SlideShare a Scribd company logo
บทคัดย่อ : การกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และ
ครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว
ดร. ชเนตตี ทินนาม
การวิจัยเรื่อง การการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และ
ครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการ
ประเมินผลการดำาเนินการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน
และครอบครัว โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก แผนงานสื่อ
สร้างสุขภาวะเยาวชน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualititative
Research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) การ
สังเกตการณ์ (Observation) และการศึกษาจากเอกสาร ( Documentary Study)
ผลการศึกษาในส่วนที่ว่าด้วย การการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก
เยาวชน และครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีดังนี้
1. มาตรฐานคุณภาพด้านรูปแบบรายการ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้
1.1การกำาหนดรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ไม่มีกรอบคิดที่
แน่นอนควรให้ความสำาคัญกับความหลากหลาย
1.2รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว สามารถยึดรูปแบบตามหลัก
การรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียงทั่ว ไป เช่น รายการพูดคุย รายการสารคดี
รายการนิตยสารทางอากาศ รายการข่าว
1.3รูปแบบรายการวิทยุที่เด็กสนใจ ได้แก่ รายการถ่ายทอดนอกสถานที่ รายการ
เปิดเวทีแสดง รายการอภิปราย รายการเล่านิทาน รายการละครวิทยุ รายการ
สนทนารายการพูดกับผู้ฟังอย่างเดียว รายการพูดสลับกับเปิดเพลง
1.4รูปแบบรายการวิทยุเด็กควรพิจารณาความเหมาะสมตามอายุและความสนใจ
ของกลุ่มเป้าหมาย
1.5รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรมีลักษณะสร้างสรรค์
1.6รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรมีความเหมาะสมต่อช่วง
เวลาที่นำาเสนอ
1.7การกำาหนดรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรอยู่ภายใต้
กรอบจริยธรรมวิชาชีพ
2. มาตรฐานคุณภาพด้านเนื้อหารายการ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านเนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้
2.1เนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว สามารถกำาหนดโดยใช้หลัก
การเดียวกับการกำาหนดเนื้อหาในรายการวิทยุกระจายเสียงทั่วไป
1
2.2เนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน ให้ความสำาคัญเป็นพิเศษกับ อายุ ความ
ต้องการ พฤติกรรมของเด็ก จิตวิทยาเด็ก บริบทสังคม จริยธรรม การใช้ภาษา
ความสนุกสนาน เข้าใจง่าย กระตุ้นความคิดและจินตนาการ
2.3เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่นำาเสนอผ่านทางรายการวิทยุเด็กส่วนใหญ่ นำาเสนอ
เนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาอารมณ์ วุฒิภาวะ การปรับตัว ความรัก ความสัมพันธ์กับ
ผู้อื่น
2.4เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก ได้แก่ เนื้อหาที่
เน้นจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการทางอารมณ์ วุฒิภาวะ การปรับตัว
ความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน วัฒนธรรม ประเพณี
ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สุขภาพอนามัย กีฬา การป้องกันยาเสพติด วิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี ความคิดเชิงเหตุผล
2.5เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่สอดคล้องกับวัย มีลักษณะดังนี้
- 2-6 ปี เน้นเนื้อหาด้านการควบคุมอารมณ์ ความรู้รอบตัว
- 7-12 ปี เน้นเนื้อหาด้านคุณธรรมและวินัย
- 13-18ปี เน้นเนื้อหาความรู้ด้านอัตลักษณ์ทางเพศ ความรู้เรื่องเพศ ความสัมพันธ์
อัตลักษณ์ทางสังคม และการดำาเนินชีวิต
- 19-25ปี เน้นเนื้อหาความรู้ด้านอัตลักษณ์ทางเพศ ความรู้เรื่องเพศ ความสัมพันธ์
อัตลักษณ์ทางสังคมและการดำาเนินชีวิต
3.มาตรฐานคุณภาพด้านความหลากหลาย
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจในเรื่องการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านความหลากหลายว่า หมายถึง ความหลากหลายของเนื้อหารายการ
ความหลากหลายของเทคนิคการผลิตรายการ และความหลากหลายของช่อง
ทางการมีส่วนร่วมของผู้ฟัง ส่วนความหลากหลายของเด็กซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายนั้น
ยังเป็นข้อจำากัดที่ยังไม่มีการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพทางด้านนี้อย่างจริงจัง
4. มาตรฐานคุณภาพด้านการผลิตรายการ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านการผลิตรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้
