SlideShare a Scribd company logo
มหใงยีชเยัลายทิวาหมรตสาศยทพแะณคะษรีศะลแานหบใณวเิรบรากิพมาวคขไกแยนูศ
CMU Craniofacial Center
Annual Report 2015Annual Report 2015
e-book
รายงานประจำป 2558 ของศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดทำขึ้นมาเพื่อนำเสนอผลการทำงาน
ในป 2558 หวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะสามารถสรางแรงบันดาลใจ
และคุณประโยชนใหแกผูปวย ครอบครัวผูปวย ผูใหการตรวจรักษา หนวยงาน
หรือองคกรตางๆ รวมถึงผูอานทุกทานไมมากก็นอย และขอขอบพระคุณ
ผูมีอุปการะคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ใหการดูแลผูปวย ที่มีความผิดปกติบริเวณ
ใบหนาและศีรษะ โดยมี สหสาขาวิชาชีพ ที่พรอมในการใหบริการตรวจรักษา
นอกเหนือจากนี้ ยัง มุงเนนการรักษาใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มากกวา
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวย โดยดำเนินโครงการ การสรางเครือขาย
ความรวมมือ One Stop Network for Care Process ของทีมสหสาขาวิชาทีม
ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ เปนสิ่งที่ดีที่ทำใหเกิดการบริการที่ครบวงจร และ
ทำใหคุณภาพชีวิตของผูปวยเหลานี้ดีขึ้น โครงการนี้เปนโครงการที่ดีมาก
นาสนับสนุนอยางยิ่ง
ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา
ผูอำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยมีวิสัยทัศน คือ one stop service
สำหรับการรักษาผูปวย เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ ซึ่งนำมาใชจริงในระบบการตรวจ ทั้งที่หองตรวจ
ผูปวยนอก หอผูปวยใน และ หองผาตัด ตลอดระยะเวลา 4 ป ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดรับการรวมมือรวมใจเปนอยางมากจากทีมสหสาขาวิชาชีพ มีการดำเนินงานอยางตอเนื่อง
บรรลุวัตถุประสงคของการกอตั้งและตามพันธกิจที่มุงหวังไวเปนอยางดี
ในป 2558 นี้ ทางศูนยไดดำเนินโครงการสรางเครือขายความรวมมือเพื่อการดูแลผูปวยปากแหวงเพดานโหว
เครือขายทีมงานรักษาใน 8 จังหวัดภาคเหนือ โดยเริ่มจากสรางเครือขายของบุคลากรทางการแพทยที่มีความ
ชำนาญเฉพาะดาน และใช เทคโนโลยีเขามาชวยในการทำงานสรางฐานขอมูลในการรักษา ใหครอบคลุม 8 จังหวัด
ภาคเหนือตอนบน ประกอบดวย เชียงใหม ลำปาง แมฮองสอน เชียงราย แพร นาน ลำพูน และพะเยา รวมทั้ง
ขอบชายแดนไทยเมียนมารจังหวัดตาก โดยจะมีการเชื่อมตอเครือขาย และฐานขอมูลกับศูนยแกไขความพิการบริเวณ
ใบหนาและศีรษะ ใหฐานขอมูลเปนศูนยกลางของการรักษา เพื่อ เกิดการประสานงาน การรักษา การวางแผนการรักษา
รวมกัน แมวาจะอยูตาง โรงพยาบาล หรือตางจังหวัดก็ตาม โดยกระจายการรักษา ใหเกิดไดในโรงพยาบาลที่ตั้งอยู
บนพื้นที่หางไกล เนน การดูแลแบบ ผูปวยเปนศูนยกลาง
(ผูชวยศาสตราจารยแพทยหญิงวิมล ศิริมหาราช)
หัวหนาศูนย แกไขความพิการบริเวณ ใบหนาและศีรษะ
.
