็ตามจะเห็นหนานี้เปนหนาแรก โดย
Home Page จะทําหนาที่แสดงขอมูลขาวสาร การโฆษนา และ
ประชาสัมพันธตางๆ ซึ่งเปนขอมูลเบื้องตนที่แสดงใหทราบวาในเว็บไซตมี
อะไรบาง รวมถึงแสดงเมนูตางๆ โดยเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆ ภายใน
เว็บไซต ในหนานี้จะมีการออกแบบใหมีความสวยงามและนาสนใจ เพื่อดึงดูด
ใหผูใชอินเทอรเน็ตเกิดความสนใจที่จะเขามาชมในเว็บไซต
Web Page

              เปนเอกสารตางๆ ที่อยูในเว็บไซต เรียกวา เว็บเพจ เปนหนาเอกสาร
     ตางๆ ทั้งหมดภายในเว็บไซต ซึ่งเว็บเพจจะแสดงขอมูลตางๆ ภายในเว็บไซต
     สามารถเขาไปดูขอมูลแตละหนาไดโดยการเชื่อมโยงจากหนาโฮมเพจ หรือจาก
     การเชื่อมโยงจากเว็บเพจหนาอื่นๆ ในเว็บไซตเดียวกัน


                                  Web Sites

    เว็บไซต คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่เปนแหลงเก็บเว็บเพจตางๆ ที่ใชเผยแพรขอมูลใน
อินเทอรเน็ตโดยเมื่อผูใชตองการเปดดูขอมูลในเว็บไซต บราวเซอรจะทําการเชื่อมโยง
ขอมูลมายังเครื่องที่เว็บไซตเพื่อดึงขอมูลไปแสดงใหกับผูใช
HTML

    HTML ยอมาจาก Hyper Text Markup Language เปน
เอกสารแบบไฮเปอรเท็กซซึ่งมีความสามารถในการเชื่อมโยงขอมูลไปยังเอกสารอื่นได
เปนเอกสารที่มีความสามารถสูงเหนือกวาเอกสารทั่วไปเนื่องจากสามารถเปดดูขอมูล
ภายในได สวนความสามารถในการเชื่อมโยงขอมูลไปยังเอกสารอื่นๆ ทําไดโดยการ
ใสสัญลักษณพิเศษเขาไปในเอกสาร หรือที่เรียกวา คําสั่ง (Tag) คําสั่งเหลานี้
จะถูกกระทําตามคําสั่งโดยโปรแกรมบราวเซอรตางๆ
    เนื่องจากไดรับการพัฒนามาจากภาษา SGML ( Standard General
Markup Language ) ซึ่งเปนภาษาที่สามารถทํางานและเรียกใชไดจาก
โปรแกรมหลายประเภท HTML จึงถือไดวาเปนภาษาคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับสราง
หนาเอกสาร เพื่อแสดงทางจอภาพในระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งมีขอดี คือ เมื่อสราง
เอกสารแลว สามารถเรียกดูผลการทํางานดวยโปรแกรมบราวเซอรไดเลยโดยไมตองทํา
การ Compile กอน
    สําหรับการสรางเอกสาร HTML นั้นจะตองใช Text Editor ในการ
สรางเอกสาร ซึ่งมีใหเลือกใชไดหลายตัว แตในที่นี้จะใช NotePad
NotePad

      เปนโปรแกรมที่ทําในระบบปฏิบัติการ Windows ซึ่งเปนสวนประกอบหนึ่ง
ของ Windows โดยโปรแกรม NotePad จัดเปนโปรแกรมประเภท
Text Editor ซึ่งสามารถใชในการสรางไฟลหรือเขียนภาษา HTML ซึ่ง
NotePadไดรับการนิยมอยางมากในการนํามาใชเขียนภาษา HTML เพราะเปน
โปรแกรมที่สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีการทํางานที่ไมซบซอน
                                                                ั
  ขั้นตอนในการเรียกใชงานโปรแกรม Notepad มีดังนี้
1.เริ่มตนดวยการคลิกปุมเมนู Start
2.คลิกเลือก Program
3.คลิกเลือก Accessories
4.คลิกเลือก Notepad
5.สามารถพิมพคําสั่งลงไดเลย
การบันทึกไฟล HTML
สามารถบันทึกไฟลขอมูล Notepad ซึ่งเปนไฟล HTML สามารถทําไดดังนี้
1.คลิกที่เมนู File
2.เลือก Save
3.กําหนดชื่อไฟลที่ตองการบันทึก โดยมีนามสกุลเปน “.html”
4.กําหนดสถานที่ที่ตองการเก็บไฟล
                                  การเปดไฟล HTML
  เมื่อสรางไฟล HTML และทําการบันทึกแลวเมื่อตองการจะเปดไฟลที่สรางขึ้นมาใชงาน
โดยการเปดจากโปรแกรม Internet Explorer สามารถทําไดดังนี้
1.เปดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา โดยการดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนบน
Desktop
2.เมื่อเปดโปรแกรมแลวจะปรากฏหนาตางโปรแกรมขึ้นมา ใหคลิกเลือก File
3.ลือก Open
4.คลิกเลือก Browse เพื่อคนหาสถานที่ที่เก็บไฟลที่ตองการเปด
โครงสรางของเอกสาร HTML