4.1การผลิตรายการวิทยุเด็กใช้หลักการเดียวกับหลักการผลิตรายการวิทยุ
กระจายเสียงทั่ว ไป
4.2คุณภาพ “เสียง” เป็นองค์ประกอบที่มีความสำาคัญที่สุดในมาตรฐานคุณภาพ
ด้านการผลิตรายการวิทยุเด็ก
4.3การผลิตรายการวิทยุเด็กที่ออกอากาศส่วนใหญ่ ใช้เทคนิคการนำาเสนอหลาก
หลายเน้นการสัมภาษณ์ เปิดเพลง ใช้เสียงประกอบ โทนรายการสร้างความเป็น
กันเองอบอุ่น
5.มาตรฐานคุณภาพด้านผู้จัดรายการ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านผู้จัดรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยมองว่า นักจัด
รายการวิทยุเด็กมีคุณสมบัติเหมือนกับนักจัดรายการวิทยุฯทั่ว ไป เพียงแต่นักจัด
รายการวิทยุเด็กต้องเพิ่มเติมคุณสมบัติบางด้านเพื่อให้สามารถสื่อสารกับเด็กได้
อย่างเข้าใจและเข้าถึง ดังนี้
2
5.1คุณสมบัติของนักจัดรายการวิทยุทั่ว ไป
5.1.1มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กระตือรือร้น สนใจสิ่งรอบตัว และใฝ่รู้อยู่เสมอ
5.1.2มีความสามารถในการพูดอย่างเป็นกันเอง ออกเสียงภาษาไทย หรือภาษาถิ่น
ได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง และน่าฟัง
5.1.3มีความเข้าใจในกระบวนการผลิตรายการวิทยุเป็นอย่างดี
5.1.4 มีความรู้ในเรื่องเพลงประกอบ เสียงประกอบ
5.1.5สามารถตัดสินใจได้ว่า เนื้อหาสาระอย่างไรเหมาะกับผู้ฟัง และเพลงประกอบ
เสียงประกอบ ประเภทไหนเหมาะกับเนื้อหาเรื่องราวแบบใด
5.1.6 มีความเข้าใจวิธีใช้อุปกรณ์ต่างๆได้เป็นอย่างดี
5.1.7มีความตรงต่อเวลา
5.1.8มีการตัดสินใจที่ดี เมื่อเกิดปัญหาต้องสามารถแก้ไขได้อย่างรอบคอบและทัน
ท่วงที
5.2คุณสมบัติของนักจัดรายการวิทยุเด็ก
5.2.1มีบุคลิกลักษณะเหมือนพี่น้องหรือเพื่อน มากกว่าเป็นผู้ใหญ่
5.2.2มีความรู้เรื่องจิตวิทยาเด็ก
5.2.3มีความรักความเข้าใจเด็ก
5.2.4มีจริยธรรม
5.2.5ไม่ละเมิดสิทธิเด็ก
5.2.6มีนำ้าเสียงดี
5.2.7มีการใช้ภาษาที่ดี
6. มาตรฐานคุณภาพด้านการคำานึงถึงประโยชน์และผลที่เด็กจะได้รับ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านการคำานึงถึงประโยชน์และผลที่เด็กจะได้รับดังนี้
6.1ทำาให้เด็กได้รู้เท่าทันสื่อ
6.2 มีประสบการณ์การทำางานด้านสื่อ
6.3 สร้างความมั่น ใจให้เด็ก
6.4สร้างการยอมรับจากผู้อื่นที่มีต่อเด็ก
6.5เปิดโลกทัศน์ สร้างจินตนาการ
6.6สามารถนำาข้อมูลไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
6.7มีรายการที่เหมาะสำาหรับเด็กและผู้ใหญ่
6.8ทำาให้เด็กได้เข้าร่วมในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์
6.9เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น
6.10สร้างสำานึกสาธารณะ
6.11ข้อมูลจากรายการช่วยเสริมสร้างร่างกายเด็กให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น เด็ก
สามารถช่วยเหลือตนเองได้
7.มาตรฐานคุณภาพด้านจริยธรรม
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านจริยธรรมรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้
3
7.1หลักการที่ปรากฏในจริยธรรมด้านการผลิตและการเผยแพร่รายการเด็ก
เยาวชน และครอบครัวทางสถานีวิทยุกระจายเสียง ประกอบด้วย
7.1.1สิทธิ สิทธิมนุษยชน
7.1.2ความถูกต้อง
7.1.3หลักภววิสัย ความสมดุล เที่ยงธรรม
7.1.4 ศีลธรรม
7.1.5ความรับผิดชอบ
7.1.6หลักการสุขภาวะ
7.2หลักการจริยธรรมรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัวตามทัศนะของ
กรรมการชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ประกอบด้วย
7.2.1สิทธิเด็ก
7.2.2หลักจิตวิทยาเด็ก
7.2.3การปฏิเสธความรุนแรง
7.2.4หลักความรัก
7.2.5ความเหมาะสมของภาษา
8.มาตรฐานคุณภาพด้านความยั่งยืนและความอยู่รอดทางธุรกิจ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน
คุณภาพด้านมาตรฐานคุณภาพด้านความยั่งยืนและความอยู่รอดทางธุรกิจของ
รายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้
8.1ความยั่งยืนและความอยู่รอดหมายถึงการทำาให้สังคมยอมรับในการทำางานของ
ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชนและครอบครัว
8.2ความยั่งยืนและความอยู่รอดหมายถึงการสร้างความตระหนักในความสำาคัญ
ของรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว
8.3ความยั่งยืนและความอยู่รอดในเชิงธุรกิจนั้น ควรมีการแสวงหาแหล่งทุนเพิ่ม
เติมนอกจาก แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) เช่น แหล่งทุนจากภาค
เอกชนองค์การเด็กสากล การจัดตั้ง กองทุนสื่อ
8.4การจัดตั้ง คลื่นวิทยุสาธารณะเป็นแนวทางในการสร้างความยั่งยืนและความอยู่
รอด
8.5การกระตุ้นให้สำานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์
และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ออกกฎหมายที่มีผลบังคับให้สถานีวิทยุ
กระจายเสียงทุกแห่งต้องมีรายการเด็ก เพื่อสร้างความอยู่รอดและความยั่งยืน มี
บทบาทในการจัดอบรมฯ ในนามสถาบัน
4

