SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ปัจจัยที่ส่งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ า
ศึกษาในโรงเรียนชาญรัตน์ วทยา นนทบุรี
ิ

นางสาวสุ ภา ประสพโชค
รหัส 56106930001
การศึกษาเป็ นหัวใจของการพัฒนาและการแข่งขันของทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง ในยุคปัจจุบนการ
ั
่
่ ั
แข่งขันของประเทศขึ้นอยูกบความรู้ความสามารถของคน มากกว่าจานวนคนและทรัพยากรเช่นในอดี ต ซึ่งใน
การขับเคลื่อนการศึกษาของประเทศ เกี่ยวข้องกับบุคลากรและผูเ้ รี ยน จานวนนักเรี ยนหลายล้านคน ประกอบ
่
กับผลสรุ ปของการศึกษาไทยที่ผานมา คือ ใช้ เวลาเรียนมาก เรียนรู้ได้ น้อย ความเครียด และคุณภาพผู้สาเร็จ
การศึกษาตา ดังนั้น การขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาขกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้การบริ หารงาน
่
่
ของ นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ จึงเน้นย้าให้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบาย
รัฐบาลด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนแนวทางวิธีการทางานให้เหมาะสม และต้องมีบทบาทในการ
สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายด้านอื่นด้วย รวมทั้งมุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่ วมในการดาเนินงานให้
มากขึ้นผูบริ หารต้องให้ความสาคัญ และขับเคลื่อนการทางานอย่างจริ งจัง สาหรับนโยบายที่ผู้บริหารต้ องให้
้
ความสาคัญและขับเคลือนการทางาน
่
ด้วยเหตุผลเหล่านี้ทาให้เกิดการแข่งขันกันของโรงเรี ยนเอกชนมากมาย แม้นมีพรบ.โรงเรี ยนเอกชนเพื่อ
็ั
ใช้ในการควบคุมโรงเรี ยนเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกันแต่กยงไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของ
ผูปกครองได้ท้งหมด เพื่อให้ตรงจุดประสงค์ของนโยบายภาครัฐ และตรงจุดประสงค์นโยบายของโรงเรี ยน
้
ั
เอกชนเอง ทาให้ตองมีการศึกษาเหตุผลของผูปกครองที่มองเห็นว่าโรงเรี ยนจะสามารถตอบสนองความต้องการ
้
้
ในด้านการศึกษาให้แก่บุตรหลานของตนเองได้หรื อไม่ และผูปกครองยังมีความต้องการสิ่ งใดเพื่อเป็ นการ
้
ั
เสริ มสร้างศักยภาพให้แก่บุตรหลานของตน เป็ นการปูพ้ืนฐานให้กบบุตรหลานเพื่อให้ทนกับสถานการณ์การ
ั
เข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่จะมาถึงในอนาคตอันใกล้น้ ี
จากสภาพการณ์ ดงกล่าว การจัดการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษาจาเป็ นต้ องตอบสนองแก่นักเรียนให้ มาก
ั
ที่สุดและสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ ใชีวตประจาวัน และสามารถนาไปประกอบ
ิ
อาชีพในอนาคตได้ โรงเรียนเอกชนเป็ นสถาบันทางการศึกษาที่ให้ บริกาทางการศึกษาขั้นพืนฐานและต้ องการที่จะ
้
พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนให้ ได้ ดมีมาตรฐาน ดังนั้นฝ่ ายวิจยและพัฒนาของโรงเรียนจึงควรให้ สนใจศึกษาปัจจัยที่
ี
ั
ส่ งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ าเรียนในโรงเรียเอกชนรวมถึงด้ านนโยบายและแผน สาหรับใช้ เป็ นแนวทางในการ
ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ เกิดผลดีแก่ผู้เรียนและสอดคล้องกับความต้ องการของผู้ปกครอง
ต่ อไป
เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ าศึกษาในโรงเรียน เพื่อจัดการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยน
ชาญรัตน์วิทยา จังหวัดนนทบุรี ป การศึกษา 2556 ให้ตรงกับความต้องการของผูปกครอง คือ ด านวิชาการ ด
้
่
านปกครอง ด านกิจกรรม และด านบริ การ จึงมีการศึกษาทฤษฏีที่วาด้วยความพึงพอใจมากมาย แล้วแต่ผบริ หาร
ู้
จะนาทฤษฏีใดไปใช้ให้สอดคล้องกับองค์การของตนเอง จึงของยกทฤษฏีและบทความต่างๆ มาเพื่อให้ผบริ หารได้
ู้
นาไปศึกษาและใช้ให้ถูกกับองค์การดังนี้
ความพึงพอใจหมายถึง พอใจ ชอบใจ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้า 775) ความพึงพอใจหมายถึงความรูที่มี
้
ความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รบความสาเร็จ หรือได้รบสิ่งที่ตองการ (Quirk, 1987)
ั
ั
้
ความพึงพอใจหมายถึงความรูสึกที่ดีเมื่อประสบความสาเร็จ หรือไต้รบสิ่งที่ ต้องการให้เกิดขึ้ นเป็ ความรูสึกที่
้
ั
้
พอใจ (Hornby, 2000)
โดยสรุปแล้วความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ชอบใจ และมีความสุข ที่ความ ต้องการ หรือเปาหมาย ที่ต้งใจไว้บรรลุผล
้
ั
หรือสมหวังนั้นเอง สาหรับนักเรียนแล้วก็ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ชวยสอนส่วนใหญ่ก็ยอมจะมีความต้อง การหรือความคาดหวัง
่
่
ว่า สื่อความพิวเตอร์ชวยสอนจะสามารถช่วยให้ตวเองสามารถเข้าใจบทเรียนได้ดียง ขึ้ นหรือ ไต้ผลการเรี ยนดีขนนั้นเอง ซึ่ง
่
ั
ิ่
ึ้
สามารถวัดได้จากแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ หรือผลการสอบ
แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ
ความพึงพอใจจากการสรุปของวิรุฬ พรรณเทวี (2542, หน้า 111) หมายถึง ความรูสึกภายในจิตใจของมนุ ษย์ที่ไม่
้
เหมือนกัน ขึ้ นอยูกบแต่ละบุคคลว่าจะคาคหวังกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ งอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและได้รบการ
่ ั
ั
ตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมาก แต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเป็ นอย่างยิงเมื่อไม่ได้รบการ
่
ั
ตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ท้งนี้ ขึ้ นอยูกบสิ่งที่ตนตั้งใจไว้วามีมากหรือ น้อย
ั
่ ั
่
คณิ ต ดวงหัสดี (2537) ได้สรุ ปแนวคิดเกี่ยวกับ
ความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู ้สึกชอบ หรื อพอใจ
ของบุคคลที่มีต่อการทางานและองค์ประกอบหรื อ
สิ่ งจูงใจอื่น ๆ ถ้างานที่ทาหรื อองค์ประกอบเหล่านั้น
ตอบสนองความต้องการของบุคคลได้บุคคลนั้น จะเกิด
ความพึงพอใจในงานขึ้นจะอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจ
รวมทั้งสติปัญญาให้แก่งานของตนให้บรรลุ
วัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ
สิ่ งจูงใจที่ใช้เป็ นเครื่ องมือกระตุนให้บุคคลเกิดความ
้
พึงพอใจจากการศึกษา รวบรวมและสรุ ปของ มีดงนี้
ั
1. สิ่ งจูงใจที่เป็ นวัตถุ (material
inducement) ได้แก่ เงิน สิ่ งของหรื อสภาวะ
ทางกายที่ให้แก่ผประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
ู้
2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition) คือ สิ่ งแวดล้อมในการ
ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญอย่างหนึ่งอันก่อให้เกิดความสุ ขทางกาย
3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่ งต่าง ๆ ที่สนอง ความองการ
ของบุคคล
4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) คือ ความสัมพันธ์ฉนท์มิตรกับ
ั
่
ผูร่วมกิจกรรม อันจะทาให้เกิดความผูกพันความพึงพอใจและสภาพการเป็ นอยูร่วมกัน
้
เป็ นความพึงพอใจของบุคคลในด้านสังคมหรื อความมันคงในสังคม ซึ่ งจะทาให้รู้สึกมี
่
หลักประกันและมีความมันคงในการประกอบกิจกรรม
่
สรุ ป ความพึงพอใจของผูปกครองเป็ นสิ่ งที่ผปกครองคาดหวังว่าจะได้จาก
้
ู้
สถานศึกษา จึงต้องมีการศึกษาถึงเรื่ องการคาดหวังด้วยชิษณุกร พรภาณุวิชญ์
(2540:6) อธิ บายว่า ความคาดหวังหมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น การรับรู้ การ
ตีความ หรื อการคาดการณ์ต่อเหตุการณ์ต่างๆ ที่ยงไม่เกิดขึ้นของบุคคลอื่น ที่
ั
คาดหวังในบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน โดยคาดหวังหรื อต้องการให้บุคคลนั้น
ประพฤติปฏิบติในสิ่ งที่ตนต้องการหรื อคาดหวังเอาไว้
ั
พจนานุกรมออกฟซ์ฟอร์ด (Oxford Advanced Leamer's Dictionary:2000) ได้ให้
ความหมายของความคาดหวัง เป็ นความเชื่อ เป็ นความรู้สึกนึกคิด ของบุคคลที่
คาดการณ์ล่วงหน้า ต่อบางสิ่ งบางอย่างว่า ควรจะเป็ น หรื อควรจะเกิดขึ้น
ความพึงพอใจกับทัศนคติเป็ นคาที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมากจนสามารถใช้
่
แทน กันได้โดยให้คาอธิ บายความหมายของทั้งสองคานี้ วา หมายถึง ผลจากการที่
บุคคลเข้าไปมีส่วนร่ วมในสิ่ งนั้นและทัศนคติดานลบจะแสดงให้เห็น สภาพความ
้
ไม่พึงพอใจ(Vroom, 1990, p. 90)
ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรื อระดับความพึงพอใจซึ่ งเป็ นผลมาจาก
ความสนใจต่างๆและทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่ งนั้น(Good, 1973,p.320)แนวคิดความ
่
พึงพอใจที่กล่าวมาข้างด้น สรุ ปได้วา ความพึงพอใจ (satisfaction) เป็ นทัศนคติที่
เป็ นนามธรรม เกี่ยวกับจิตใจ อารมณ์ ความรู ้สึกที่บุคคลมีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง ไม่
สามารถมองเห็นรู ปร่ างได้ นอกจากนี้ความพึงพอใจเป็ นความรู ้สึกด้านบวกของ
บุคคล ที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง อาจจะเกิดขึ้นจากความคาดหวัง หรื อเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่ ง
นั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคลได้ซ่ ึ งความพึงพอใจที่เกิดขึ้น
สามารถเปลี่ยน แปลงได้ตามค่านิยมและประสบการณ์ของตัวบุคคล
..ครอบครัวของฉันเอง..