1. สวนประกาศ Version ของ HTML ในสวนนี้จะเปนสวนที่กําหนด
วิธีการแปลขอมูลภายใน HTML ทั้งหมดโดยที่ </HTML> เปนคําสั่งปด
การใชคําสั่ง <HTML> ซึ่งหมายถึง จุดสิ้นสุดของเอกสาร
2. สวนหัวของเอกสาร (heading) เปนสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม อธิบาย
ความหมายและกําหนด Definition ตางๆ
3. สวนเนื้อหาของเอกสาร (Body) เปนสวนที่แสดงผลในพื้นที่ทั้งหมดของ
เว็บเพจเมื่อสั่งให Web Browser ประมวลผล
การกําหนดรูปแบบตัวอักษร
สามารกําหนดได 2 รูปแบบดังนี้
          1. แบบ Logical Styles เปนรูปแบบการใชคําสั่งตามลักษณะของงาน
คําสั่ง <EM>           คําสั่งนี้จะทําใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งเปนตังเอียง (Emphasis)
คําสั่ง <STRONG> คําสั่งนี้จะทําใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวหนา
คําสั่ง <BIG> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งมีขนาดใหญ
คําสั่ง <SMALL> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งมีขนาดเล็ก
คําสั่ง       <CODE> หรือ Computer Code เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหตัวอักษรที่อยูระหวาง
คําสั่งใหมีตัวอักษรแบบคอมพิวเตอร
คําสั่ง       <VAR> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดตัวอักษรที่เนนรูปแบบขอความ คาตัวเลข
คําสั่ง       <CITE> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดตัวอักษรเอียง สําหรับเนนขอความที่เกี่ยวกับคําพูด คําสนทนา
          2. แบบ Physical Styles เปนรูปแบบการใชคําสั่งเพื่อเนนตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่ง
HTML
คําสั่ง <B> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวหนา (Bold)
คําสั่ง <I> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวเอียง (Italic)
คําสั่ง <U> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวขีดเสนใต (Underline)
การกําหนดแบบตัวอักษร
คําสั่ง <FONT FACE>                       คําสั่งนี้เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดรูปแบบตัวอักษร
   รูปแบบคําสั่ง <FONT FACE =”Font1,Font2”>…ขอความ...</FONT>
                                   การกําหนดสีของตัวอักษร
    คําสั่ง <FONT COLOR> ใชกําหนดสีตัวอักษรเฉพาะตัวอักษรที่ตองการ
 รูปแบบคําสั่ง <FONT COLOR= #Code>…ขอความ...</FONT>หรือ
                          <FONT COLOR=ColorName>…ขอความ...</FONT>
            คําสั่ง <BODY TEXT> ใชกําหนดสีตัวอักษรทั้งเอกสาร
                รูปแบบคําสั่ง       <BODY TEXT= #Code>หรือ
                                       <BODY TEXT=ColorName>
                                 การกําหนดขนาดของตัวอักษร
                   คําสั่ง <FONT SIZE> กําหนดอักษรแบบสมบรูณ
รูปแบบคําสั่ง              <FONT SIZE=ValueSize>…ขอความ...</FONT>
                       คําสั่ง <BASEFONT> กําหนดแบบสัมพันธ
             รูปแบบคําสั่ง           <BASEFONT SIZE=Value>
การใชตัวอักษรพิเศษ
                          ตัวอักษรพิเศษ คือ ตัวอักษรที่ไมมีบนแปนพิมพ
   เครื่องหมายลิขสิทธิ์                                                   &copy;
      เครื่องหมายทะเบียนการคา                                            &reg;
       เครื่องหมายมากกวา                                                  &gt;
        เครื่องหมายนอยกวา                                                 &It;
    เครื่องหมายการคา                                                     &#153;
   เครื่องหมาย YEN                                                         &yen;
 เครื่องหมาย Euro                                                          &euro;
 เครื่องหมาย Cent                                                          &cent;
 เครื่องหมาย Degrees                                                        &deg;
  เครื่องหมายเวนวรรค                                                     &nbsp;
เครื่องหมายหาร                                                            &divide;
การสรางตัวอักษรวิ่ง
รูปแบบคําสั่ง <MARQUEE Attribute=Position>…ขอความ...</MARQUEE>
การกําหนดหัวขอ
รูปแบบคําสั่ง <Hx>…ขอความ...</Hx>
การขึ้นยอหนาใหม
คําสั่ง <P> คําสั่งสําหรับจัดขอความหรือรูปภาพในลักษณะตางๆ
รูปแบบคําสั่ง <P ALIGN=Position>…ขอความ...</P>
การขึ้นบรรทัดใหม
คําสั่ง    <BR> คําสั่งนี้จะขึ้นบรรทัดใหมนอยกวาคําสั่ง <P>
รูปแบบคําสั่ง ...ขอความ...<BR>
การแสดงขอความในรูปแบบเดิม
คําสั่ง <PRE> คําสั่งนี้จะอยูระหวางคําสั่งถูกวางไวรูปแบบเดิม
รูปแบบคําสั่ง <PRE>…ขอความ...</PRE>
การจัดขอความใหอยูกึ่งกลาง
รูปแบบคําสั่ง <CENTER>…ขอความ...</CENTER>
การสรางเสนตรงแนวนอน
คําสั่ง <HR> คําสั่งนี้ใชสําหรับการสรางเสนลงในเว็บเพจ เพื่อแบงเนื้อหาใหเปนสัดสวน
รูปแบบคําสั่ง <HR Attribute=Value>
ประเภทของไฟลรูปภาพ
1. ไฟลรูปภาพประเภท Graphic Interchange Format หรือ GIF เปนไฟล
รูปภาพที่มีความระเอียดของภาพต่ํา เก็บรายละเอียดของภาพไมเกน 8 บิต สามารถใชสีไดสูงสุดเพียง
256 สี
2. ไฟลรูปภาพประเภท Joint Photographic Experts Group หรือ JPEG
เปนภาพที่มีความละเอียดสูงมาก สามารถแสดงสีสูงสุดถึง 16.7 ลานสี
การแทรกรูปภาพ
คําสั่ง <IMG          SRC> ใชสําหรับระบุไฟลรูปภาพที่จะนํามาแสดง โดยรูปภาพจะตองมี
นามสกุล .gif .jpg
รูปแบบคําสั่ง     <IMG         SRC=filename>
การใชขอความแทนรูปภาพ
คําสั่ง <IMG ALT> ใชสําหรับแสดงวารูปนี้บงบอกวารูปนี้เกี่ยวกับอะไร
รูปแบบคําสั่ง         <IMG ALT=”Message”>
การจัดตําแหนงของขอความรูปภาพ
คําสั่ง <IMG ALIGN> ใชสําหรับจัดวางรูปภาพหรือขอความที่อยูลอมรอบรูปภาพวาจะใหอยู
ตําแหนงใด
รูปแบบคําสั่ง <IMG ALIGN=Position>
การจัดระยะหางของขอความกับรูปภาพ
คําสั่ง <IMG HSPACE> ใชสําหรับระบุชองวางระหวางรูปภาพกับขอความหรือวัตถุที่วาง
อยูรอบรูปภาพ ทางดาน ซาย – ขวา
รูปแบบคําสั่ง     <IMG HSPACE=Pixels>
คําสั่ง <IMG VSPACE> ใชสําหรับระบุชองวางระหวางรูปภาพกับขอความหรือวัตถุที่วาง
อยูรอบรูปภาพ ทางดาน บน - ลาง
รูปแบบคําสั่ง     <IMG VSPACE=Pixels>
การปรับแตงขนาดรูปภาพ
คําสั่ง <IMG         WIDTH>       ใชสําหรับระบุความกวางของรูปภาพที่ตองการจะแทรก
รูปแบบคําสั่ง     <IMG WIDTH=Pixels>
คําสั่ง <IMG HEIGHT> ใชสําหรับระบุความสูงของรูปภาพที่ตองการจะแทรก
รูปแบบคําสั่ง       <IMG HEIGHT=Pixels>
การควบคุมขอความรอบรูปภาพ
คําสั่ง     <BR Clear> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดขอความที่อยูรอบๆ รูปภาพวาตองการ
ใหอยูดานใดของรูปภาพ
รูปแบบคําสั่ง        <BR Clear=Position>
การกําหนดพื้นหลังโดยใชรูปภาพ
คําสั่ง <Body Background>เปนคําสั่งที่ใชกําหนดพื้นหลังของ Web Page โดย
ใชรูปภาพ
รูปแบบคําสั่ง       <Body Background=Filename>
การเชื่อมโยงขอมูลภายในเอกสารเดียวกัน
คําสั่ง <A NAME> เปนคําสั่งที่ใชในการกําหนดชื่อสวนตางๆ ที่อยูในหนาเอกสารที่ตองการทํา
การเชื่อมโยง เพื่อความสะดวกในการใชคําสั่งเชื่อมโยงขอมูลภายในเอกสาร
รูปแบบคําสั่ง           <A NAME=Label…ขอความ...</A>
คําสั่ง <A HREF> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดเปาหมายที่ตองการเชื่อมโยงไปหา โดยการใส Label
ของขอมูลที่ตองการเชื่อมโยง
รูปแบบคําสั่ง          <A HREF= #Label>…ขอความ...</A>
การเชื่อมโยงไปยังไฟลอื่นหรือ Web Page อื่น
คําสั่ง <A HREF> เปนคําสั่งเดียวกับเชื่อมโยงภายในแตเรียกใชคําสั่งตางกัน โดยตองระบุหนาเว็บที่
ตองการเชื่อมโดยงไปดวย
รูปแบบคําสั่ง     <A HREF=/Path/Filename.html>…ขอความ...</A>
การเชื่อมโยงไปยังไฟลอื่นโดยการกําหนดตําแหนง
คําสั่ง <A HREF> จะเพิ่มชื่อของสวนที่ตองการลงไปดวย
รูปแบบคําสั่ง     <A HREF=/Path/Filename.html#Label>…ขอความ...</A>
การเชื่อมโยงไปยัง Web Page อื่น
คําสั่ง <A HREF> เชื่อมจากเว็บหนึ่งไปหาอีกเว็บหนึ่ง ตองระบุชื่อเว็บใหถูกตอง
รูปแบบคําสั่ง <A HREF=URL>…ขอความ...</A> หรือ
                          <A HREF=FTP://FtpServer”>
การเชื่อมโยงโดยใชรูปภาพ
คําสั่ง     <A HREF> คือคลิกที่รูปภาพแลวสามารถเชื่อมโยงไปที่รูปภาพได
รูปแบบคําสั่ง <A HREF=URL><IMG SCR=Filename></A>
การกําหนดสีตัวอักษรที่ใชเชื่อมโยงขอมูล
คําสั่ง <Body Link> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของตัวอักษรกอนที่จะมีการคลิกเพื่อ
เชื่อมโยงไปยังขอมูลที่ตองการ ขอความที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูลจะมีสีตามที่กําหนดและจะมีการขีดเสนใต
ใตตัวอักษร
รูปแบบคําสั่ง <Body Link= #Color>
คําสั่ง <Body Alink> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของตัวอักษรในขณะที่มีการคลิกเลือก
ขอความเพื่อเชื่อมโยงขอมูล โดยขณะที่มีการเลือกคลิกสีของขอมูลที่ใชเชื่อมโยงขอความจะเปลี่ยนสีเปนสีที่
ตองการ
รูปแบบคําสั่ง <Body Alink=”#Color”>
คําสั่ง <Body Vlink> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของขอความที่ใชเชื่อมโยงขอมูล
หลังจากที่ไดคลิกเพื่อเลือกการเชื่อมโยงขอมูลแลว สีของขอความจะเปลี่ยนเปนสีที่ตองการ
รูปแบบคําสั่ง         <Body Vlink=”#Color”>
การสรางลําดับรายการแบบเรียงลําดับขอมูล
  การสรางลําดับรายการแบบเรียงลําดับ คือ รายการที่ประกอบไปดวยตัวอักษรหรือตัวเลขที่มีการเรียงลําดับ
ในการแสดงผลปรากฏอยูหนาขอความที่เปนรายการนั้นๆ เปนขอมูลที่มีการอธิบายอยางเปนขั้นตอน โดย
การลําดับรายการรูปแบบนี้จะใชตัวเลขหรือตัวอักษรเปนเครื่องหมายในการลําดับรายการ
รูปแบบคําสั่ง <OL TYPE=Number_Type Start=Number>
                             <LI>…รายการ...
                             <LI>…รายการ...
                             <LI>…รายการ...
การสรางลําดับรายการแบบไมเรียงลําดับขอมูล
  การสรางลําดับรายการแบบไมเรียงลําดับขอมูล คือ รายการที่ประกอบไปดวยสัญลักษณตาง ๆ วางไวขาง
หนาขอความ หรือรูปภาพที่เปนรายการ สัญลักษณที่มักนิยมใชก็มีรูปสี่เหลี่ยมทึบ รูปวงกลมทึบ หรือ
รูปวงกลมกลวง
รูปแบบคําสั่ง <UL TYPE=Bullet_Type>
                              <LH>…หัวขอ...
                                                  <LI>…รายการ...
                                        <LI>…รายการ...
                                        <LI>…รายการ...
การสรางลําดับรายการแบบรายการคําศัพท
   การสรางลําดับรายการแบบรายการคําศัพท ประกอบไปดวย หัวขอใหญ หัวขอยอย และรายละเอียด
โดยจะใชการยอหนาเขาไปเรื่อยๆ เพื่ออธิบายหัวขอยอย การแสดงรายการโดยวิธินี้เหมาะสําหรับขอมูลที่
ตองการการอธิบายรายละเอียด
รูปแบบคําสั่ง <DL>
                            <DT> Definition term1
                                         <DD> Definition1
                          <DT> Definition term 2
                                         <DD> Definition2
การสรางลําดับรายการที่สัมพันธกันทั้งเอกสาร
    การนําเสนอการลําดับรายการขอมูลในรูปแบบนี้ จะจัดอยูในประเภทของการลําดับรายการแบบไม
เรียงลําดับ แตจะมีความกะทัดรัดกวาคําสั่งนี้จะแสดงรายการแบบไมมีตัวเลขโดยมีจุดวงกลมทึบเปน
เครื่องหมายนํา
รูปแบบคําสั่ง <MENU>
                                <LI>…รายการ...
                                <LI>…รายการ...
                                <LI>…รายการ...
การแสดงลําดับรายการยอย
   เปนการลําดับรายการที่มีไมเกิน 20 ตัวอักษร จึงเหมาะกับการแสดงรายการของขอมูลที่มีการแสดงขอมูลเปนคอลัมน
รูปแบบคําสั่ง      <DIR>
                                <LI>…รายการ...
                                <LI>…รายการ...
                                 <LI>…รายการ...
                           </DIR>
การลําดับรายการหลายรูปแบบ
  เปนการเอาหลายๆรายการมารวมกัน จึงตองมีการจัดความสําคัญของขอมูลโดยแยกรายการเปนหมวดหมู
รูปแบบคําสั่ง <OL TYPE=Number_Type Start=Number>
                                  <LI>…รายการ...
                                  <LI>…รายการ...
                                            <UL TYPE=Bullet_Type>
                                                          <LH>…หัวขอ...
                                                                <LI>…รายการ...
                                                                 <LI>…รายการ...
                                             </UL>
                                  <LI>…รายการ...
                     </OL>
การสรางกรอบใหตาราง
คําสั่ง <TABLE BORDER> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความหนาของเสนขอบของตาราง
รูปแบบคําสั่ง <TABLE BORDER=Pixel>
การกําหนดตําแหนงของตาราง
คําสั่ง <TABLE ALIGN> กําหนดการวางตารางลงในเว็บ
รูปแบบคําสั่ง <TABLE ALIGN=Position>
การกําหนดสีใหกับตาราง
คําสั่ง <TABLE BGCOLOR> กําหนดสีพื้นหลัง
รูปแบบคําสั่ง <TABLE BGCOLOR=ColorName>
คําสั่ง <TABLE BORDERCOLOR> กําหนดใหกับขอบตาราง
รูปแบบคําสั่ง <TABLE BORDERCOLOR=ColorName>
การกําหนดขนาดของตาราง
คําสั่ง <TABLE WIDTH> กําหนดความกวางของตาราง
รูปแบบคําสั่ง <TABLE WIDTH=Pixel>
                 <TABLE WIDTH=Number>
คําสั่ง <TABLE HEIGHT> กําหนดความสูงของตาราง
รูแบบคําสั่ง <TABLE HEIGHT=Pixel>
               <TABLE HEIGHT=Number>
การกําหนดระยะหาง
คําสั่ง <TABLE CELLSPACING> ระยะหางระหวางขอบนอกของเซลลแตละเซลลในตาราง
รูปแบบคําสั่ง <TABLE CELLSPACING=Number>
คําสั่ง <TABLE CELLPADDING> ระยะหางระหวางขอความหรือรูปภาพภายในเซลล
รูปแบบคําสั่ง <TABLE CELLPADDING=Number>
การกําหนดตําแหนงของชื่อตาราง
คําสั่ง <CAPTION ALIGN> กําหนดตําแหนงชื่อตาราง
รูปแบบคําสั่ง <CAPTION ALIGN=Position>…ชื่อตาราง...</CAPTION>
การกําหนดตําแหนงขอมูลในแถว
คําสั่ง <TR ALIGN> วางตําแหนงแนวนอนทั้งแถว
รูปแบบคําสั่ง <TR ALIGN=Position>
คําสั่ง <TR VALIGN> วางตําแหนงในแนวตั้งทั้งแถว
รูปแบบคําสั่ง <TR VALIGN=Position>
การกําหนดตําแหนงขอมูลในเซลล
คําสั่ง <TD ALIGN> วางขอมูลในแนวนอน
รูปแบบคําสั่ง <TD ALIGN=Position>
คําสั่ง <TD VALIGN> วางขอมูลในแนวตั้ง
รูปแบบคําสั่ง <TD VALIGN=Position>
การกําหนดสีใหกับเซลล
คําสั่ง <TD BGCOLOR>กําหนดสีพื้นหลังในเซลล
รูปแบบคําสั่ง <TD BGCOLOR=ColorName>
               <TD BGCOLOR= #Color>
คําสั่ง <TD BORDERCOLOR> กําหนดสีเสนขอบใหกับเซลล
รูปแบบคําสั่ง <TD BORDERCOLOR=ColorName>
                   <TD BORDERCOLOR= #Color>
การกําหนดขนาดของเซลล
คําสั่ง <TD WIDTH> กําหนดความกวางของเซลล
รูปแบบคําสั่ง <TD WIDTH=Pixel>
                   <TD WIDTH=Number.
คําสั่ง      <TD HEIGHT> กําหนดความสูงของเซลล
รูปแบบคําสั่ง      <TD HEIGHT=Pixel>
                      <TD HEIGHT=Number>
การรวมแถวและคอลัมนในตาราง
คําสั่ง <TD COLSPAN> กําหนดเปนคอลัมนเดียวกัน
รูปแบบคําสั่ง      <TD COLSPAN=Number>
คําสั่ง <TD ROWSPAN> กําหนดเปนแถวเดียวกัน
รูปแบบคําสั่ง      <TD ROWSPAN=Number>
การใชคําสั่งในการสรางแบบฟอรม
คําสั่ง <FORM METHOD> ใชสําหรับกําหนดรูปแบบของการสงขอมูลเพื่อไปประมวลผลที่เซิรฟเวอร
รูปแบบคําสั่ง <FORM METHOD=Method ACTION=URL>…แบบฟอรม
...</FORM>
การกําหนดรูปแบบฟอรม
คําสั่ง <INPUT NAME> เปนคําสั่งที่ไวกําหนดชื่อใหกับขอมูลหรือหัวขอของขอมูลที่รับเขา
มา
รูปแบบคําสั่ง <INPUT NAME=Name>
คําสั่ง <INPUT SIZE> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความยาวของชองที่ใชรับขอมูล
รูปแบบคําสั่ง <INPUT SIZE=Number>
คําสั่ง <INPUT MAXLENGTH> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความยาวสูงสุดของขอมูลที่จะ
กรอกลงในชองที่สรางไว
รูปแบบคําสั่ง <INPUT MAXLENGTH=Number>
คําสั่ง <INPUT VALUE> เปนคําสั่งที่กําหนดขอความใหแกชองรับขอมูลที่ตองการแสดงผล
ในแบบฟอรม
รูปแบบคําสั่ง    <INPUT VALUE=Message>
การใชคําสั่งในการสรางแบบฟอรม
TEXT เปนแบบฟอรมที่ใชแสดงผลขอมูลที่รับเขามา โดยแสดงผลแบบบรรทัดเดียว
รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Text NAME=Name1 SIZE=Number1
                      MAXLENGTH=Number2 VALUE=Message>
PASSWORD เปนแบบฟอรมที่กําหนดชองรับขอมูลเปนแบบกลองขอความเหมือนกับแบบฟอรม
TEXT แตอันจะแตกตางกวา คือ ตัวเลขจะปอนลงในกลองขอความไมแสดงเปนตัวอักษร
รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Password NAME=Name1
SIZE=Number1
                       MAXLENGTH=Number2>
RADIO เปนแบบฟอรมที่ใชรับขอมูลคลิกเลือกจากเครื่องหมายวงกลม
รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Radio NAME=Name1
VALUE=”Name2”CHECKED>
CHECKBOX เปนแบบฟอรมที่ใชรับขอมูลคลิกเลือกจากเครื่องหมายสี่เหลี่ยม
 รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Checkbox NAME=Name1
VALUE=”Name2”>
 RESET เปนคําสั่งที่ใชในการยกเลิกขอมูลที่กรอกลง แลวตองการลบ
  รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Reset VALUE=Message>
SUBMIT เปนคําสั่งที่ใชกําหนดรับขอมูลกรอกแลวก็กดปุม Submit แลวจะประมวลผล
  รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Submit VALUE=Message>
การสรางรูปแบบการนําเขาขอมูล
คําสั่ง <SELECE> เปนคําสั่งที่แสดงตัวเลือกเพื่อใหผูใชเลือก ซึ่งจะแสดงผลสําหรับสรางขอมูลแบบ
Drop Down List คือ มีรายการตัวเลือกปรากฏออกมาเพียงตัวเลือกเดียวแตสามารถที่จะเลือกดูตัวอื่น ๆ
ไดโดยการคลิกที่ปุมลูกศรเลื่อนลงขอมูลทั้งหมดจะถูกแสดงออกมา
รูปแบบคําสั่ง
                                 <SELECE Attribute=Value>
                                           <OPTION>Item1
                                           <OPTION>Item2
                                           <OPTION>Item3
                          </SELECE>
คําสั่ง <TEXTTAREA> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดรูปแบบการปอนขอมูลแบบอิสระ หรือเปน
การกําหนดรูปแบบชองรับขอมูลแบบหลายบรรทัด ซึ่งอาจจะเปนความเห็น คําแนะนํา คําอธิบายตาง ๆ
หรือการปอนที่อยู
รูปแบบคําสั่ง
   <TEXTTAREA Attribute=Value>…ขอความ...</TEXTTAREA>
การนําขอมูลลงแสดงในระบบโดยอัตโนมัติ