More Related Content

Similar to บทคัดย่อมาตรฐานรายการวิทยุเด็ก

จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
ประพันธ์ เวารัมย์
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
warit_sara
 
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาประไพพิศ เกษพานิช
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
suwat Unthanon
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
โครงการยุววิจัยสุขภาพ
โครงการยุววิจัยสุขภาพโครงการยุววิจัยสุขภาพ
โครงการยุววิจัยสุขภาพ
NIM Phimnaree
 
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
PTC Laboratories (Thailand)
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa educationpratanago
 

Similar to บทคัดย่อมาตรฐานรายการวิทยุเด็ก (12)

File1
File1File1
File1
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
3 บทคัดย่อ กิตติประกาศ
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลการกำกับติดตามการประกันคุณภาพการศึกษา
 
Dental assistant course MU
Dental assistant course MUDental assistant course MU
Dental assistant course MU
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
โครงการยุววิจัยสุขภาพ
โครงการยุววิจัยสุขภาพโครงการยุววิจัยสุขภาพ
โครงการยุววิจัยสุขภาพ
 
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
PTC Laboratories (Thailand) DNA Introduction Presentation (Thai)
 
Qa education
Qa educationQa education
Qa education
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Md 2559
Md 2559Md 2559
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
นู๋หนึ่ง nooneung
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
นู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศนู๋หนึ่ง nooneung
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56นู๋หนึ่ง nooneung
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
นู๋หนึ่ง nooneung
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่นู๋หนึ่ง nooneung
 

More from นู๋หนึ่ง nooneung (20)

Pr 2559
Pr 2559Pr 2559
Pr 2559
 
Pf 2559
Pf 2559Pf 2559
Pf 2559
 
Md 2559
Md 2559Md 2559
Md 2559
 
Mca 2559
Mca 2559Mca 2559
Mca 2559
 
Fm 2559
Fm 2559Fm 2559
Fm 2559
 
Bc 2559
Bc 2559Bc 2559
Bc 2559
 
Ad 2559
Ad 2559Ad 2559
Ad 2559
 
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์    ประเด็นความรู้ :  การผ...
สรุปผลการจัดการความรู้ ด้านการวิจัยและงานสร้างสรรค์ ประเด็นความรู้ : การผ...
 