More Related Content

Similar to บทความ

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาAudchara Maneekrod
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีPayped คิคิ
 

Similar to บทความ (10)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 

บทความ

  • 1. ปัจจัยที่ส่งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ า ศึกษาในโรงเรียนชาญรัตน์ วทยา นนทบุรี ิ นางสาวสุ ภา ประสพโชค รหัส 56106930001
  • 2. การศึกษาเป็ นหัวใจของการพัฒนาและการแข่งขันของทุกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิง ในยุคปัจจุบนการ ั ่ ่ ั แข่งขันของประเทศขึ้นอยูกบความรู้ความสามารถของคน มากกว่าจานวนคนและทรัพยากรเช่นในอดี ต ซึ่งใน การขับเคลื่อนการศึกษาของประเทศ เกี่ยวข้องกับบุคลากรและผูเ้ รี ยน จานวนนักเรี ยนหลายล้านคน ประกอบ ่ กับผลสรุ ปของการศึกษาไทยที่ผานมา คือ ใช้ เวลาเรียนมาก เรียนรู้ได้ น้อย ความเครียด และคุณภาพผู้สาเร็จ การศึกษาตา ดังนั้น การขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลด้านการศึกษาขกระทรวงศึกษาธิการ ภายใต้การบริ หารงาน ่ ่ ของ นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา รัฐมนตรี วาการกระทรวงศึกษาธิการ จึงเน้นย้าให้ดาเนินการขับเคลื่อนนโยบาย รัฐบาลด้านการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนแนวทางวิธีการทางานให้เหมาะสม และต้องมีบทบาทในการ สนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายด้านอื่นด้วย รวมทั้งมุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่ วมในการดาเนินงานให้ มากขึ้นผูบริ หารต้องให้ความสาคัญ และขับเคลื่อนการทางานอย่างจริ งจัง สาหรับนโยบายที่ผู้บริหารต้ องให้ ้ ความสาคัญและขับเคลือนการทางาน ่ ด้วยเหตุผลเหล่านี้ทาให้เกิดการแข่งขันกันของโรงเรี ยนเอกชนมากมาย แม้นมีพรบ.โรงเรี ยนเอกชนเพื่อ ็ั ใช้ในการควบคุมโรงเรี ยนเอกชนให้ไปในทิศทางเดียวกันแต่กยงไม่สามารถตอบโจทย์ความต้องการของ ผูปกครองได้ท้งหมด เพื่อให้ตรงจุดประสงค์ของนโยบายภาครัฐ และตรงจุดประสงค์นโยบายของโรงเรี ยน ้ ั เอกชนเอง ทาให้ตองมีการศึกษาเหตุผลของผูปกครองที่มองเห็นว่าโรงเรี ยนจะสามารถตอบสนองความต้องการ ้ ้ ในด้านการศึกษาให้แก่บุตรหลานของตนเองได้หรื อไม่ และผูปกครองยังมีความต้องการสิ่ งใดเพื่อเป็ นการ ้ ั เสริ มสร้างศักยภาพให้แก่บุตรหลานของตน เป็ นการปูพ้ืนฐานให้กบบุตรหลานเพื่อให้ทนกับสถานการณ์การ ั เข้าสู่ประชาคมอาเซียนที่จะมาถึงในอนาคตอันใกล้น้ ี