              วิธีการนําขอมูลลงแสดงโดยอัตโนมัติ จะชวยอํานวยความสะดวกใหทั้งผูใหบริการ
ขอมูลและตัวคุณเอง และเปนสิ่งสําคัญมากตอเอกสารที่มีการเปลี่ยนแปลงบอย รวมถึงเอกสารที่
ผูใหบริการขอมูลสามารถเตรียมใหอยูในรูปแบบที่นํามาแสดงในระบบ CWIS ไดงาย
อยางไรก็ตามไมควรเปดใหผูใหบริการขอมูลสามารถเขาถึงระบบไฟลของเซิรฟเวอรโดยตรง
เพราะจะทําใหเกิดความผิดพลาดไดงาย และบางครั้งก็กอใหเกิดผลเสียรายแรงคุณควรออกแบบ
ใหมีที่พักขอมูลหรือเอกสารทั้งหมดไวชั่วคราว จากนั้นมีโปรแกรมที่จะนําเอาเอกสารไปไวในที่
ที่ถูกตองอีกครั้งหนึ่ง หลักการดังกลาวสามารถทําไดหลายวิธี
                     วิธีที่ใชกันทั่วไปในการนําขอมูลมาลงแสดงในระบบแบบอัตโนมัติก็คือการ
เตรียมเนื้อที่สําหรับใหผูใหบริการขอมูลเอฟทีพีเอาเอกสารมาใสไวได คุณจะตองใหหมายเลข
ประจําตัวกับเอกสารทุกเอกสารที่นํามาแสดงในระบบ เมื่อผูใหบริการขอมูลสงเอกสารที่มีการ
ปรับปรุงใหมเขามา โปรแกรมที่คอยตรวจสอบที่พักขอมูล (เชนโปรแกรม cron ในกรณีที่
เซิรฟเวอรของคุณใชระบบยูนิกซ) ก็จะนําเอกสารนั้นไปใสไวในที่ที่ถูกตองเอง เครื่องมืออยาง
หนึ่งที่มักใชในการสรางเทคนิคเหลานี้คือภาษา Perl
ทางเลือกอีกวิธีหนึ่งคือการรับเอกสารจากผูใหบริการขอมูลผานอีเมลล เนื่องจากผู
ใหบริการบางคนคนคุนเคยกับการสงอีเมลลมากกวา วิธีนี้ก็สามารถใชภาษา Perl ชวย
เขียนไดเชนกัน หรือจะใชเครื่องมือพับบลิกโดเมนบางตัวเชนโปรแกรมที่มีชื่อวา
deliver โปรแกรมนี้จะคอยตรวจขอความที่อยูในสวนหัวของอีเมลล เมื่อพบอีเมลลที่
เปนการสงเอกสารมาลงแสดงในระบบ deliver ก็จะตัดเอาเฉพาะสวนที่เปรเอกสาร
ออกจากตัวอีเมลลและทํางานตามขั้นตอนที่คุณกําหนดไวตอไป
                เมื่อไดรับเอกสารจากผูใหบริการขอมูลแลว คุณควรจะสงอีเมลลไปบอก
ผูใหบริการขอมูลนั้นวาคุณไดรับขอมูลแลว ซึ่งจะทําใหผูใหบริการขอมูลทราบวา
เอกสารของเขาจะไดลงแสดงในระบบเร็วๆนี้ การสงอีเมลลตอบรับนี้จําเปนอยางยิ่งถา
คุณใชอเี มลลในการสงขอมูลลงแสดงแบบอัตโนมัติ เพราะวาการใชอเี มลลในการสง
ขอมูลลงแสดงนั้นสามารถสวมรอยสงแทนผูไมหวังดีได ดั้งนั้นถาระบบของคุณมีการสง
อีเมลลตอบกลับไปยังเจาของที่แทจริงของเอกสาร และมีการเวนชวงเวลากอนที่จะนํา
เอกสารลงแสดงจริงในระบบ คุณก็มีโอกาสยับยั้งการแสดงเอกสารปลอมไดทัน
โปรแกรม deliver เปนโปรแกรมหนึ่งก็มีความสามารถในการสงอีเมลตอบรับแบบ
อัตโนมัติ
เครื่องมือประเทเดียวกับ Deliver สามารถหาไดตามanonymous FTP ทั่วไป
โดยใชอารชีคนหาโฮสตที่ใกลที่สุดทีมีโปรแกรมนี้ คุณยังสามารถคนหาเครื่องมือประเภท
เดียวกันไดจากแหลงเก็บไฟลที่ใชระบบ CWIS แบบเดียวกับที่คุณใช เชนถาคุณใชโก
เฟอรสราง CWIS คุณสามารถคนหาเครื่องมือชวยในการบริหารระบบ CWIS ของ
คุณไดจาก boombox.micro.umm.edu โดยคนหาในไดเรกเทอรี
/pub/gopher/Unix/GopherTools
              ถาในสถาบันของคุณมีการใชระบบไฟลผานเครือขาย (network file
system) คุณจะสามารถใชระบบไฟลนี้ชวยในการสงขอมูลลงแสดงในระบบ
CIWS ของคุณได ตัวอยางเชนที่มหาวิทยาลัยนอทเธอดัมไดนําระบบไฟลผานเครือขาย
ที่มีชื่อวาระบบไฟลแอนดรูวมาใช ผูใหบริการขอมูลที่ตองการสงขอมูลที่ตองการสงขอมูล
                            
ลงแสดงในระบบ ของมหาวิทยาลัยจะสามารถเก็บขอมูลลงในไดเรกทอรีที่มีชื่อ ของแตละ
คนได
 ระบบปองกันของ AFS จะกันผูไมใหบริการขอมูลสงขอมูลไปยังสวนอื่นนอกจากที่
กําหนดไว ที่นี่มีการใชระบบการรับขอมูลผานอีเมลลรวมดวย
ถึงแมวาการใชวิธีอัตโนมัติตางๆจะชวยในการบริหารระบบ CWIS ไดมาก แตก็
เปนสัจจะธรรมที่วาไมมีระบบอัตโนมัติใดที่จะทํางานไดอยางไมมีปญหาในทุกกรณี
                                                                
คุณจะตองทําการตรวจสอบการสงขอมูลลงแสดงในระบบเปนระยะๆ เพื่อใหมั่นใจวา
โปรแกรมตางๆที่ทํางานแบบอัตโนมัติอยูนั้นทําหนาที่ไดถูกตอง บางครั้งโปรแกรม
เหลานี้ก็ตองการปรับแตงและซอมแซมบาง ถาคุณใชระบบ CWIS ที่มีขายกันอยู
บางระบบเชน VTX ก็จะไมตองการการเขียนโปรแกรมเพิ่มความสามารถของระบบ
มากนัก และในอนาคตเราอาจจะสามารถหาซื้อระบบโกเฟอรเว็บเซิรฟเวอรที่มี
ความสามารถในดานการจัดการฐานขอมูลของ CWIS เพิ่มขึ้น
การใช CWIS ในการเก็บขอมูลยอนหลัง
      ในแตละวันที่คุณเพิ่มเอกสารใหมเขาไปในระบบ CWIS จะเปรียบเสมือนคุณ
   ไดเห็นการเปลี่ยนแปลงแตละเสี้ยวในหนาประวัติศาสตรของสถาบัน การนําเสนอ
เอกสารในรูปแบบออนไลนจะทําใหงายในการจัดเก็บเอกสารเหลานี้ยอนหลัง แหลงเก็บ
  ขอมูลเหลานี้สามารถทําเปนบันท฿กประวัติศาสตรที่สามรถเรียกคนแบบออนไลนได
                                        ดวย
ตัวอยางการนําเอาแหลงเก็บขอมูลยอนไปใชงานมีดังนี้
       - หนังสือพิมพนิสิตอาจเปนที่ที่เดียวที่มีการบันทึกวิธีชีวิตในสถาบันเอาไว บางครั้งก็
เปนการบนในเรื่องคุณภาพของรายงานหรือเอกสารทางวิชาการที่นักศึกษาผลิตขึ้นการเก็บ
เรื่องราวตางๆนี้ไวถึงแมเปนเรื่องเล็กนอยก็ดีกวาไมมีการเก็บบันทึกอะไรเลย
      - ทํานองเดียวกัน จดหมายขาวของคณะ ก็จะเก็บรวมรวมเหตุการณที่เกิดขึ้น การ
เปลี่ยนแปลงในนโยบายและผลที่ตามมา
      - ปฏิทินกิจกรรมอาจจะลาสมัยไปเมื่อหมดชวงเวลาของกิจกรรมเหลานั้น แต
เหตุการณการที่ผานไปแลวบางครั้งก็มีประมากอยางนึกไมถึง เชนการบันทึกวามีศิลปนใด
ไดเคยมาแสดงในสถาบันมาแลวก็สามารถใชในการประชาสัมพันธไดเปนอยางดี
      - หลักสูตรการศึกษาเกาๆที่เคยใชในสถาบันจะเปนประโยชนอยางยิ่งกับผูที่ใชเวลา
ศึกษานาน ผูที่ทํางานไปศึกษาไปดวย หรือคณะกรรมการหลักสูตรที่กําลังออกแบบ
หลักสูตรใหม
      เนื่องจากปจจุบันฮาดรดิสกมีราคาถูกมาก ถาสงสัยวาควรจะเก็บขอมูลหรือไมให
ตัดสินใจเก็บไวกอนเมื่อพบวาเก็บไวไมมีประโยชนก็สามารถลบทิ้งได ซึ่งจะงายกวาการ
พยายามสรางขอมูลกลับขึ้นมาใหมเมื่อรูภายหลังวาขอมูลที่ลบไปนั้นเปนประโยชน
เมลลิ่งลิสตที่เกี่ยวกับระบบ CWIS
        เมลลิ่งลิสตที่มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารระบบ
CWIS ที่เปนที่นิยมมากคือเมลลิ่งลิสตทีมีชื่อวา CWIS-L ที่มหาวิทยาลัย
มิชิแกนสเตท การบอกรับเปนสมาชิกทําไดโดยการสงเมลลไปยัง
listserv@mus.edu
โดยขอความขอเปนสมากชิกในรูปแบบตอไปนี้
Subscribe cwis-l John Doe
คุณอาจจะพบวาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารระบบ CWIS ที่
มีทากอนหนานี้ก็เปนประโย๙นเชนกัน ผูบริหารระบบ CWIS สวนใหญจะทํา
การขอดัชนีเรื่องที่มีการพูดคุยไปแลวโดยการสงอีเมลลขางลางนไปที่
listserv@mus.edu
                                   Index cwis-l
ชนิดของขอมูลที่จะใหบริการ

