SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
โครงการพัฒนาพืนทีโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่นปี 2556
-----------
ความเป็นมา
บทบาทของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร
ปกติแล้ว ยังมีหน้าทีเป็นองค์กรทีให้บริการวิชาการเพือแก้ปัญหาให้กับชุมชนโดยรอบด้วย เนืองจากมีความ
พร้อมของบุคลากรทีมีความรู้ความสามารถในวิชาการเกษตรสาขาต่างๆจํานวนมาก อีกทังเป็นการฝึกฝนให้
นักเรียนนักศึกษาเกิดการพัฒนาเรียนรู้โดยการร่วมทํางานกับภาคประชาชน ทําให้มีประสบการณ์ตรงซึงไม่
สามารถจะเกิดขึนในการเรียนการสอนในห้องเรียน
ปัญหาสําคัญอย่างหนึงของภาคการเกษตรในปัจจุบัน คือ มีการใช้สารเคมีจํานวนมาก เกษตรกรขาด
ความรู้ ความเข้าใจและไม่ระมัดระวังในการใช้ ทําให้มีผลกระทบของสารเคมีต่อเกษตรกรโดยตรง การ
ตกค้างของสารเคมีในผลิตผลทีเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สร้างปัญหาด้านสุขอนามัย เช่น ทําให้เกิดมะเร็ง มี
ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น อากาศ ดิน นํา เป็นต้น นอกจากนีผลกระทบของสารเคมีทีตกค้างใน
ผลผลิตซึงเกินมาตรฐานความปลอดภัยทําให้ไม่สามารถส่งไปจําหน่ายต่างประเทศได้ ทําให้เสียโอกาสและ
รายได้จํานวนมาก จากปัญหาดังกล่าวจึงจําเป็นทีผู้เกียวข้องในภาคส่วนต่างๆต้องหันมาร่วมมือเพือ
แก้ปัญหากับเกษตรกรโดยให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง
มาตรการเพือแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีทีมากเกินความจําเป็นสามารถทําได้ในหลายลักษณะ
ได้แก่
มาตรการเพือสร้างความรู้และความเข้าใจ ได้แก่ การฝึกอบรมเพือให้ความรู้และความเข้าใจใน
เรืองสารเคมีประเภทต่างๆรวม ข้อควรปฏิบัติและข้อควรระวังในการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง
มาตรการเพือลดการใช้สารเคมี โดยการหาทางเลือกทีเหมาะสม เช่น การใช้สารสกัดพืชสมุนไพร
การใช้กับดักกาวเหนียว การใช้ชีวินทรีย์เพือควบคุมศัตรูพืช การควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสาน ( IPM ) การ
ผลิตพืชในโรงเรือน การผลิตพืชแบบไม่ใช้ดิน (hydroponics) เป็นต้น
มาตรการเพือเลิกการใช้สารเคมี ได้แก่ การผลิตพืชแบบอินทรีย์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่นโดยการสนับสนุนของสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา
ได้เล็งเห็นความสําคัญของการทํางานวิจัยและพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนโดยรอบวิทยาลัย จึงได้
ดําเนินงานดังกล่าวขึน
วัตถุประสงค์
1. เพือพัฒนากระบวนการทํางานแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน
2. เพือบริการวิชาการแก้ปัญหาและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรในพืนทีเป้ าหมาย
3. เพือพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ
4. เพือให้นักเรียนนักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน
เป้ าหมาย
1. นักเรียนนักศึกษาของ วษท.ขอนแก่น ได้รับความรู้และประสบการณ์ในการทํางานในพืนทีของ
เกษตรกร ได้แก่ การวางแผน การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลร่วมกับชุมชน
2. เกษตรกรในพืนทีเป้ าหมายได้รับความรู้และนําความรู้ไปแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพจํานวน
ไม่น้อยกว่า 40 ราย
3. สร้างแปลงเรียนรู้เพือแก้ไขปัญหาในชุมชน จํานวน 1 แปลง
ขันตอนและวิธีดําเนินงาน
1. การคัดเลือกพืนทีเป้ าหมาย
1.1 การประสานงานกับหน่วยงานทีเกียวข้อง เช่น สํานักงานเกษตรอําเภอ องค์การบริหาร
ส่วนตําบล กลุ่มเกษตรกรในพืนที
1.2 สํารวจข้อมูลการใช้สารเคมี ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในพืนทีเป้ าหมาย โดย
การประชุมกลุ่มเกษตรกร การใช้แบบสอบถาม เป็นต้น
1.3 การคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบ การสร้างแปลงต้นแบบเพือเป็นแหล่งทดลอง ศึกษา เรียนรู้
ในการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี
2. การสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
2.1 การฝึกอบรมเพือให้ความรู้แก่เกษตรกร
2.2 การศึกษาดูงาน
2.3 การทําแปลงทดสอบเพือลด ละ เลิก การใช้สารเคมี
- เกษตรกรต้นแบบ – แปลงเรียนรู้ในพืนทีของเกษตรกร
- แปลงต้นแบบในวิทยาลัย
2.4 การเก็บข้อมูลแปลงทดสอบ
2.5 การสรุปผลข้อมูลแปลงทดสอบ
2.6 การขยายผลสู่เกษตรกรอืน
3. การติดตามประเมินผล สรุปผลและจัดทํารายงาน
ระยะเวลาดําเนินงาน มิถุนายน – กันยายน 2556
งบประมาณ 60,000 บาท
ผลการดําเนินงาน
1. ประชุมทีมงานเพือแบ่งหน้าทีความรับผิดชอบ
2. เตรียมข้อมูลเพือให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรือง การลด ละ เลิก การใช้สารเคมี
1. ประเภทของสารเคมีในการเกษตร การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
2. ทางเลือกในการลดการใช้สารเคมี
2.1 การใช้กับดักกาวเหนียว
2.2 การใช้สารสกัดสมุนไพร
2.3 การใช้ชีวินทรีย์
2.4 การใช้ระบบ IPM
2.5 การปลูกพืชในโรงเรือน / การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน
3. การเลิกใช้สารเคมี
3.1 การผลิตพืชแบบอินทรีย์
4. ประสานงานกับหน่วยงานในพืนทีซึงเกียวข้อง
5. การเตรียมการเพือสํารวจพืนทีเป้ าหมาย
6. การคัดเลือกพืนทีเป้ าหมาย
แผนการปฏิบัติงาน
ขันตอน
ดําเนินงาน
เดือน - ปี 2556
ผู้รับผิดชอบ
มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน
การคัดเลือกพืนที
- ประสานงานผู้ที
เกียวข้อง
- สํารวจ เก็บ
ข้อมูลของพืนที
- คัดเลือก
เกษตรกรต้นแบบ
/ จัดทําแปลง
ต้นแบบในพืนที
ของเกษตรกร
คณะทํางาน
การสร้าง
กระบวนการเรียนรู้
- การฝึกอบรมให้
ความรู้เกษตรกร
- การศึกษาดูงาน
- การทําแปลง
ทดสอบ
- การเก็บข้อมูล
สรุปผล ขยายผล
↔
↔
↔
↔
แม่ใหญ่ปุ๊ ก
แม่ใหญ่อ๋า
ท่านเอ๋
นฤมล
การติดตาม
ประเมินผล สรุปผล
จัดทํารายงาน
วาสนา