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัยกรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
กรอบความรู้Km57 ด้านวิจัย
 
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอนกรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
กรอบความรู้Km57 ด้านการเรียนการสอน
 
knowledge management 56
knowledge management 56knowledge management 56
knowledge management 56
 
Km56
Km56Km56
Km56
 
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศองค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
องค์ความรู้จากโครงการผู้ประกาศ
 
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
องค์ความรู้ที่ได้จากโครงการบริการทางวิชาการ ปี 56
 
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
ประกาศคณะนิเทศศาสตร์
 
จรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัยจรรยาบรรณนักวิจัย
จรรยาบรรณนักวิจัย
 
หลักสูตรMca
หลักสูตรMcaหลักสูตรMca
หลักสูตรMca
 
ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556ประกาศที่ 2 2556
ประกาศที่ 2 2556
 
Pf
PfPf
Pf
 
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
สาขาวิชาการแสดงและสื่อสมัยใหม่
 

บทคัดย่อมาตรฐานรายการวิทยุเด็ก

  • 1. บทคัดย่อ : การกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดร. ชเนตตี ทินนาม การวิจัยเรื่อง การการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และ ครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว เป็นส่วนหนึ่งของ โครงการ ประเมินผลการดำาเนินการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก แผนงานสื่อ สร้างสุขภาวะเยาวชน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualititative Research) โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) การ สังเกตการณ์ (Observation) และการศึกษาจากเอกสาร ( Documentary Study) ผลการศึกษาในส่วนที่ว่าด้วย การการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ของชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีดังนี้ 1. มาตรฐานคุณภาพด้านรูปแบบรายการ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้ 1.1การกำาหนดรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ไม่มีกรอบคิดที่ แน่นอนควรให้ความสำาคัญกับความหลากหลาย 1.2รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว สามารถยึดรูปแบบตามหลัก การรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียงทั่ว ไป เช่น รายการพูดคุย รายการสารคดี รายการนิตยสารทางอากาศ รายการข่าว 1.3รูปแบบรายการวิทยุที่เด็กสนใจ ได้แก่ รายการถ่ายทอดนอกสถานที่ รายการ เปิดเวทีแสดง รายการอภิปราย รายการเล่านิทาน รายการละครวิทยุ รายการ สนทนารายการพูดกับผู้ฟังอย่างเดียว รายการพูดสลับกับเปิดเพลง 1.4รูปแบบรายการวิทยุเด็กควรพิจารณาความเหมาะสมตามอายุและความสนใจ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.5รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรมีลักษณะสร้างสรรค์ 1.6รูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรมีความเหมาะสมต่อช่วง เวลาที่นำาเสนอ 1.7การกำาหนดรูปแบบรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ควรอยู่ภายใต้ กรอบจริยธรรมวิชาชีพ 2. มาตรฐานคุณภาพด้านเนื้อหารายการ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านเนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้ 2.1เนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว สามารถกำาหนดโดยใช้หลัก การเดียวกับการกำาหนดเนื้อหาในรายการวิทยุกระจายเสียงทั่วไป 1