ตัวอยางการจัดหมวดหมูของขอมูลที่ควรมีใน CWIS มีดังนี้
- General Information about the university (ขอมูลทั่วไป
เกี่ยวกับมหาลัย) ประวัติโยยอ ภาพถายสถานที่ แผนที่บริเวณภายใน ระเบียบการจอด
รถ สถานที่สําคัญ และตําแหนงโรงอาหาร
- Academics (การศึกษา) ปฏิทินการศึกษา วิธีการสมัคร แนะแนวการศึกษา
การยกเลิกรายวิชา วิชาพิเศษ การศึกษาภาคค่ํา การลงทะเบียนแบบออนไลน
- Housing (ที่พัก) รายละเอียดหอพักและที่พักใกลกับสถานบัน
- Alumni information (สมาคมนิสิตเกา) วิธีสมัครเปนสมาชิก กิจกรรมของ
สมาคม
- Health (สุขภาพ) สถานที่ออกกําลังกาย สถานพยาบาล การใหคําปรึกษาดาน
สุขภาพประชาสัมพันธเกี่ยวกับสุขภาพ และระเบียบการรักษาความปลอดภัยดานเคมี
รังสี และชววิทยา
- Employment (ประกาศรับสมัคร) อาจารย พนักงาน นักศึกษา
- Libraries (หองสมุด) เวลาทําการ ตําแหนงของหองสมุด วิธีเขาใชหองสมุด
ออนไลน และการเขาคนฐานขอมูลการวิจัยและการใชอเี มลลในการยืมหนังสือขาม
หองสมุด
- Campus computing information (บริการประมวลผล)
บริการที่มี วิธีใชบริการอีเมลลสําหรับอาจารย นักศึกษาและเจาหนาที่ และการขอ
บัญชีเขาใชเครื่อง
- People directories (สมุดรายชื่อ) อาจารย นักศึกษาและเจาหนาที่
และชื่ออีเมลล
- University ordinances (ระเบียบ) กฎ ระเบียบ นโยบาย
- Handicapper information (ขอมูลสําหรับผูทุพลภาพ) สิ่งอํานวย
ความสะดวกของผูทุพลภาพ
- Transportation (การเดินทาง) หมายเลขรถประจําทาง รถนักศึกษา การ
เดินทางมาจากเมืองอื่น
- Events (กิจกรรม) การสัมมนา การละเลน ละคร ภาพยนตร ดนตรี โดยเรียงตามวัน
หรือประเภทกิจกรรม
- Weather (พยากรณอากาศ) และตัวชี้ไปยังการพยากรณของเมืองอื่น
- Classified advertisement services (บริการซื้อ) รายการสิ้นคา ใบสั่ง
ซื้อแบบออนไลน
- Town/ gown relations (ขาวสังคม)
- Outreach programs (บริการศึกษาเพิ่มเติม)
-Computer resources (ทรัพยากรบนคอมพิวเตอร) ตัวชี้ไปยังทรัพยากรขอมูลอื่
                                    นบนอินเตอรเน็ต
รายการขางตนไมไดรวบรวมเอาขอมูลที่ควรมีทั้งหมดที่เปนไปได คุณควรลองใช CWIS
ระบบอื่นเพื่อหาหัวขออื่นที่นาสนใจ
ความปลอดภัย

     ในสถานการณที่ปริมาฯของเอสารที่มีการสงวนลิขสิทธิและเอกสารที่มีตองมีใบอนุญาต
กอนนําไปใชงานมีเพิ่มมากขึ้นๆในเครือขาย การนําทรัพยากรเหลานี้ไปใชงานไมสามารถทําได
เพียงการเพิ่มตัวชี้เพื่อชี้ไปยังเอกสารผานระบบ CWIS แตตองเขาใจสิทธิการใชงานที่ระบุ
ไวในใบอนุญาตวามีขอบเขตแคไหน บางครั้งทรัพยากรหนึ่งๆก็จํากัดใหเผยแพรไดทั้งสถาบัน
บางกรณีก็ยอมใหเผยแพรไดเฉพาะในภาควิชานั้น ถาทรัพยยากรนั้นอยูในรูปของสิ่งของเชน
แผนซีดีรอมก็อาจจํากัดวาใหนําไปใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรที่มผูใชเพียงคนเดียวและไมได
                                                                ี
เชื่อมตอเขากับเครือขาย
                ในฐานะที่เปนผูบริหารระบบCWIS คุณจะตองตรวจสอบกับผูใหบริการ
ขอมูลใหแนนอนวาทรัพยากรทุกอันที่สามารถเขาถึงไดจากระบบ CWIS ตองไดรับอนุญาต
ใหทําการเผยแพรไดทั่วสถาบันหรือทั่วโลก
โปรแกรมระบบCWIS หลายโปรแกรมที่มีความสารถในการกําหนด
หมายเลขไอพีของเครื่องที่จะไมยอมใหเขาใชระบบ ซึ่งการกําหนดอาจจะมีผลตอ
เอกสารทั้งระบบหรืออาจจะกําหนดแยกตามแฟมเก็บเอกสารก็ได คุณสมบัติแบบนี้
ทําใหสามารถจํากัดความเขาถึงขอมูลของระบบ CWIS ใหเกิดจากเครื่องที่อยู
ภายในสถาบันเทานั้น ถาเจาของทรัพยากรไมอนุญาตใหมีการเชื่อมตอผาน
สายโทรศัพทได คุณก็ตองระวังไมใหรับการเชื่อมตอเขาใชระบบ CWIS จาก
เครื่องที่ยอมใหผูใชทํา anonymous FTP ผานสายโทรศัพท โดย
กําหนดใหไมรับการเชื่อมตอจากเครื่องที่มีหมายเลขไอพีเหลานี้
ถานโยบายของสถาบันตองการใหทรัพยากรทีใหบริการแบบออนไลนจํากัด
ใหบริการอยูภายในสถาบันเทานั้น แหลงขอมูลออนไลนที่ใหบริการอยูกอนแลว
มักจะมีการตรวจสอบสิทธิการใชงาน โดยจะถามหมายเลขประจําตัวของนักเรียน
หรือเจาหนาที่ การตรวจสอบสิทธิน้ําเปนอยางยิ่งถาแหลงขอมูลนั้นสามารถเขาถึง
ระบบ CWIS ไดเนื่องจากถาแหลงขอมูลกันไมใหผูใชภายนอกสถาบันเขาใช
ขอมูลโดยการตรวจสอบหมายเลขไอพีเพียงอยางเดียว เมื่อผูใชภายนอกสถาบันเขา
ใชระบบ CWIS กอนแลวเลือกเมนูเพื่อผานเขาใชแหลงขอมูลนั้น ผูใชคนนี้ก็
สามารถขาใชแหลงขอมูลไดทันทีเนื่องจากหมายเลขไอพีที่แหลงขอมูลไดเปนของ
ระบบ CWIS ของสถาบันเองเหตุการณการทํานองเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นไดอีกถา
แหลงขอมูลนั้นมีโปรแกรมไคลเอ็นตที่ใชงานผานเทอรมินัลไดและยอมใหผูใชใน
อินเทอรเน็ตเขาใช เมื่อผูใชรันโปรแกรมไคลเอ็นตบนเครื่องเดียวกับเครื่องที่
เซิรฟเวอรทํางานอยูก็จะผานการตรวจสอบหมายไอพีเสมอ
ชองโวอีชองหนึ่งที่อาจะเปดโอกาสโดยที่ไมไดตั้งใจคือ กรณีที่ระบบ CWIS
ของคุณรับการเชื่อมตอจากเซิรฟเวอรอื่นในสถาบันไดและเซิรฟเวอรนั้นสามารถรับ
การเชื่อมตอจากภายนอกผานโทรศัพทหรือผานเทลเน็ตดั้งนั้นผูใชภายนอกก็สามารถ
ผานใชทรัพยากรที่อนุญาตใหใชเฉพาะภายในสถาบันได ในฐานะที่เปนผูบริหาร
ระบบคุณตองประสานงานกับผูบริการเซิรฟเวอรอื่นๆเพื่อแกไขปญหาเหลานั้น
ระบบรักษาความปลอดภัยโดยการตรวจสอบหมายเลขไอพีทําใหเกิดชอง
โหวไดมากมายอีกตัวอยางหนึ่งของชองโหวที้เกิดขึ้นไดกับระบบ CWIS ที่ใช
โกเฟอรเกิดจากที่โกเฟอรสามารถทําหนาที่เปนตัวแทนไคลเอ็นตของบริการเอฟทีพี
ได กลาวคือเมื่อผูที่กําลังใชไคลเอ็นตของระบบ CWIS อยูขอใชไฟลผานเอฟที
พี โกเฟอรจะสามารถเปดการเชื่อมตอเขากับเอฟทีพีเซิรฟเวอรในนามไคลเอ็นต
ของ CWIS ได การกําหนดเมนูใหผูใชเขาถึงเฉพาะไฟลบางไฟลก็จะเกิดปญา
หาขึ้น แตถาผูใชมีความรูในเรื่องสตริงตัวเลือกของโกเฟอร เขาก็จะสามารถที่จะ
สงสตริง “FTP:” เขามาขอใชไฟลที่มีอยูในเมนูของโกเฟอรได ผูบริการ
CWIS จะตองรวมมือกับผูบริหารเอฟทีพีเพื่อแกไขปญาหานี้
ถาคุณตัดสินใจที่จะใหมีการรันไคลเฮ็นตบนเซิรฟเวอรของคูณดวย ฏตอง
ระวังปญหาเล็กๆนอยๆที่จะเกิดขึ้นในเรื่องความปลอดภัย เชนกรรีไคลฮ็นตข
องคุณยอมใหผูใชเขาใชขอมูลผนโปรแกรมเทลเน็ลโดยจําการใชงานไวเฉพาะ
ขอมูลนั้น ในบางสถานการณผูใชจะสามารถหนีออกจากขอจํากัดการใชขอมูล
และสามารถใชโปรแกรมเทลเน็ตไดอยางอิสระซึ่งหมายความวาผูใชคนนี้
สามารถทะลุเขาทําอันตรายระบบใดๆก็ไดบนอินเทอรเน็ตโปรแกรมที่ชื่อ
telnot เปนโปรแกรมเทลเน็ตที่แกไขปญหานี้แลว สามารถหาไดจากแหลง
ของมูลเอฟทีพีทั่วไป บนระบบยูนิกซ more ที่ใชในการแสงขอมูลในไฟล
การเขาและออกจากอินเตอรเน็ต
                เมื่อคุณติดตั้งอุปกรณ และซอฟตแวรเรียบรอยแลว คุณก็จะพรอมเขาสู
อินเตอรเน็ตเปนครั้งแรก ถาคอมพิวเตอรของคุณไมไดเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตอยาง
ถาวร คุณตองโทรศัพทติดตอกับคอมพิวเตอรของผูใหบริการ
                                   การเริ่มโทรศัพทติดตอ
            เปดหนาจอวินโดว ซึ่งบรรจุรายชื่อของสิ่งตาง ที่ผูใหบริการอินเตอรเน็ต
จัดเตรียมไวให หนาจอนี้อาจแสดงในรูปเมนู หรือปุมใหกดเลือกเพื่อใหโมเด็มของคุณ
เริ่มตอโทรศัพท หากไมใชลักษณะนี้ใหเลือกรายการอื่นๆ เชน เวิลด ไวด เว็บ เพื่อให
โมเด็มเริ่มทํางานอัตโนมัติ
                                           รหัสผาน
            อาจมีชองสี่เหลี่ยมเล็กๆ ปรากฏขึ้นบนหนาจอ เพื่อใหคุณปอนรหัสผานที่
ไดรับมาจากผูใหบริการ
โมเด็มของคุณ
      เมื่อคุณเห็นโมเด็มเริ่มทํางาน คุณจะเห็นไฟกระพริบบนโมเด็ม และไดยินเสียง
สัญญาณตอโทรศัพท เมื่อตอไดแลวจะไดยินเสียงหวีดยาวๆหรือเสียงซาๆ
                                           ถาตอติด
              เมื่อติดตอแลว จะปรากฏขอความหรือไอคอนบนหนาจอแจงวาตอโทรศัพท
สําเร็จแลว
                                          ถาตอไมติด
               การติดตั้งซอฟตแวรใหครบถวนสมบูรณ รวมทั้งการทํางานแบบโมเด็มอาจ
ยุงยากกกวาที่เราคิด หากเกิดปญหา อยาลังเลที่จะสอบถามผูใหบริการ ซึ่งจะใหคําแนะนํา
แกคุณได แมมั่นใจวาอุปกรรตางๆและซอฟตแวรทํางานเรียบรอยแลว แตยังไมแนวาคุณ
จะติดตอเขาสูอินเตอรเน็ตได ทั้งนี้คุณอาจไดรับขอความแจงวาการติดตอโทรศัพทไมสําเร็จ
คําเตือน
        การใชอินเตอรเน็ตบางกรณีจะกําหนดไวดโดยอัตโนมัติวาใหคุณหยุดใช
งานหลังจากใชงานเปนระยะเวลาหนึ่งที่แนนอน วิธีนี้ชวยปองกันเสียคาโทรศัพท
มากเกินไป แตถาไมไดกําหนด คุณตองระมัดระวังไมใหคอมพิวเตอรของคุณ
ติดตอกับอินเตอรเน็ตมากเกินไป
                                   การเลิกติดตอ
    ใหเลือกปุมหรือเมนูเพื่อเลิกการติดตอ
จัดทําโดย
 นาย      เจษฎา      เขียวฉออน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๖๕
นาย       นิติเทพ     จันทรสอน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๖๙
นางสาว    มินตรา     ใจออน        รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๗๘
 นาย      วิรัช      ยวงใย         รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๘๑
นางสาว   สุพัชชา    เนยสูงเนิน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๘๗

             นักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะครุศาสตร
         โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอรศึกษา หมูเรียนที่ ๑

More Related Content

Similar to การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต

Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Wee Jay
 
Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Wee Jay
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน0882324871
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssnongnan
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007tanongsak
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบPoppy Love
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบPoppy Love
 