More Related Content

Similar to โครงการพัฒนาพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559Pa'rig Prig
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54Oil Patamawadee
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...kaewpanya km
 
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือNaruepon Seenoilkhaw
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...Jaturapad Pratoom
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 

Similar to โครงการพัฒนาพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (20)

โครงการE learning2559
โครงการE learning2559โครงการE learning2559
โครงการE learning2559
 
Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 10
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่  3 จุดเน้นที่  3
จุดเน้นที่ 3
 
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
รายงานผลการดำเนินงาน การขับเคลื่อนสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (ตุลาคม 2553...
 
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
3.2.3 : การออกแบบกิจกรรมที่ใช้ ICT เป็นเครื่องมือในการสอนแบบร่วมมือ
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
การประกวดผลงานครูด้านการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ประจำป...
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

โครงการพัฒนาพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

  • 1. โครงการพัฒนาพืนทีโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่นปี 2556 ----------- ความเป็นมา บทบาทของวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนอกเหนือจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร ปกติแล้ว ยังมีหน้าทีเป็นองค์กรทีให้บริการวิชาการเพือแก้ปัญหาให้กับชุมชนโดยรอบด้วย เนืองจากมีความ พร้อมของบุคลากรทีมีความรู้ความสามารถในวิชาการเกษตรสาขาต่างๆจํานวนมาก อีกทังเป็นการฝึกฝนให้ นักเรียนนักศึกษาเกิดการพัฒนาเรียนรู้โดยการร่วมทํางานกับภาคประชาชน ทําให้มีประสบการณ์ตรงซึงไม่ สามารถจะเกิดขึนในการเรียนการสอนในห้องเรียน ปัญหาสําคัญอย่างหนึงของภาคการเกษตรในปัจจุบัน คือ มีการใช้สารเคมีจํานวนมาก เกษตรกรขาด ความรู้ ความเข้าใจและไม่ระมัดระวังในการใช้ ทําให้มีผลกระทบของสารเคมีต่อเกษตรกรโดยตรง การ ตกค้างของสารเคมีในผลิตผลทีเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค สร้างปัญหาด้านสุขอนามัย เช่น ทําให้เกิดมะเร็ง มี ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม เช่น อากาศ ดิน นํา เป็นต้น นอกจากนีผลกระทบของสารเคมีทีตกค้างใน ผลผลิตซึงเกินมาตรฐานความปลอดภัยทําให้ไม่สามารถส่งไปจําหน่ายต่างประเทศได้ ทําให้เสียโอกาสและ รายได้จํานวนมาก จากปัญหาดังกล่าวจึงจําเป็นทีผู้เกียวข้องในภาคส่วนต่างๆต้องหันมาร่วมมือเพือ แก้ปัญหากับเกษตรกรโดยให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลาง มาตรการเพือแก้ไขปัญหาการใช้สารเคมีทีมากเกินความจําเป็นสามารถทําได้ในหลายลักษณะ ได้แก่ มาตรการเพือสร้างความรู้และความเข้าใจ ได้แก่ การฝึกอบรมเพือให้ความรู้และความเข้าใจใน เรืองสารเคมีประเภทต่างๆรวม ข้อควรปฏิบัติและข้อควรระวังในการใช้สารเคมีอย่างถูกต้อง มาตรการเพือลดการใช้สารเคมี โดยการหาทางเลือกทีเหมาะสม เช่น การใช้สารสกัดพืชสมุนไพร การใช้กับดักกาวเหนียว การใช้ชีวินทรีย์เพือควบคุมศัตรูพืช การควบคุมศัตรูพืชแบบผสมผสาน ( IPM ) การ ผลิตพืชในโรงเรือน การผลิตพืชแบบไม่ใช้ดิน (hydroponics) เป็นต้น มาตรการเพือเลิกการใช้สารเคมี ได้แก่ การผลิตพืชแบบอินทรีย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่นโดยการสนับสนุนของสํานักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา ได้เล็งเห็นความสําคัญของการทํางานวิจัยและพัฒนาโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนโดยรอบวิทยาลัย จึงได้ ดําเนินงานดังกล่าวขึน