  • 2. 2.2เนื้อหารายการวิทยุเด็ก เยาวชน ให้ความสำาคัญเป็นพิเศษกับ อายุ ความ ต้องการ พฤติกรรมของเด็ก จิตวิทยาเด็ก บริบทสังคม จริยธรรม การใช้ภาษา ความสนุกสนาน เข้าใจง่าย กระตุ้นความคิดและจินตนาการ 2.3เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่นำาเสนอผ่านทางรายการวิทยุเด็กส่วนใหญ่ นำาเสนอ เนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาอารมณ์ วุฒิภาวะ การปรับตัว ความรัก ความสัมพันธ์กับ ผู้อื่น 2.4เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่สอดคล้องกับความต้องการของเด็ก ได้แก่ เนื้อหาที่ เน้นจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการทางอารมณ์ วุฒิภาวะ การปรับตัว ความรู้เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาพื้นบ้าน สุขภาพอนามัย กีฬา การป้องกันยาเสพติด วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ความคิดเชิงเหตุผล 2.5เนื้อหารายการวิทยุเด็กที่สอดคล้องกับวัย มีลักษณะดังนี้ - 2-6 ปี เน้นเนื้อหาด้านการควบคุมอารมณ์ ความรู้รอบตัว - 7-12 ปี เน้นเนื้อหาด้านคุณธรรมและวินัย - 13-18ปี เน้นเนื้อหาความรู้ด้านอัตลักษณ์ทางเพศ ความรู้เรื่องเพศ ความสัมพันธ์ อัตลักษณ์ทางสังคม และการดำาเนินชีวิต - 19-25ปี เน้นเนื้อหาความรู้ด้านอัตลักษณ์ทางเพศ ความรู้เรื่องเพศ ความสัมพันธ์ อัตลักษณ์ทางสังคมและการดำาเนินชีวิต 3.มาตรฐานคุณภาพด้านความหลากหลาย ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจในเรื่องการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านความหลากหลายว่า หมายถึง ความหลากหลายของเนื้อหารายการ ความหลากหลายของเทคนิคการผลิตรายการ และความหลากหลายของช่อง ทางการมีส่วนร่วมของผู้ฟัง ส่วนความหลากหลายของเด็กซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายนั้น ยังเป็นข้อจำากัดที่ยังไม่มีการกำาหนดมาตรฐานคุณภาพทางด้านนี้อย่างจริงจัง 4. มาตรฐานคุณภาพด้านการผลิตรายการ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านการผลิตรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้ 4.1การผลิตรายการวิทยุเด็กใช้หลักการเดียวกับหลักการผลิตรายการวิทยุ กระจายเสียงทั่ว ไป 4.2คุณภาพ “เสียง” เป็นองค์ประกอบที่มีความสำาคัญที่สุดในมาตรฐานคุณภาพ ด้านการผลิตรายการวิทยุเด็ก 4.3การผลิตรายการวิทยุเด็กที่ออกอากาศส่วนใหญ่ ใช้เทคนิคการนำาเสนอหลาก หลายเน้นการสัมภาษณ์ เปิดเพลง ใช้เสียงประกอบ โทนรายการสร้างความเป็น กันเองอบอุ่น 5.มาตรฐานคุณภาพด้านผู้จัดรายการ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านผู้จัดรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว โดยมองว่า นักจัด รายการวิทยุเด็กมีคุณสมบัติเหมือนกับนักจัดรายการวิทยุฯทั่ว ไป เพียงแต่นักจัด รายการวิทยุเด็กต้องเพิ่มเติมคุณสมบัติบางด้านเพื่อให้สามารถสื่อสารกับเด็กได้ อย่างเข้าใจและเข้าถึง ดังนี้ 2