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้า
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้ารายงาน กลุ่ม คอม ฟ้า
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้าPoppy Love
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
Original microsoft office word 2010 full
Original microsoft office word 2010 fullOriginal microsoft office word 2010 full
Original microsoft office word 2010 fullsomdetpittayakom school
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์Nichakorn Sengsui
 

Similar to การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต (20)

Pai01
Pai01Pai01
Pai01
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
HTML
HTMLHTML
HTML
 
Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007
 
Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007Microsoft office word 2007
Microsoft office word 2007
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง css
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
ใช้งานโปรแกรม Microsoft word2007
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
 
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบรายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
รายงาน กลุ่ม คอม ป๊อบ
 
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้า
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้ารายงาน กลุ่ม คอม ฟ้า
รายงาน กลุ่ม คอม ฟ้า
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
Original microsoft office word 2010 full
Original microsoft office word 2010 fullOriginal microsoft office word 2010 full
Original microsoft office word 2010 full
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
 

การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต

  • 1.
  • 2. Home Page เปนหนาแรกของเว็บไซต ซึ่งเปรียบไดกับเปนเอกสารหนาแรกของเว็บไซต โดยเมื่อผูใชอินเทอรเน็ตเขามาใชเว็บไซตใดก็ตามจะเห็นหนานี้เปนหนาแรก โดย Home Page จะทําหนาที่แสดงขอมูลขาวสาร การโฆษนา และ ประชาสัมพันธตางๆ ซึ่งเปนขอมูลเบื้องตนที่แสดงใหทราบวาในเว็บไซตมี อะไรบาง รวมถึงแสดงเมนูตางๆ โดยเชื่อมโยงไปยังเว็บเพจอื่นๆ ภายใน เว็บไซต ในหนานี้จะมีการออกแบบใหมีความสวยงามและนาสนใจ เพื่อดึงดูด ใหผูใชอินเทอรเน็ตเกิดความสนใจที่จะเขามาชมในเว็บไซต
  • 3. Web Page เปนเอกสารตางๆ ที่อยูในเว็บไซต เรียกวา เว็บเพจ เปนหนาเอกสาร ตางๆ ทั้งหมดภายในเว็บไซต ซึ่งเว็บเพจจะแสดงขอมูลตางๆ ภายในเว็บไซต สามารถเขาไปดูขอมูลแตละหนาไดโดยการเชื่อมโยงจากหนาโฮมเพจ หรือจาก การเชื่อมโยงจากเว็บเพจหนาอื่นๆ ในเว็บไซตเดียวกัน Web Sites เว็บไซต คือ เครื่องคอมพิวเตอรที่เปนแหลงเก็บเว็บเพจตางๆ ที่ใชเผยแพรขอมูลใน อินเทอรเน็ตโดยเมื่อผูใชตองการเปดดูขอมูลในเว็บไซต บราวเซอรจะทําการเชื่อมโยง ขอมูลมายังเครื่องที่เว็บไซตเพื่อดึงขอมูลไปแสดงใหกับผูใช
  • 4. HTML HTML ยอมาจาก Hyper Text Markup Language เปน เอกสารแบบไฮเปอรเท็กซซึ่งมีความสามารถในการเชื่อมโยงขอมูลไปยังเอกสารอื่นได เปนเอกสารที่มีความสามารถสูงเหนือกวาเอกสารทั่วไปเนื่องจากสามารถเปดดูขอมูล ภายในได สวนความสามารถในการเชื่อมโยงขอมูลไปยังเอกสารอื่นๆ ทําไดโดยการ ใสสัญลักษณพิเศษเขาไปในเอกสาร หรือที่เรียกวา คําสั่ง (Tag) คําสั่งเหลานี้ จะถูกกระทําตามคําสั่งโดยโปรแกรมบราวเซอรตางๆ เนื่องจากไดรับการพัฒนามาจากภาษา SGML ( Standard General Markup Language ) ซึ่งเปนภาษาที่สามารถทํางานและเรียกใชไดจาก โปรแกรมหลายประเภท HTML จึงถือไดวาเปนภาษาคอมพิวเตอรที่ใชสําหรับสราง หนาเอกสาร เพื่อแสดงทางจอภาพในระบบอินเทอรเน็ต ซึ่งมีขอดี คือ เมื่อสราง เอกสารแลว สามารถเรียกดูผลการทํางานดวยโปรแกรมบราวเซอรไดเลยโดยไมตองทํา การ Compile กอน สําหรับการสรางเอกสาร HTML นั้นจะตองใช Text Editor ในการ สรางเอกสาร ซึ่งมีใหเลือกใชไดหลายตัว แตในที่นี้จะใช NotePad
  • 5. NotePad เปนโปรแกรมที่ทําในระบบปฏิบัติการ Windows ซึ่งเปนสวนประกอบหนึ่ง ของ Windows โดยโปรแกรม NotePad จัดเปนโปรแกรมประเภท Text Editor ซึ่งสามารถใชในการสรางไฟลหรือเขียนภาษา HTML ซึ่ง NotePadไดรับการนิยมอยางมากในการนํามาใชเขียนภาษา HTML เพราะเปน โปรแกรมที่สามารถใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีการทํางานที่ไมซบซอน ั ขั้นตอนในการเรียกใชงานโปรแกรม Notepad มีดังนี้ 1.เริ่มตนดวยการคลิกปุมเมนู Start 2.คลิกเลือก Program 3.คลิกเลือก Accessories 4.คลิกเลือก Notepad 5.สามารถพิมพคําสั่งลงไดเลย
  • 6. การบันทึกไฟล HTML สามารถบันทึกไฟลขอมูล Notepad ซึ่งเปนไฟล HTML สามารถทําไดดังนี้ 1.คลิกที่เมนู File 2.เลือก Save 3.กําหนดชื่อไฟลที่ตองการบันทึก โดยมีนามสกุลเปน “.html” 4.กําหนดสถานที่ที่ตองการเก็บไฟล การเปดไฟล HTML เมื่อสรางไฟล HTML และทําการบันทึกแลวเมื่อตองการจะเปดไฟลที่สรางขึ้นมาใชงาน โดยการเปดจากโปรแกรม Internet Explorer สามารถทําไดดังนี้ 1.เปดโปรแกรม Internet Explorer ขึ้นมา โดยการดับเบิ้ลคลิกที่ไอคอนบน Desktop 2.เมื่อเปดโปรแกรมแลวจะปรากฏหนาตางโปรแกรมขึ้นมา ใหคลิกเลือก File 3.ลือก Open 4.คลิกเลือก Browse เพื่อคนหาสถานที่ที่เก็บไฟลที่ตองการเปด
  • 7. โครงสรางของเอกสาร HTML 1. สวนประกาศ Version ของ HTML ในสวนนี้จะเปนสวนที่กําหนด วิธีการแปลขอมูลภายใน HTML ทั้งหมดโดยที่ </HTML> เปนคําสั่งปด การใชคําสั่ง <HTML> ซึ่งหมายถึง จุดสิ้นสุดของเอกสาร 2. สวนหัวของเอกสาร (heading) เปนสวนที่เปนขอมูลเพิ่มเติม อธิบาย ความหมายและกําหนด Definition ตางๆ 3. สวนเนื้อหาของเอกสาร (Body) เปนสวนที่แสดงผลในพื้นที่ทั้งหมดของ เว็บเพจเมื่อสั่งให Web Browser ประมวลผล
  • 8. การกําหนดรูปแบบตัวอักษร สามารกําหนดได 2 รูปแบบดังนี้ 1. แบบ Logical Styles เปนรูปแบบการใชคําสั่งตามลักษณะของงาน คําสั่ง <EM> คําสั่งนี้จะทําใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งเปนตังเอียง (Emphasis) คําสั่ง <STRONG> คําสั่งนี้จะทําใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวหนา คําสั่ง <BIG> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งมีขนาดใหญ คําสั่ง <SMALL> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหขอความที่อยูระหวางคําสั่งมีขนาดเล็ก คําสั่ง <CODE> หรือ Computer Code เปนคําสั่งที่ใชกําหนดใหตัวอักษรที่อยูระหวาง คําสั่งใหมีตัวอักษรแบบคอมพิวเตอร คําสั่ง <VAR> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดตัวอักษรที่เนนรูปแบบขอความ คาตัวเลข คําสั่ง <CITE> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดตัวอักษรเอียง สําหรับเนนขอความที่เกี่ยวกับคําพูด คําสนทนา 2. แบบ Physical Styles เปนรูปแบบการใชคําสั่งเพื่อเนนตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่ง HTML คําสั่ง <B> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวหนา (Bold) คําสั่ง <I> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวเอียง (Italic) คําสั่ง <U> คําสั่งนี้จะทําใหตัวอักษรที่อยูระหวางคําสั่งเปนตัวขีดเสนใต (Underline)
  • 9. การกําหนดแบบตัวอักษร คําสั่ง <FONT FACE> คําสั่งนี้เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดรูปแบบตัวอักษร รูปแบบคําสั่ง <FONT FACE =”Font1,Font2”>…ขอความ...</FONT> การกําหนดสีของตัวอักษร คําสั่ง <FONT COLOR> ใชกําหนดสีตัวอักษรเฉพาะตัวอักษรที่ตองการ รูปแบบคําสั่ง <FONT COLOR= #Code>…ขอความ...</FONT>หรือ <FONT COLOR=ColorName>…ขอความ...</FONT> คําสั่ง <BODY TEXT> ใชกําหนดสีตัวอักษรทั้งเอกสาร รูปแบบคําสั่ง <BODY TEXT= #Code>หรือ <BODY TEXT=ColorName> การกําหนดขนาดของตัวอักษร คําสั่ง <FONT SIZE> กําหนดอักษรแบบสมบรูณ รูปแบบคําสั่ง <FONT SIZE=ValueSize>…ขอความ...</FONT> คําสั่ง <BASEFONT> กําหนดแบบสัมพันธ รูปแบบคําสั่ง <BASEFONT SIZE=Value>
  • 10. การใชตัวอักษรพิเศษ ตัวอักษรพิเศษ คือ ตัวอักษรที่ไมมีบนแปนพิมพ เครื่องหมายลิขสิทธิ์ &copy; เครื่องหมายทะเบียนการคา &reg; เครื่องหมายมากกวา &gt; เครื่องหมายนอยกวา &It; เครื่องหมายการคา &#153; เครื่องหมาย YEN &yen; เครื่องหมาย Euro &euro; เครื่องหมาย Cent &cent; เครื่องหมาย Degrees &deg; เครื่องหมายเวนวรรค &nbsp; เครื่องหมายหาร &divide;
  • 11. การสรางตัวอักษรวิ่ง รูปแบบคําสั่ง <MARQUEE Attribute=Position>…ขอความ...</MARQUEE> การกําหนดหัวขอ รูปแบบคําสั่ง <Hx>…ขอความ...</Hx> การขึ้นยอหนาใหม คําสั่ง <P> คําสั่งสําหรับจัดขอความหรือรูปภาพในลักษณะตางๆ รูปแบบคําสั่ง <P ALIGN=Position>…ขอความ...</P> การขึ้นบรรทัดใหม คําสั่ง <BR> คําสั่งนี้จะขึ้นบรรทัดใหมนอยกวาคําสั่ง <P> รูปแบบคําสั่ง ...ขอความ...<BR> การแสดงขอความในรูปแบบเดิม คําสั่ง <PRE> คําสั่งนี้จะอยูระหวางคําสั่งถูกวางไวรูปแบบเดิม รูปแบบคําสั่ง <PRE>…ขอความ...</PRE> การจัดขอความใหอยูกึ่งกลาง รูปแบบคําสั่ง <CENTER>…ขอความ...</CENTER>