  • 3. จากสภาพการณ์ ดงกล่าว การจัดการศึกษาในยุคปฏิรูปการศึกษาจาเป็ นต้ องตอบสนองแก่นักเรียนให้ มาก ั ที่สุดและสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียน ให้ ผู้เรียนสามารถนาความรู้ไปใช้ ใชีวตประจาวัน และสามารถนาไปประกอบ ิ อาชีพในอนาคตได้ โรงเรียนเอกชนเป็ นสถาบันทางการศึกษาที่ให้ บริกาทางการศึกษาขั้นพืนฐานและต้ องการที่จะ ้ พัฒนาคุณภาพของโรงเรียนให้ ได้ ดมีมาตรฐาน ดังนั้นฝ่ ายวิจยและพัฒนาของโรงเรียนจึงควรให้ สนใจศึกษาปัจจัยที่ ี ั ส่ งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ าเรียนในโรงเรียเอกชนรวมถึงด้ านนโยบายและแผน สาหรับใช้ เป็ นแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ เกิดผลดีแก่ผู้เรียนและสอดคล้องกับความต้ องการของผู้ปกครอง ต่ อไป เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลให้ ผู้ปกครองส่ งบุตรหลานเข้ าศึกษาในโรงเรียน เพื่อจัดการเรี ยนการสอนของโรงเรี ยน ชาญรัตน์วิทยา จังหวัดนนทบุรี ป การศึกษา 2556 ให้ตรงกับความต้องการของผูปกครอง คือ ด านวิชาการ ด ้ ่ านปกครอง ด านกิจกรรม และด านบริ การ จึงมีการศึกษาทฤษฏีที่วาด้วยความพึงพอใจมากมาย แล้วแต่ผบริ หาร ู้ จะนาทฤษฏีใดไปใช้ให้สอดคล้องกับองค์การของตนเอง จึงของยกทฤษฏีและบทความต่างๆ มาเพื่อให้ผบริ หารได้ ู้ นาไปศึกษาและใช้ให้ถูกกับองค์การดังนี้
  • 4. ความพึงพอใจหมายถึง พอใจ ชอบใจ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2542, หน้า 775) ความพึงพอใจหมายถึงความรูที่มี ้ ความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รบความสาเร็จ หรือได้รบสิ่งที่ตองการ (Quirk, 1987) ั ั ้ ความพึงพอใจหมายถึงความรูสึกที่ดีเมื่อประสบความสาเร็จ หรือไต้รบสิ่งที่ ต้องการให้เกิดขึ้ นเป็ ความรูสึกที่ ้ ั ้ พอใจ (Hornby, 2000) โดยสรุปแล้วความพึงพอใจ หมายถึง ความพอใจ ชอบใจ และมีความสุข ที่ความ ต้องการ หรือเปาหมาย ที่ต้งใจไว้บรรลุผล ้ ั หรือสมหวังนั้นเอง สาหรับนักเรียนแล้วก็ใช้สื่อคอมพิวเตอร์ชวยสอนส่วนใหญ่ก็ยอมจะมีความต้อง การหรือความคาดหวัง ่ ่ ว่า สื่อความพิวเตอร์ชวยสอนจะสามารถช่วยให้ตวเองสามารถเข้าใจบทเรียนได้ดียง ขึ้ นหรือ ไต้ผลการเรี ยนดีขนนั้นเอง ซึ่ง ่ ั ิ่ ึ้ สามารถวัดได้จากแบบสอบถามวัดระดับความพึงพอใจ หรือผลการสอบ แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ ความพึงพอใจจากการสรุปของวิรุฬ พรรณเทวี (2542, หน้า 111) หมายถึง ความรูสึกภายในจิตใจของมนุ ษย์ที่ไม่ ้ เหมือนกัน ขึ้ นอยูกบแต่ละบุคคลว่าจะคาคหวังกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ งอย่างไร ถ้าคาดหวังหรือมีความตั้งใจมากและได้รบการ ่ ั ั ตอบสนองด้วยดีจะมีความพึงพอใจมาก แต่ในทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเป็ นอย่างยิงเมื่อไม่ได้รบการ ่ ั ตอบสนองตามที่คาดหวังไว้ท้งนี้ ขึ้ นอยูกบสิ่งที่ตนตั้งใจไว้วามีมากหรือ น้อย ั ่ ั ่
  • 5.