  • 3. 5.1คุณสมบัติของนักจัดรายการวิทยุทั่ว ไป 5.1.1มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ กระตือรือร้น สนใจสิ่งรอบตัว และใฝ่รู้อยู่เสมอ 5.1.2มีความสามารถในการพูดอย่างเป็นกันเอง ออกเสียงภาษาไทย หรือภาษาถิ่น ได้อย่างคล่องแคล่ว ถูกต้อง และน่าฟัง 5.1.3มีความเข้าใจในกระบวนการผลิตรายการวิทยุเป็นอย่างดี 5.1.4 มีความรู้ในเรื่องเพลงประกอบ เสียงประกอบ 5.1.5สามารถตัดสินใจได้ว่า เนื้อหาสาระอย่างไรเหมาะกับผู้ฟัง และเพลงประกอบ เสียงประกอบ ประเภทไหนเหมาะกับเนื้อหาเรื่องราวแบบใด 5.1.6 มีความเข้าใจวิธีใช้อุปกรณ์ต่างๆได้เป็นอย่างดี 5.1.7มีความตรงต่อเวลา 5.1.8มีการตัดสินใจที่ดี เมื่อเกิดปัญหาต้องสามารถแก้ไขได้อย่างรอบคอบและทัน ท่วงที 5.2คุณสมบัติของนักจัดรายการวิทยุเด็ก 5.2.1มีบุคลิกลักษณะเหมือนพี่น้องหรือเพื่อน มากกว่าเป็นผู้ใหญ่ 5.2.2มีความรู้เรื่องจิตวิทยาเด็ก 5.2.3มีความรักความเข้าใจเด็ก 5.2.4มีจริยธรรม 5.2.5ไม่ละเมิดสิทธิเด็ก 5.2.6มีนำ้าเสียงดี 5.2.7มีการใช้ภาษาที่ดี 6. มาตรฐานคุณภาพด้านการคำานึงถึงประโยชน์และผลที่เด็กจะได้รับ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านการคำานึงถึงประโยชน์และผลที่เด็กจะได้รับดังนี้ 6.1ทำาให้เด็กได้รู้เท่าทันสื่อ 6.2 มีประสบการณ์การทำางานด้านสื่อ 6.3 สร้างความมั่น ใจให้เด็ก 6.4สร้างการยอมรับจากผู้อื่นที่มีต่อเด็ก 6.5เปิดโลกทัศน์ สร้างจินตนาการ 6.6สามารถนำาข้อมูลไปใช้ในชีวิตประจำาวัน 6.7มีรายการที่เหมาะสำาหรับเด็กและผู้ใหญ่ 6.8ทำาให้เด็กได้เข้าร่วมในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ 6.9เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น 6.10สร้างสำานึกสาธารณะ 6.11ข้อมูลจากรายการช่วยเสริมสร้างร่างกายเด็กให้มีพัฒนาการที่ดีขึ้น เด็ก สามารถช่วยเหลือตนเองได้ 7.มาตรฐานคุณภาพด้านจริยธรรม ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านจริยธรรมรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้ 3
  • 4. 7.1หลักการที่ปรากฏในจริยธรรมด้านการผลิตและการเผยแพร่รายการเด็ก เยาวชน และครอบครัวทางสถานีวิทยุกระจายเสียง ประกอบด้วย 7.1.1สิทธิ สิทธิมนุษยชน 7.1.2ความถูกต้อง 7.1.3หลักภววิสัย ความสมดุล เที่ยงธรรม 7.1.4 ศีลธรรม 7.1.5ความรับผิดชอบ 7.1.6หลักการสุขภาวะ 7.2หลักการจริยธรรมรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัวตามทัศนะของ กรรมการชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ประกอบด้วย 7.2.1สิทธิเด็ก 7.2.2หลักจิตวิทยาเด็ก 7.2.3การปฏิเสธความรุนแรง 7.2.4หลักความรัก 7.2.5ความเหมาะสมของภาษา 8.มาตรฐานคุณภาพด้านความยั่งยืนและความอยู่รอดทางธุรกิจ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว มีความเข้าใจต่อการกำาหนดมาตรฐาน คุณภาพด้านมาตรฐานคุณภาพด้านความยั่งยืนและความอยู่รอดทางธุรกิจของ รายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว ดังนี้ 8.1ความยั่งยืนและความอยู่รอดหมายถึงการทำาให้สังคมยอมรับในการทำางานของ ชมรมวิทยุเด็ก เยาวชนและครอบครัว 8.2ความยั่งยืนและความอยู่รอดหมายถึงการสร้างความตระหนักในความสำาคัญ ของรายการวิทยุเด็ก เยาวชน และครอบครัว 8.3ความยั่งยืนและความอยู่รอดในเชิงธุรกิจนั้น ควรมีการแสวงหาแหล่งทุนเพิ่ม เติมนอกจาก แผนงานสื่อสร้างสุขภาวะเยาวชน (สสย.) เช่น แหล่งทุนจากภาค เอกชนองค์การเด็กสากล การจัดตั้ง กองทุนสื่อ 8.4การจัดตั้ง คลื่นวิทยุสาธารณะเป็นแนวทางในการสร้างความยั่งยืนและความอยู่ รอด 8.5การกระตุ้นให้สำานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ออกกฎหมายที่มีผลบังคับให้สถานีวิทยุ กระจายเสียงทุกแห่งต้องมีรายการเด็ก เพื่อสร้างความอยู่รอดและความยั่งยืน มี บทบาทในการจัดอบรมฯ ในนามสถาบัน 4