  • 12. การสรางเสนตรงแนวนอน คําสั่ง <HR> คําสั่งนี้ใชสําหรับการสรางเสนลงในเว็บเพจ เพื่อแบงเนื้อหาใหเปนสัดสวน รูปแบบคําสั่ง <HR Attribute=Value> ประเภทของไฟลรูปภาพ 1. ไฟลรูปภาพประเภท Graphic Interchange Format หรือ GIF เปนไฟล รูปภาพที่มีความระเอียดของภาพต่ํา เก็บรายละเอียดของภาพไมเกน 8 บิต สามารถใชสีไดสูงสุดเพียง 256 สี 2. ไฟลรูปภาพประเภท Joint Photographic Experts Group หรือ JPEG เปนภาพที่มีความละเอียดสูงมาก สามารถแสดงสีสูงสุดถึง 16.7 ลานสี การแทรกรูปภาพ คําสั่ง <IMG SRC> ใชสําหรับระบุไฟลรูปภาพที่จะนํามาแสดง โดยรูปภาพจะตองมี นามสกุล .gif .jpg รูปแบบคําสั่ง <IMG SRC=filename> การใชขอความแทนรูปภาพ คําสั่ง <IMG ALT> ใชสําหรับแสดงวารูปนี้บงบอกวารูปนี้เกี่ยวกับอะไร รูปแบบคําสั่ง <IMG ALT=”Message”>
  • 13. การจัดตําแหนงของขอความรูปภาพ คําสั่ง <IMG ALIGN> ใชสําหรับจัดวางรูปภาพหรือขอความที่อยูลอมรอบรูปภาพวาจะใหอยู ตําแหนงใด รูปแบบคําสั่ง <IMG ALIGN=Position> การจัดระยะหางของขอความกับรูปภาพ คําสั่ง <IMG HSPACE> ใชสําหรับระบุชองวางระหวางรูปภาพกับขอความหรือวัตถุที่วาง อยูรอบรูปภาพ ทางดาน ซาย – ขวา รูปแบบคําสั่ง <IMG HSPACE=Pixels> คําสั่ง <IMG VSPACE> ใชสําหรับระบุชองวางระหวางรูปภาพกับขอความหรือวัตถุที่วาง อยูรอบรูปภาพ ทางดาน บน - ลาง รูปแบบคําสั่ง <IMG VSPACE=Pixels> การปรับแตงขนาดรูปภาพ คําสั่ง <IMG WIDTH> ใชสําหรับระบุความกวางของรูปภาพที่ตองการจะแทรก รูปแบบคําสั่ง <IMG WIDTH=Pixels> คําสั่ง <IMG HEIGHT> ใชสําหรับระบุความสูงของรูปภาพที่ตองการจะแทรก รูปแบบคําสั่ง <IMG HEIGHT=Pixels>
  • 14. การควบคุมขอความรอบรูปภาพ คําสั่ง <BR Clear> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดขอความที่อยูรอบๆ รูปภาพวาตองการ ใหอยูดานใดของรูปภาพ รูปแบบคําสั่ง <BR Clear=Position> การกําหนดพื้นหลังโดยใชรูปภาพ คําสั่ง <Body Background>เปนคําสั่งที่ใชกําหนดพื้นหลังของ Web Page โดย ใชรูปภาพ รูปแบบคําสั่ง <Body Background=Filename> การเชื่อมโยงขอมูลภายในเอกสารเดียวกัน คําสั่ง <A NAME> เปนคําสั่งที่ใชในการกําหนดชื่อสวนตางๆ ที่อยูในหนาเอกสารที่ตองการทํา การเชื่อมโยง เพื่อความสะดวกในการใชคําสั่งเชื่อมโยงขอมูลภายในเอกสาร รูปแบบคําสั่ง <A NAME=Label…ขอความ...</A> คําสั่ง <A HREF> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดเปาหมายที่ตองการเชื่อมโยงไปหา โดยการใส Label ของขอมูลที่ตองการเชื่อมโยง รูปแบบคําสั่ง <A HREF= #Label>…ขอความ...</A>
  • 15. การเชื่อมโยงไปยังไฟลอื่นหรือ Web Page อื่น คําสั่ง <A HREF> เปนคําสั่งเดียวกับเชื่อมโยงภายในแตเรียกใชคําสั่งตางกัน โดยตองระบุหนาเว็บที่ ตองการเชื่อมโดยงไปดวย รูปแบบคําสั่ง <A HREF=/Path/Filename.html>…ขอความ...</A> การเชื่อมโยงไปยังไฟลอื่นโดยการกําหนดตําแหนง คําสั่ง <A HREF> จะเพิ่มชื่อของสวนที่ตองการลงไปดวย รูปแบบคําสั่ง <A HREF=/Path/Filename.html#Label>…ขอความ...</A> การเชื่อมโยงไปยัง Web Page อื่น คําสั่ง <A HREF> เชื่อมจากเว็บหนึ่งไปหาอีกเว็บหนึ่ง ตองระบุชื่อเว็บใหถูกตอง รูปแบบคําสั่ง <A HREF=URL>…ขอความ...</A> หรือ <A HREF=FTP://FtpServer”> การเชื่อมโยงโดยใชรูปภาพ คําสั่ง <A HREF> คือคลิกที่รูปภาพแลวสามารถเชื่อมโยงไปที่รูปภาพได รูปแบบคําสั่ง <A HREF=URL><IMG SCR=Filename></A>
  • 16. การกําหนดสีตัวอักษรที่ใชเชื่อมโยงขอมูล คําสั่ง <Body Link> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของตัวอักษรกอนที่จะมีการคลิกเพื่อ เชื่อมโยงไปยังขอมูลที่ตองการ ขอความที่ใชในการเชื่อมโยงขอมูลจะมีสีตามที่กําหนดและจะมีการขีดเสนใต ใตตัวอักษร รูปแบบคําสั่ง <Body Link= #Color> คําสั่ง <Body Alink> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของตัวอักษรในขณะที่มีการคลิกเลือก ขอความเพื่อเชื่อมโยงขอมูล โดยขณะที่มีการเลือกคลิกสีของขอมูลที่ใชเชื่อมโยงขอความจะเปลี่ยนสีเปนสีที่ ตองการ รูปแบบคําสั่ง <Body Alink=”#Color”> คําสั่ง <Body Vlink> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับการกําหนดสีของขอความที่ใชเชื่อมโยงขอมูล หลังจากที่ไดคลิกเพื่อเลือกการเชื่อมโยงขอมูลแลว สีของขอความจะเปลี่ยนเปนสีที่ตองการ รูปแบบคําสั่ง <Body Vlink=”#Color”>
  • 17. การสรางลําดับรายการแบบเรียงลําดับขอมูล การสรางลําดับรายการแบบเรียงลําดับ คือ รายการที่ประกอบไปดวยตัวอักษรหรือตัวเลขที่มีการเรียงลําดับ ในการแสดงผลปรากฏอยูหนาขอความที่เปนรายการนั้นๆ เปนขอมูลที่มีการอธิบายอยางเปนขั้นตอน โดย การลําดับรายการรูปแบบนี้จะใชตัวเลขหรือตัวอักษรเปนเครื่องหมายในการลําดับรายการ รูปแบบคําสั่ง <OL TYPE=Number_Type Start=Number> <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... การสรางลําดับรายการแบบไมเรียงลําดับขอมูล การสรางลําดับรายการแบบไมเรียงลําดับขอมูล คือ รายการที่ประกอบไปดวยสัญลักษณตาง ๆ วางไวขาง หนาขอความ หรือรูปภาพที่เปนรายการ สัญลักษณที่มักนิยมใชก็มีรูปสี่เหลี่ยมทึบ รูปวงกลมทึบ หรือ รูปวงกลมกลวง รูปแบบคําสั่ง <UL TYPE=Bullet_Type> <LH>…หัวขอ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ...
  • 18. การสรางลําดับรายการแบบรายการคําศัพท การสรางลําดับรายการแบบรายการคําศัพท ประกอบไปดวย หัวขอใหญ หัวขอยอย และรายละเอียด โดยจะใชการยอหนาเขาไปเรื่อยๆ เพื่ออธิบายหัวขอยอย การแสดงรายการโดยวิธินี้เหมาะสําหรับขอมูลที่ ตองการการอธิบายรายละเอียด รูปแบบคําสั่ง <DL> <DT> Definition term1 <DD> Definition1 <DT> Definition term 2 <DD> Definition2 การสรางลําดับรายการที่สัมพันธกันทั้งเอกสาร การนําเสนอการลําดับรายการขอมูลในรูปแบบนี้ จะจัดอยูในประเภทของการลําดับรายการแบบไม เรียงลําดับ แตจะมีความกะทัดรัดกวาคําสั่งนี้จะแสดงรายการแบบไมมีตัวเลขโดยมีจุดวงกลมทึบเปน เครื่องหมายนํา รูปแบบคําสั่ง <MENU> <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ...
  • 19. การแสดงลําดับรายการยอย เปนการลําดับรายการที่มีไมเกิน 20 ตัวอักษร จึงเหมาะกับการแสดงรายการของขอมูลที่มีการแสดงขอมูลเปนคอลัมน รูปแบบคําสั่ง <DIR> <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... </DIR> การลําดับรายการหลายรูปแบบ เปนการเอาหลายๆรายการมารวมกัน จึงตองมีการจัดความสําคัญของขอมูลโดยแยกรายการเปนหมวดหมู รูปแบบคําสั่ง <OL TYPE=Number_Type Start=Number> <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... <UL TYPE=Bullet_Type> <LH>…หัวขอ... <LI>…รายการ... <LI>…รายการ... </UL> <LI>…รายการ... </OL>
  • 20. การสรางกรอบใหตาราง คําสั่ง <TABLE BORDER> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความหนาของเสนขอบของตาราง รูปแบบคําสั่ง <TABLE BORDER=Pixel> การกําหนดตําแหนงของตาราง คําสั่ง <TABLE ALIGN> กําหนดการวางตารางลงในเว็บ รูปแบบคําสั่ง <TABLE ALIGN=Position> การกําหนดสีใหกับตาราง คําสั่ง <TABLE BGCOLOR> กําหนดสีพื้นหลัง รูปแบบคําสั่ง <TABLE BGCOLOR=ColorName> คําสั่ง <TABLE BORDERCOLOR> กําหนดใหกับขอบตาราง รูปแบบคําสั่ง <TABLE BORDERCOLOR=ColorName> การกําหนดขนาดของตาราง คําสั่ง <TABLE WIDTH> กําหนดความกวางของตาราง รูปแบบคําสั่ง <TABLE WIDTH=Pixel> <TABLE WIDTH=Number> คําสั่ง <TABLE HEIGHT> กําหนดความสูงของตาราง รูแบบคําสั่ง <TABLE HEIGHT=Pixel> <TABLE HEIGHT=Number>
  • 21. การกําหนดระยะหาง คําสั่ง <TABLE CELLSPACING> ระยะหางระหวางขอบนอกของเซลลแตละเซลลในตาราง รูปแบบคําสั่ง <TABLE CELLSPACING=Number> คําสั่ง <TABLE CELLPADDING> ระยะหางระหวางขอความหรือรูปภาพภายในเซลล รูปแบบคําสั่ง <TABLE CELLPADDING=Number> การกําหนดตําแหนงของชื่อตาราง คําสั่ง <CAPTION ALIGN> กําหนดตําแหนงชื่อตาราง รูปแบบคําสั่ง <CAPTION ALIGN=Position>…ชื่อตาราง...</CAPTION> การกําหนดตําแหนงขอมูลในแถว คําสั่ง <TR ALIGN> วางตําแหนงแนวนอนทั้งแถว รูปแบบคําสั่ง <TR ALIGN=Position> คําสั่ง <TR VALIGN> วางตําแหนงในแนวตั้งทั้งแถว รูปแบบคําสั่ง <TR VALIGN=Position>
  • 22. การกําหนดตําแหนงขอมูลในเซลล คําสั่ง <TD ALIGN> วางขอมูลในแนวนอน รูปแบบคําสั่ง <TD ALIGN=Position> คําสั่ง <TD VALIGN> วางขอมูลในแนวตั้ง รูปแบบคําสั่ง <TD VALIGN=Position> การกําหนดสีใหกับเซลล คําสั่ง <TD BGCOLOR>กําหนดสีพื้นหลังในเซลล รูปแบบคําสั่ง <TD BGCOLOR=ColorName> <TD BGCOLOR= #Color> คําสั่ง <TD BORDERCOLOR> กําหนดสีเสนขอบใหกับเซลล รูปแบบคําสั่ง <TD BORDERCOLOR=ColorName> <TD BORDERCOLOR= #Color>