  • 2. วัตถุประสงค์ 1. เพือพัฒนากระบวนการทํางานแบบมีส่วนร่วมกับชุมชน 2. เพือบริการวิชาการแก้ปัญหาและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกรในพืนทีเป้ าหมาย 3. เพือพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในชุมชนโดยความร่วมมือของภาคส่วนต่างๆ 4. เพือให้นักเรียนนักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงจากการเรียนรู้ร่วมกับชุมชน เป้ าหมาย 1. นักเรียนนักศึกษาของ วษท.ขอนแก่น ได้รับความรู้และประสบการณ์ในการทํางานในพืนทีของ เกษตรกร ได้แก่ การวางแผน การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผลร่วมกับชุมชน 2. เกษตรกรในพืนทีเป้ าหมายได้รับความรู้และนําความรู้ไปแก้ไขปัญหาและพัฒนาอาชีพจํานวน ไม่น้อยกว่า 40 ราย 3. สร้างแปลงเรียนรู้เพือแก้ไขปัญหาในชุมชน จํานวน 1 แปลง ขันตอนและวิธีดําเนินงาน 1. การคัดเลือกพืนทีเป้ าหมาย 1.1 การประสานงานกับหน่วยงานทีเกียวข้อง เช่น สํานักงานเกษตรอําเภอ องค์การบริหาร ส่วนตําบล กลุ่มเกษตรกรในพืนที 1.2 สํารวจข้อมูลการใช้สารเคมี ปัญหาและความต้องการของเกษตรกรในพืนทีเป้ าหมาย โดย การประชุมกลุ่มเกษตรกร การใช้แบบสอบถาม เป็นต้น 1.3 การคัดเลือกเกษตรกรต้นแบบ การสร้างแปลงต้นแบบเพือเป็นแหล่งทดลอง ศึกษา เรียนรู้ ในการลด ละ เลิก การใช้สารเคมี 2. การสร้างกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม 2.1 การฝึกอบรมเพือให้ความรู้แก่เกษตรกร 2.2 การศึกษาดูงาน 2.3 การทําแปลงทดสอบเพือลด ละ เลิก การใช้สารเคมี - เกษตรกรต้นแบบ – แปลงเรียนรู้ในพืนทีของเกษตรกร - แปลงต้นแบบในวิทยาลัย 2.4 การเก็บข้อมูลแปลงทดสอบ 2.5 การสรุปผลข้อมูลแปลงทดสอบ 2.6 การขยายผลสู่เกษตรกรอืน 3. การติดตามประเมินผล สรุปผลและจัดทํารายงาน
  • 3. ระยะเวลาดําเนินงาน มิถุนายน – กันยายน 2556 งบประมาณ 60,000 บาท ผลการดําเนินงาน 1. ประชุมทีมงานเพือแบ่งหน้าทีความรับผิดชอบ 2. เตรียมข้อมูลเพือให้ความรู้แก่เกษตรกรในเรือง การลด ละ เลิก การใช้สารเคมี 1. ประเภทของสารเคมีในการเกษตร การใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย 2. ทางเลือกในการลดการใช้สารเคมี 2.1 การใช้กับดักกาวเหนียว 2.2 การใช้สารสกัดสมุนไพร 2.3 การใช้ชีวินทรีย์ 2.4 การใช้ระบบ IPM 2.5 การปลูกพืชในโรงเรือน / การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดิน 3. การเลิกใช้สารเคมี 3.1 การผลิตพืชแบบอินทรีย์ 4. ประสานงานกับหน่วยงานในพืนทีซึงเกียวข้อง 5. การเตรียมการเพือสํารวจพืนทีเป้ าหมาย 6. การคัดเลือกพืนทีเป้ าหมาย
  • 4. แผนการปฏิบัติงาน ขันตอน ดําเนินงาน เดือน - ปี 2556 ผู้รับผิดชอบ มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน การคัดเลือกพืนที - ประสานงานผู้ที เกียวข้อง - สํารวจ เก็บ ข้อมูลของพืนที - คัดเลือก เกษตรกรต้นแบบ / จัดทําแปลง ต้นแบบในพืนที ของเกษตรกร คณะทํางาน การสร้าง กระบวนการเรียนรู้ - การฝึกอบรมให้ ความรู้เกษตรกร - การศึกษาดูงาน - การทําแปลง ทดสอบ - การเก็บข้อมูล สรุปผล ขยายผล ↔ ↔ ↔ ↔ แม่ใหญ่ปุ๊ ก แม่ใหญ่อ๋า ท่านเอ๋ นฤมล การติดตาม ประเมินผล สรุปผล จัดทํารายงาน วาสนา