  • 6. คณิ ต ดวงหัสดี (2537) ได้สรุ ปแนวคิดเกี่ยวกับ ความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู ้สึกชอบ หรื อพอใจ ของบุคคลที่มีต่อการทางานและองค์ประกอบหรื อ สิ่ งจูงใจอื่น ๆ ถ้างานที่ทาหรื อองค์ประกอบเหล่านั้น ตอบสนองความต้องการของบุคคลได้บุคคลนั้น จะเกิด ความพึงพอใจในงานขึ้นจะอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจ รวมทั้งสติปัญญาให้แก่งานของตนให้บรรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ สิ่ งจูงใจที่ใช้เป็ นเครื่ องมือกระตุนให้บุคคลเกิดความ ้ พึงพอใจจากการศึกษา รวบรวมและสรุ ปของ มีดงนี้ ั 1. สิ่ งจูงใจที่เป็ นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่ งของหรื อสภาวะ ทางกายที่ให้แก่ผประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ู้
  • 7. 2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition) คือ สิ่ งแวดล้อมในการ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่ งเป็ นสิ่ งสาคัญอย่างหนึ่งอันก่อให้เกิดความสุ ขทางกาย 3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่ งต่าง ๆ ที่สนอง ความองการ ของบุคคล 4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) คือ ความสัมพันธ์ฉนท์มิตรกับ ั ่ ผูร่วมกิจกรรม อันจะทาให้เกิดความผูกพันความพึงพอใจและสภาพการเป็ นอยูร่วมกัน ้ เป็ นความพึงพอใจของบุคคลในด้านสังคมหรื อความมันคงในสังคม ซึ่ งจะทาให้รู้สึกมี ่ หลักประกันและมีความมันคงในการประกอบกิจกรรม ่
  • 8. สรุ ป ความพึงพอใจของผูปกครองเป็ นสิ่ งที่ผปกครองคาดหวังว่าจะได้จาก ้ ู้ สถานศึกษา จึงต้องมีการศึกษาถึงเรื่ องการคาดหวังด้วยชิษณุกร พรภาณุวิชญ์ (2540:6) อธิ บายว่า ความคาดหวังหมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็น การรับรู้ การ ตีความ หรื อการคาดการณ์ต่อเหตุการณ์ต่างๆ ที่ยงไม่เกิดขึ้นของบุคคลอื่น ที่ ั คาดหวังในบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตน โดยคาดหวังหรื อต้องการให้บุคคลนั้น ประพฤติปฏิบติในสิ่ งที่ตนต้องการหรื อคาดหวังเอาไว้ ั พจนานุกรมออกฟซ์ฟอร์ด (Oxford Advanced Leamer's Dictionary:2000) ได้ให้ ความหมายของความคาดหวัง เป็ นความเชื่อ เป็ นความรู้สึกนึกคิด ของบุคคลที่ คาดการณ์ล่วงหน้า ต่อบางสิ่ งบางอย่างว่า ควรจะเป็ น หรื อควรจะเกิดขึ้น
  • 9. ความพึงพอใจกับทัศนคติเป็ นคาที่มีความหมายคล้ายคลึงกันมากจนสามารถใช้ ่ แทน กันได้โดยให้คาอธิ บายความหมายของทั้งสองคานี้ วา หมายถึง ผลจากการที่ บุคคลเข้าไปมีส่วนร่ วมในสิ่ งนั้นและทัศนคติดานลบจะแสดงให้เห็น สภาพความ ้ ไม่พึงพอใจ(Vroom, 1990, p. 90)
  • 10. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรื อระดับความพึงพอใจซึ่ งเป็ นผลมาจาก ความสนใจต่างๆและทัศนคติที่บุคคลมีต่อสิ่ งนั้น(Good, 1973,p.320)แนวคิดความ ่ พึงพอใจที่กล่าวมาข้างด้น สรุ ปได้วา ความพึงพอใจ (satisfaction) เป็ นทัศนคติที่ เป็ นนามธรรม เกี่ยวกับจิตใจ อารมณ์ ความรู ้สึกที่บุคคลมีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง ไม่ สามารถมองเห็นรู ปร่ างได้ นอกจากนี้ความพึงพอใจเป็ นความรู ้สึกด้านบวกของ บุคคล ที่มีต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ ง อาจจะเกิดขึ้นจากความคาดหวัง หรื อเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสิ่ ง นั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการให้แก่บุคคลได้ซ่ ึ งความพึงพอใจที่เกิดขึ้น สามารถเปลี่ยน แปลงได้ตามค่านิยมและประสบการณ์ของตัวบุคคล
  • 11.
  • 12.