  • 23. การกําหนดขนาดของเซลล คําสั่ง <TD WIDTH> กําหนดความกวางของเซลล รูปแบบคําสั่ง <TD WIDTH=Pixel> <TD WIDTH=Number. คําสั่ง <TD HEIGHT> กําหนดความสูงของเซลล รูปแบบคําสั่ง <TD HEIGHT=Pixel> <TD HEIGHT=Number> การรวมแถวและคอลัมนในตาราง คําสั่ง <TD COLSPAN> กําหนดเปนคอลัมนเดียวกัน รูปแบบคําสั่ง <TD COLSPAN=Number> คําสั่ง <TD ROWSPAN> กําหนดเปนแถวเดียวกัน รูปแบบคําสั่ง <TD ROWSPAN=Number> การใชคําสั่งในการสรางแบบฟอรม คําสั่ง <FORM METHOD> ใชสําหรับกําหนดรูปแบบของการสงขอมูลเพื่อไปประมวลผลที่เซิรฟเวอร รูปแบบคําสั่ง <FORM METHOD=Method ACTION=URL>…แบบฟอรม ...</FORM>
  • 24. การกําหนดรูปแบบฟอรม คําสั่ง <INPUT NAME> เปนคําสั่งที่ไวกําหนดชื่อใหกับขอมูลหรือหัวขอของขอมูลที่รับเขา มา รูปแบบคําสั่ง <INPUT NAME=Name> คําสั่ง <INPUT SIZE> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความยาวของชองที่ใชรับขอมูล รูปแบบคําสั่ง <INPUT SIZE=Number> คําสั่ง <INPUT MAXLENGTH> เปนคําสั่งที่ใชกําหนดความยาวสูงสุดของขอมูลที่จะ กรอกลงในชองที่สรางไว รูปแบบคําสั่ง <INPUT MAXLENGTH=Number> คําสั่ง <INPUT VALUE> เปนคําสั่งที่กําหนดขอความใหแกชองรับขอมูลที่ตองการแสดงผล ในแบบฟอรม รูปแบบคําสั่ง <INPUT VALUE=Message>
  • 25. การใชคําสั่งในการสรางแบบฟอรม TEXT เปนแบบฟอรมที่ใชแสดงผลขอมูลที่รับเขามา โดยแสดงผลแบบบรรทัดเดียว รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Text NAME=Name1 SIZE=Number1 MAXLENGTH=Number2 VALUE=Message> PASSWORD เปนแบบฟอรมที่กําหนดชองรับขอมูลเปนแบบกลองขอความเหมือนกับแบบฟอรม TEXT แตอันจะแตกตางกวา คือ ตัวเลขจะปอนลงในกลองขอความไมแสดงเปนตัวอักษร รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Password NAME=Name1 SIZE=Number1 MAXLENGTH=Number2> RADIO เปนแบบฟอรมที่ใชรับขอมูลคลิกเลือกจากเครื่องหมายวงกลม รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Radio NAME=Name1 VALUE=”Name2”CHECKED> CHECKBOX เปนแบบฟอรมที่ใชรับขอมูลคลิกเลือกจากเครื่องหมายสี่เหลี่ยม รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Checkbox NAME=Name1 VALUE=”Name2”> RESET เปนคําสั่งที่ใชในการยกเลิกขอมูลที่กรอกลง แลวตองการลบ รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Reset VALUE=Message> SUBMIT เปนคําสั่งที่ใชกําหนดรับขอมูลกรอกแลวก็กดปุม Submit แลวจะประมวลผล รูปแบบคําสั่ง <INPUT TYPE=Submit VALUE=Message>
  • 26. การสรางรูปแบบการนําเขาขอมูล คําสั่ง <SELECE> เปนคําสั่งที่แสดงตัวเลือกเพื่อใหผูใชเลือก ซึ่งจะแสดงผลสําหรับสรางขอมูลแบบ Drop Down List คือ มีรายการตัวเลือกปรากฏออกมาเพียงตัวเลือกเดียวแตสามารถที่จะเลือกดูตัวอื่น ๆ ไดโดยการคลิกที่ปุมลูกศรเลื่อนลงขอมูลทั้งหมดจะถูกแสดงออกมา รูปแบบคําสั่ง <SELECE Attribute=Value> <OPTION>Item1 <OPTION>Item2 <OPTION>Item3 </SELECE> คําสั่ง <TEXTTAREA> เปนคําสั่งที่ใชสําหรับกําหนดรูปแบบการปอนขอมูลแบบอิสระ หรือเปน การกําหนดรูปแบบชองรับขอมูลแบบหลายบรรทัด ซึ่งอาจจะเปนความเห็น คําแนะนํา คําอธิบายตาง ๆ หรือการปอนที่อยู รูปแบบคําสั่ง <TEXTTAREA Attribute=Value>…ขอความ...</TEXTTAREA>
  • 27. การนําขอมูลลงแสดงในระบบโดยอัตโนมัติ วิธีการนําขอมูลลงแสดงโดยอัตโนมัติ จะชวยอํานวยความสะดวกใหทั้งผูใหบริการ ขอมูลและตัวคุณเอง และเปนสิ่งสําคัญมากตอเอกสารที่มีการเปลี่ยนแปลงบอย รวมถึงเอกสารที่ ผูใหบริการขอมูลสามารถเตรียมใหอยูในรูปแบบที่นํามาแสดงในระบบ CWIS ไดงาย อยางไรก็ตามไมควรเปดใหผูใหบริการขอมูลสามารถเขาถึงระบบไฟลของเซิรฟเวอรโดยตรง เพราะจะทําใหเกิดความผิดพลาดไดงาย และบางครั้งก็กอใหเกิดผลเสียรายแรงคุณควรออกแบบ ใหมีที่พักขอมูลหรือเอกสารทั้งหมดไวชั่วคราว จากนั้นมีโปรแกรมที่จะนําเอาเอกสารไปไวในที่ ที่ถูกตองอีกครั้งหนึ่ง หลักการดังกลาวสามารถทําไดหลายวิธี วิธีที่ใชกันทั่วไปในการนําขอมูลมาลงแสดงในระบบแบบอัตโนมัติก็คือการ เตรียมเนื้อที่สําหรับใหผูใหบริการขอมูลเอฟทีพีเอาเอกสารมาใสไวได คุณจะตองใหหมายเลข ประจําตัวกับเอกสารทุกเอกสารที่นํามาแสดงในระบบ เมื่อผูใหบริการขอมูลสงเอกสารที่มีการ ปรับปรุงใหมเขามา โปรแกรมที่คอยตรวจสอบที่พักขอมูล (เชนโปรแกรม cron ในกรณีที่ เซิรฟเวอรของคุณใชระบบยูนิกซ) ก็จะนําเอกสารนั้นไปใสไวในที่ที่ถูกตองเอง เครื่องมืออยาง หนึ่งที่มักใชในการสรางเทคนิคเหลานี้คือภาษา Perl
  • 28. ทางเลือกอีกวิธีหนึ่งคือการรับเอกสารจากผูใหบริการขอมูลผานอีเมลล เนื่องจากผู ใหบริการบางคนคนคุนเคยกับการสงอีเมลลมากกวา วิธีนี้ก็สามารถใชภาษา Perl ชวย เขียนไดเชนกัน หรือจะใชเครื่องมือพับบลิกโดเมนบางตัวเชนโปรแกรมที่มีชื่อวา deliver โปรแกรมนี้จะคอยตรวจขอความที่อยูในสวนหัวของอีเมลล เมื่อพบอีเมลลที่ เปนการสงเอกสารมาลงแสดงในระบบ deliver ก็จะตัดเอาเฉพาะสวนที่เปรเอกสาร ออกจากตัวอีเมลลและทํางานตามขั้นตอนที่คุณกําหนดไวตอไป เมื่อไดรับเอกสารจากผูใหบริการขอมูลแลว คุณควรจะสงอีเมลลไปบอก ผูใหบริการขอมูลนั้นวาคุณไดรับขอมูลแลว ซึ่งจะทําใหผูใหบริการขอมูลทราบวา เอกสารของเขาจะไดลงแสดงในระบบเร็วๆนี้ การสงอีเมลลตอบรับนี้จําเปนอยางยิ่งถา คุณใชอเี มลลในการสงขอมูลลงแสดงแบบอัตโนมัติ เพราะวาการใชอเี มลลในการสง ขอมูลลงแสดงนั้นสามารถสวมรอยสงแทนผูไมหวังดีได ดั้งนั้นถาระบบของคุณมีการสง อีเมลลตอบกลับไปยังเจาของที่แทจริงของเอกสาร และมีการเวนชวงเวลากอนที่จะนํา เอกสารลงแสดงจริงในระบบ คุณก็มีโอกาสยับยั้งการแสดงเอกสารปลอมไดทัน โปรแกรม deliver เปนโปรแกรมหนึ่งก็มีความสามารถในการสงอีเมลตอบรับแบบ อัตโนมัติ
  • 29. เครื่องมือประเทเดียวกับ Deliver สามารถหาไดตามanonymous FTP ทั่วไป โดยใชอารชีคนหาโฮสตที่ใกลที่สุดทีมีโปรแกรมนี้ คุณยังสามารถคนหาเครื่องมือประเภท เดียวกันไดจากแหลงเก็บไฟลที่ใชระบบ CWIS แบบเดียวกับที่คุณใช เชนถาคุณใชโก เฟอรสราง CWIS คุณสามารถคนหาเครื่องมือชวยในการบริหารระบบ CWIS ของ คุณไดจาก boombox.micro.umm.edu โดยคนหาในไดเรกเทอรี /pub/gopher/Unix/GopherTools ถาในสถาบันของคุณมีการใชระบบไฟลผานเครือขาย (network file system) คุณจะสามารถใชระบบไฟลนี้ชวยในการสงขอมูลลงแสดงในระบบ CIWS ของคุณได ตัวอยางเชนที่มหาวิทยาลัยนอทเธอดัมไดนําระบบไฟลผานเครือขาย ที่มีชื่อวาระบบไฟลแอนดรูวมาใช ผูใหบริการขอมูลที่ตองการสงขอมูลที่ตองการสงขอมูล  ลงแสดงในระบบ ของมหาวิทยาลัยจะสามารถเก็บขอมูลลงในไดเรกทอรีที่มีชื่อ ของแตละ คนได ระบบปองกันของ AFS จะกันผูไมใหบริการขอมูลสงขอมูลไปยังสวนอื่นนอกจากที่ กําหนดไว ที่นี่มีการใชระบบการรับขอมูลผานอีเมลลรวมดวย
  • 30. ถึงแมวาการใชวิธีอัตโนมัติตางๆจะชวยในการบริหารระบบ CWIS ไดมาก แตก็ เปนสัจจะธรรมที่วาไมมีระบบอัตโนมัติใดที่จะทํางานไดอยางไมมีปญหาในทุกกรณี  คุณจะตองทําการตรวจสอบการสงขอมูลลงแสดงในระบบเปนระยะๆ เพื่อใหมั่นใจวา โปรแกรมตางๆที่ทํางานแบบอัตโนมัติอยูนั้นทําหนาที่ไดถูกตอง บางครั้งโปรแกรม เหลานี้ก็ตองการปรับแตงและซอมแซมบาง ถาคุณใชระบบ CWIS ที่มีขายกันอยู บางระบบเชน VTX ก็จะไมตองการการเขียนโปรแกรมเพิ่มความสามารถของระบบ มากนัก และในอนาคตเราอาจจะสามารถหาซื้อระบบโกเฟอรเว็บเซิรฟเวอรที่มี ความสามารถในดานการจัดการฐานขอมูลของ CWIS เพิ่มขึ้น
  • 31. การใช CWIS ในการเก็บขอมูลยอนหลัง ในแตละวันที่คุณเพิ่มเอกสารใหมเขาไปในระบบ CWIS จะเปรียบเสมือนคุณ ไดเห็นการเปลี่ยนแปลงแตละเสี้ยวในหนาประวัติศาสตรของสถาบัน การนําเสนอ เอกสารในรูปแบบออนไลนจะทําใหงายในการจัดเก็บเอกสารเหลานี้ยอนหลัง แหลงเก็บ ขอมูลเหลานี้สามารถทําเปนบันท฿กประวัติศาสตรที่สามรถเรียกคนแบบออนไลนได ดวย
  • 32. ตัวอยางการนําเอาแหลงเก็บขอมูลยอนไปใชงานมีดังนี้ - หนังสือพิมพนิสิตอาจเปนที่ที่เดียวที่มีการบันทึกวิธีชีวิตในสถาบันเอาไว บางครั้งก็ เปนการบนในเรื่องคุณภาพของรายงานหรือเอกสารทางวิชาการที่นักศึกษาผลิตขึ้นการเก็บ เรื่องราวตางๆนี้ไวถึงแมเปนเรื่องเล็กนอยก็ดีกวาไมมีการเก็บบันทึกอะไรเลย - ทํานองเดียวกัน จดหมายขาวของคณะ ก็จะเก็บรวมรวมเหตุการณที่เกิดขึ้น การ เปลี่ยนแปลงในนโยบายและผลที่ตามมา - ปฏิทินกิจกรรมอาจจะลาสมัยไปเมื่อหมดชวงเวลาของกิจกรรมเหลานั้น แต เหตุการณการที่ผานไปแลวบางครั้งก็มีประมากอยางนึกไมถึง เชนการบันทึกวามีศิลปนใด ไดเคยมาแสดงในสถาบันมาแลวก็สามารถใชในการประชาสัมพันธไดเปนอยางดี - หลักสูตรการศึกษาเกาๆที่เคยใชในสถาบันจะเปนประโยชนอยางยิ่งกับผูที่ใชเวลา ศึกษานาน ผูที่ทํางานไปศึกษาไปดวย หรือคณะกรรมการหลักสูตรที่กําลังออกแบบ หลักสูตรใหม เนื่องจากปจจุบันฮาดรดิสกมีราคาถูกมาก ถาสงสัยวาควรจะเก็บขอมูลหรือไมให ตัดสินใจเก็บไวกอนเมื่อพบวาเก็บไวไมมีประโยชนก็สามารถลบทิ้งได ซึ่งจะงายกวาการ พยายามสรางขอมูลกลับขึ้นมาใหมเมื่อรูภายหลังวาขอมูลที่ลบไปนั้นเปนประโยชน
  • 33. เมลลิ่งลิสตที่เกี่ยวกับระบบ CWIS เมลลิ่งลิสตที่มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารระบบ CWIS ที่เปนที่นิยมมากคือเมลลิ่งลิสตทีมีชื่อวา CWIS-L ที่มหาวิทยาลัย มิชิแกนสเตท การบอกรับเปนสมาชิกทําไดโดยการสงเมลลไปยัง listserv@mus.edu โดยขอความขอเปนสมากชิกในรูปแบบตอไปนี้ Subscribe cwis-l John Doe คุณอาจจะพบวาการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารระบบ CWIS ที่ มีทากอนหนานี้ก็เปนประโย๙นเชนกัน ผูบริหารระบบ CWIS สวนใหญจะทํา การขอดัชนีเรื่องที่มีการพูดคุยไปแลวโดยการสงอีเมลลขางลางนไปที่ listserv@mus.edu Index cwis-l
  • 34. ชนิดของขอมูลที่จะใหบริการ ตัวอยางการจัดหมวดหมูของขอมูลที่ควรมีใน CWIS มีดังนี้ - General Information about the university (ขอมูลทั่วไป เกี่ยวกับมหาลัย) ประวัติโยยอ ภาพถายสถานที่ แผนที่บริเวณภายใน ระเบียบการจอด รถ สถานที่สําคัญ และตําแหนงโรงอาหาร - Academics (การศึกษา) ปฏิทินการศึกษา วิธีการสมัคร แนะแนวการศึกษา การยกเลิกรายวิชา วิชาพิเศษ การศึกษาภาคค่ํา การลงทะเบียนแบบออนไลน - Housing (ที่พัก) รายละเอียดหอพักและที่พักใกลกับสถานบัน - Alumni information (สมาคมนิสิตเกา) วิธีสมัครเปนสมาชิก กิจกรรมของ สมาคม - Health (สุขภาพ) สถานที่ออกกําลังกาย สถานพยาบาล การใหคําปรึกษาดาน สุขภาพประชาสัมพันธเกี่ยวกับสุขภาพ และระเบียบการรักษาความปลอดภัยดานเคมี รังสี และชววิทยา
  • 35. - Employment (ประกาศรับสมัคร) อาจารย พนักงาน นักศึกษา - Libraries (หองสมุด) เวลาทําการ ตําแหนงของหองสมุด วิธีเขาใชหองสมุด ออนไลน และการเขาคนฐานขอมูลการวิจัยและการใชอเี มลลในการยืมหนังสือขาม หองสมุด - Campus computing information (บริการประมวลผล) บริการที่มี วิธีใชบริการอีเมลลสําหรับอาจารย นักศึกษาและเจาหนาที่ และการขอ บัญชีเขาใชเครื่อง - People directories (สมุดรายชื่อ) อาจารย นักศึกษาและเจาหนาที่ และชื่ออีเมลล - University ordinances (ระเบียบ) กฎ ระเบียบ นโยบาย - Handicapper information (ขอมูลสําหรับผูทุพลภาพ) สิ่งอํานวย ความสะดวกของผูทุพลภาพ - Transportation (การเดินทาง) หมายเลขรถประจําทาง รถนักศึกษา การ เดินทางมาจากเมืองอื่น
  • 36. - Events (กิจกรรม) การสัมมนา การละเลน ละคร ภาพยนตร ดนตรี โดยเรียงตามวัน หรือประเภทกิจกรรม - Weather (พยากรณอากาศ) และตัวชี้ไปยังการพยากรณของเมืองอื่น - Classified advertisement services (บริการซื้อ) รายการสิ้นคา ใบสั่ง ซื้อแบบออนไลน - Town/ gown relations (ขาวสังคม) - Outreach programs (บริการศึกษาเพิ่มเติม) -Computer resources (ทรัพยากรบนคอมพิวเตอร) ตัวชี้ไปยังทรัพยากรขอมูลอื่ นบนอินเตอรเน็ต รายการขางตนไมไดรวบรวมเอาขอมูลที่ควรมีทั้งหมดที่เปนไปได คุณควรลองใช CWIS ระบบอื่นเพื่อหาหัวขออื่นที่นาสนใจ
  • 37. ความปลอดภัย ในสถานการณที่ปริมาฯของเอสารที่มีการสงวนลิขสิทธิและเอกสารที่มีตองมีใบอนุญาต กอนนําไปใชงานมีเพิ่มมากขึ้นๆในเครือขาย การนําทรัพยากรเหลานี้ไปใชงานไมสามารถทําได เพียงการเพิ่มตัวชี้เพื่อชี้ไปยังเอกสารผานระบบ CWIS แตตองเขาใจสิทธิการใชงานที่ระบุ ไวในใบอนุญาตวามีขอบเขตแคไหน บางครั้งทรัพยากรหนึ่งๆก็จํากัดใหเผยแพรไดทั้งสถาบัน บางกรณีก็ยอมใหเผยแพรไดเฉพาะในภาควิชานั้น ถาทรัพยยากรนั้นอยูในรูปของสิ่งของเชน แผนซีดีรอมก็อาจจํากัดวาใหนําไปใชไดกับเครื่องคอมพิวเตอรที่มผูใชเพียงคนเดียวและไมได ี เชื่อมตอเขากับเครือขาย ในฐานะที่เปนผูบริหารระบบCWIS คุณจะตองตรวจสอบกับผูใหบริการ ขอมูลใหแนนอนวาทรัพยากรทุกอันที่สามารถเขาถึงไดจากระบบ CWIS ตองไดรับอนุญาต ใหทําการเผยแพรไดทั่วสถาบันหรือทั่วโลก
  • 38. โปรแกรมระบบCWIS หลายโปรแกรมที่มีความสารถในการกําหนด หมายเลขไอพีของเครื่องที่จะไมยอมใหเขาใชระบบ ซึ่งการกําหนดอาจจะมีผลตอ เอกสารทั้งระบบหรืออาจจะกําหนดแยกตามแฟมเก็บเอกสารก็ได คุณสมบัติแบบนี้ ทําใหสามารถจํากัดความเขาถึงขอมูลของระบบ CWIS ใหเกิดจากเครื่องที่อยู ภายในสถาบันเทานั้น ถาเจาของทรัพยากรไมอนุญาตใหมีการเชื่อมตอผาน สายโทรศัพทได คุณก็ตองระวังไมใหรับการเชื่อมตอเขาใชระบบ CWIS จาก เครื่องที่ยอมใหผูใชทํา anonymous FTP ผานสายโทรศัพท โดย กําหนดใหไมรับการเชื่อมตอจากเครื่องที่มีหมายเลขไอพีเหลานี้
  • 39. ถานโยบายของสถาบันตองการใหทรัพยากรทีใหบริการแบบออนไลนจํากัด ใหบริการอยูภายในสถาบันเทานั้น แหลงขอมูลออนไลนที่ใหบริการอยูกอนแลว มักจะมีการตรวจสอบสิทธิการใชงาน โดยจะถามหมายเลขประจําตัวของนักเรียน หรือเจาหนาที่ การตรวจสอบสิทธิน้ําเปนอยางยิ่งถาแหลงขอมูลนั้นสามารถเขาถึง ระบบ CWIS ไดเนื่องจากถาแหลงขอมูลกันไมใหผูใชภายนอกสถาบันเขาใช ขอมูลโดยการตรวจสอบหมายเลขไอพีเพียงอยางเดียว เมื่อผูใชภายนอกสถาบันเขา ใชระบบ CWIS กอนแลวเลือกเมนูเพื่อผานเขาใชแหลงขอมูลนั้น ผูใชคนนี้ก็ สามารถขาใชแหลงขอมูลไดทันทีเนื่องจากหมายเลขไอพีที่แหลงขอมูลไดเปนของ ระบบ CWIS ของสถาบันเองเหตุการณการทํานองเดียวกันนี้จะเกิดขึ้นไดอีกถา แหลงขอมูลนั้นมีโปรแกรมไคลเอ็นตที่ใชงานผานเทอรมินัลไดและยอมใหผูใชใน อินเทอรเน็ตเขาใช เมื่อผูใชรันโปรแกรมไคลเอ็นตบนเครื่องเดียวกับเครื่องที่ เซิรฟเวอรทํางานอยูก็จะผานการตรวจสอบหมายไอพีเสมอ
  • 40. ชองโวอีชองหนึ่งที่อาจะเปดโอกาสโดยที่ไมไดตั้งใจคือ กรณีที่ระบบ CWIS ของคุณรับการเชื่อมตอจากเซิรฟเวอรอื่นในสถาบันไดและเซิรฟเวอรนั้นสามารถรับ การเชื่อมตอจากภายนอกผานโทรศัพทหรือผานเทลเน็ตดั้งนั้นผูใชภายนอกก็สามารถ ผานใชทรัพยากรที่อนุญาตใหใชเฉพาะภายในสถาบันได ในฐานะที่เปนผูบริหาร ระบบคุณตองประสานงานกับผูบริการเซิรฟเวอรอื่นๆเพื่อแกไขปญหาเหลานั้น
  • 41. ระบบรักษาความปลอดภัยโดยการตรวจสอบหมายเลขไอพีทําใหเกิดชอง โหวไดมากมายอีกตัวอยางหนึ่งของชองโหวที้เกิดขึ้นไดกับระบบ CWIS ที่ใช โกเฟอรเกิดจากที่โกเฟอรสามารถทําหนาที่เปนตัวแทนไคลเอ็นตของบริการเอฟทีพี ได กลาวคือเมื่อผูที่กําลังใชไคลเอ็นตของระบบ CWIS อยูขอใชไฟลผานเอฟที พี โกเฟอรจะสามารถเปดการเชื่อมตอเขากับเอฟทีพีเซิรฟเวอรในนามไคลเอ็นต ของ CWIS ได การกําหนดเมนูใหผูใชเขาถึงเฉพาะไฟลบางไฟลก็จะเกิดปญา หาขึ้น แตถาผูใชมีความรูในเรื่องสตริงตัวเลือกของโกเฟอร เขาก็จะสามารถที่จะ สงสตริง “FTP:” เขามาขอใชไฟลที่มีอยูในเมนูของโกเฟอรได ผูบริการ CWIS จะตองรวมมือกับผูบริหารเอฟทีพีเพื่อแกไขปญาหานี้
  • 42. ถาคุณตัดสินใจที่จะใหมีการรันไคลเฮ็นตบนเซิรฟเวอรของคูณดวย ฏตอง ระวังปญหาเล็กๆนอยๆที่จะเกิดขึ้นในเรื่องความปลอดภัย เชนกรรีไคลฮ็นตข องคุณยอมใหผูใชเขาใชขอมูลผนโปรแกรมเทลเน็ลโดยจําการใชงานไวเฉพาะ ขอมูลนั้น ในบางสถานการณผูใชจะสามารถหนีออกจากขอจํากัดการใชขอมูล และสามารถใชโปรแกรมเทลเน็ตไดอยางอิสระซึ่งหมายความวาผูใชคนนี้ สามารถทะลุเขาทําอันตรายระบบใดๆก็ไดบนอินเทอรเน็ตโปรแกรมที่ชื่อ telnot เปนโปรแกรมเทลเน็ตที่แกไขปญหานี้แลว สามารถหาไดจากแหลง ของมูลเอฟทีพีทั่วไป บนระบบยูนิกซ more ที่ใชในการแสงขอมูลในไฟล
  • 43. การเขาและออกจากอินเตอรเน็ต เมื่อคุณติดตั้งอุปกรณ และซอฟตแวรเรียบรอยแลว คุณก็จะพรอมเขาสู อินเตอรเน็ตเปนครั้งแรก ถาคอมพิวเตอรของคุณไมไดเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตอยาง ถาวร คุณตองโทรศัพทติดตอกับคอมพิวเตอรของผูใหบริการ การเริ่มโทรศัพทติดตอ เปดหนาจอวินโดว ซึ่งบรรจุรายชื่อของสิ่งตาง ที่ผูใหบริการอินเตอรเน็ต จัดเตรียมไวให หนาจอนี้อาจแสดงในรูปเมนู หรือปุมใหกดเลือกเพื่อใหโมเด็มของคุณ เริ่มตอโทรศัพท หากไมใชลักษณะนี้ใหเลือกรายการอื่นๆ เชน เวิลด ไวด เว็บ เพื่อให โมเด็มเริ่มทํางานอัตโนมัติ รหัสผาน อาจมีชองสี่เหลี่ยมเล็กๆ ปรากฏขึ้นบนหนาจอ เพื่อใหคุณปอนรหัสผานที่ ไดรับมาจากผูใหบริการ
  • 44. โมเด็มของคุณ เมื่อคุณเห็นโมเด็มเริ่มทํางาน คุณจะเห็นไฟกระพริบบนโมเด็ม และไดยินเสียง สัญญาณตอโทรศัพท เมื่อตอไดแลวจะไดยินเสียงหวีดยาวๆหรือเสียงซาๆ ถาตอติด เมื่อติดตอแลว จะปรากฏขอความหรือไอคอนบนหนาจอแจงวาตอโทรศัพท สําเร็จแลว ถาตอไมติด การติดตั้งซอฟตแวรใหครบถวนสมบูรณ รวมทั้งการทํางานแบบโมเด็มอาจ ยุงยากกกวาที่เราคิด หากเกิดปญหา อยาลังเลที่จะสอบถามผูใหบริการ ซึ่งจะใหคําแนะนํา แกคุณได แมมั่นใจวาอุปกรรตางๆและซอฟตแวรทํางานเรียบรอยแลว แตยังไมแนวาคุณ จะติดตอเขาสูอินเตอรเน็ตได ทั้งนี้คุณอาจไดรับขอความแจงวาการติดตอโทรศัพทไมสําเร็จ
  • 45. คําเตือน การใชอินเตอรเน็ตบางกรณีจะกําหนดไวดโดยอัตโนมัติวาใหคุณหยุดใช งานหลังจากใชงานเปนระยะเวลาหนึ่งที่แนนอน วิธีนี้ชวยปองกันเสียคาโทรศัพท มากเกินไป แตถาไมไดกําหนด คุณตองระมัดระวังไมใหคอมพิวเตอรของคุณ ติดตอกับอินเตอรเน็ตมากเกินไป การเลิกติดตอ ใหเลือกปุมหรือเมนูเพื่อเลิกการติดตอ
  • 46. จัดทําโดย นาย เจษฎา เขียวฉออน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๖๕ นาย นิติเทพ จันทรสอน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๖๙ นางสาว มินตรา ใจออน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๗๘ นาย วิรัช ยวงใย รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๘๑ นางสาว สุพัชชา เนยสูงเนิน รหัสนักศึกษา ๑๕๒๑๒๑๘๗ นักศึกษาชั้นปที่ ๑ คณะครุศาสตร โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอรศึกษา หมูเรียนที่ ๑