พื้นที่อำเภอฝาง แมอาย และไชยปราการ 3 อำเภอทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงใหมอยูหางจากตัวจังหวัด
เชียงใหมประมาณ 150 กิโลเมตร พบมีผูปวยปากแหวง เพดานโหว รวม 58 คน ในฐานะทันตแพทยรูสึกภาคภูมิใจคะ
ที่ไดเปนสวนหนึ่งในทีม One Stop Network for Care Process ใหความชวยเหลือผูปวยกลุมนี้ รวมกับบุคลากร
จากหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล ไดแกศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ ศูนยรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว
คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทีมบุคลากร ประกอบดวย สูตินรีแพทย กุมารแพทย โสต ศอ นาสิกแพทย
ศัลยแพทยตกแตง วิสัญญีแพทย พยาบาล ทันตแพทยทั่วไป ทันตแพทยจัดฟน ทันตแพทยเฉพาะทางดานทันตกรรม
ประดิษฐ ทันตแพทยเฉพาะทาง ดานศัลยศาสตร และแมกซิลโลเฟเชียล ทันตภิบาลในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล
ใกลบาน นักวจีบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักจิตเวช นักสังคมสงเคราะห ซึ่งจุดสำคัญของการดูแลผูปวยแบบสหสาขา
คือการวางแผนการรักษารวมกันของแตละสาขาวิชาชีพซึ่งมีความสำคัญ ในแตละชวงวัยของผูปวย ทั้งนี้เพื่อใหการ
ดูแลและแกไขความผิดปกติไดทันทวงทีและไดมาตรฐานตามหลักวิชาการ แตในสภาพความเปนจริง อุปสรรคในดาน
การขาดบุคลากร ระยะทางที่หางไกล ความยากลำบากในการเดินทาง เหลานี้เปนปจจัยสำคัญอันทำใหผูปวย
กลุมนี้ขาดการดูแลอยางเหมาะสมและตอเนื่อง ทำใหความผิดปกติบางอยางไมไดรับการแกไขอยางทันทวงที สงผล
ใหเกิดเปนความผิดปกติอยางถาวร เชน รูปทรงจมูกผิดรูป ออกเสียงไมชัดเจน การสบฟนผิดปกติ สงผลตอบุคลิกภาพ
และกระทบตอสภาพจิตใจผูปวย รวมถึงโอกาสในการเขาทำงาน และการใชชีวิตในสังคม.....
ทันตแพทยหญิงอุบลวรรณ เสริมชัยวงศ
โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม
การใหความชวยเหลือและวางแผนดูแลผูปวยรวมกันอยางเปนระบบและตอเนื่องดวยการสรางเครือขายการ
ดูแลผูปวยรวมกันโดยทีมสหสาขาแบบ One Stop Network for Care Process เชื่อมโยงจากบุคลากรใน
สถานพยาบาลใกลบานคือ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล ไปยังโรงพยาบาลชุมชน และไปยังสถานบริการที่มี
ศักยภาพสูง จึงเปนคำตอบของการดูแลผูปวยกลุมนี้อยางแทจริง
วิสัยทัศน คือ One Stop Network for Care Process ในการรักษาเพื่อใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ
3
1. One stop Network for Care Process
Collaborative Network Project สรางเครือขายบุคลากรการรักษา
ภาวะปากแหวงและหรือเพดานโหวในเขตภาคเหนือเพื่อใหผูปวยมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ
2. One Stop DATA Operation Center
Cloud database Project (Program and Application) สรางฐาน
ขอมูลผูปวยและการรักษาสำหรับผูปวยปากแหวงเพดานโหวภาคเหนือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อใหฐานขอมูล ในระดับจังหวัด,ระดับภูมิภาค
และ ระดับประเทศ
3. KM Research and Innovation
3.1 Center of Knowledge Management เปนศูนยกลางในการ
รักษาและรวบรวมขอมูลตางๆเกี่ยวกับการรักษา และนำไปสราง
แนวทางการรักษาที่เปนมาตรฐานและไดรับการยอมรับสำหรับ
โรงพยาบาลในเขตภาคเหนือ
3.2 Sharing and Technique Information คือ เผยแพร อบรม
ใหความรูเกี่ยวกับแนวทางการรักษา บุคลากรในเครือขาย
3.3 Research and Development คือ ใหการสนับสนุนงานวิจัย
และพัฒนาใหเกิดการจัดการความรูที่มีประสิทธิภาพ
ONE STOP NETWORKVISION
One stop
Network
One Data
base
The best
excellence
process
One stop Network
For care process
Relationship
Inspiration
Recognize
Collaborative
network Project
KM Research and
Innovation
Center of
knowledge
management,
Sharing and
Research
เนนรักษาให
เกิดประสิทธิภาพ
จัดการความรู
One stop Data
Operation center
Cloud database
Project
(Program and
application)
1. ศูนยกลางการรักษาความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะชนิดเปนตั้งแตกำเนิด เชน ภาวะปากแหวง
และหรือเพดานโหวเปนตน โดยดูแลรักษาตั้งแตอยูในครรภจนเจริญเติบโตเปนผูใหญ
2. ศูนยกลางการรักษาผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ จากอุบัติเหตุตางๆ
เชน อุบัติเหตุทางจราจร เปนตน
3. ศูนยกลางการรักษาผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะหลังการผาตัดรักษาโรคตางๆ เชน
ภาวะเนื้องอกบริเวณใบหนาและศีรษะ เปนตน
4. เปนศูนยกลาง ในการ อบรม การสรางแนวทางการรักษา การสราง KM และ นวัตกรรม
ในการพัฒนาการดูแลผูปวยที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
5. ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ จนในที่สุดดำรงชีวิตและทำงานรวมกับคนในสังคมไดอยางปกติ
6. ศูนยกลางการชวยเหลือผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะชนิดเปนตั้งแตกำเนิด จากการ
ประสบอุบัติเหตุ และ เกิดหลังจากการผาตัดรักษาโรคตางๆ
7. ศูนยกลางฐานขอมูลผูปวยที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะของภาคเหนือเพื่อนำไปสูฐานขอมูล
ของผูปวยของประเทศไทย
8. ศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและเรียนรูสำหรับการดูแลรักษาผูปวยที่มีความพิการ
บริเวณใบหนาและศีรษะ
9. ศูนยกลางดานการวิจัยที่เกี่ยวกับความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ โดยมีฐานขอมูลที่เกิดจาก
ขอมูลของผูปวยในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาคของภาคเหนือ และในระดับประเทศ
One Stop Network
For Care Process
ดำเนินโครงการสรางเครือขายความรวมมือ โรงพยาบาลเครือขาย เพื่อวางแผนการรักษาและ การสงตอขอมูลการ
รักษารวมกัน ไดแก โรงพยาบาลฝาง โรงพยาบาลจอมทอง โรงพยาบาลศรีสังวาลย โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาล
แมสอดและ โรงพยาบาลลำปาง
วางมาตรฐาน แนวทางการรักษา รวมกัน ชวยเพิ่มศักยภาพการทำงานของบุคลากรในพื้นที่โรงพยาบาลเครือขาย
ลดการสงตอ ผูปวยไดรับการรักษาตามแนวทางการรักษาเดียวกันแมอยูบนพื้นที่หางไกล
Cheiloplastywith
CLNcorrection
Palatoplasty
Cheilopalatoplasty
VPIcorrectionAlveolarbone
g
rafting
Jawsurgery
Open
Rhinoplasty
Airway
1ป
5ป
Tracheostomy
Distraction
osteogenesis
Af
ter แรกเกิด
3เดือน
9-12
ป
17-18ปJaw
surgery
ยดโำทดัจ มหใงยีชเยัลายทิวาหมะษรีศะลแานหบใณวเิรบรากิพมาวคขไกแยนูศ
CMU craniofacial Protocol 2015
Age Nurse Pediatrician Opthalmologist ENT Orthodontist &
Pedodontist
Plastic surgeon & Oral
Maxillofacial Surgeon Prosthodontist
Counseling for acceptation
from parent
consult for micrognathia and
respiratory problem
Counselling
( if consulted from obstetrician) ( if consulted from obstetrician) ( if consulted from obstetrician)
1. Counselling
General evaluation and
genetic test
General eye examination
Evaluate and Craniofacial
conference with teams
( when indicated) ( at 1st visit ) ( one stop service)
2. breast feeding
at least 6 months
CMU-NAM (cont’d) &
Oral hygiene instruction
Otitis media evaluation & myringotomy
with PE tube retention
palatoplasty or cheilopalatoplasty
(when indicated ) (If parent want to do ONE stage)
1.5 -3 year VPI evaluation by manner of speaking
2nd cleft lip nose correction
Alveolar bone grafting
11-12 year Dental development evaluation Palatal fistular closure
12-18 year Orthodontic treatment
Jaw surgery
2nd
cleft lip nose correction
(when indicate)
After Jaw Sx Open rhinoplasty
Nasoalveolar molding
(CMU-NAM)
General ear examination & hearing
evaluation by Otoacoustic emissions
(OAE) test
Prenatal
0-3 month
3-4 month Cheiloplasty with primary cleft
lip nose correction
Post operative day 7 – 14 on
nasoform
Growth and development
evaluation
Otitis media evaluation & treatment
Yearly ENT examination
4-5 year
5-9 year
VA & anterior eye
segment evaluation
Post operative day 7 – 14 on
nasoform
2nd
cleft lip nose correction &
VPI correction
(when indicate)
17-18 years Orthodontic treatment for jaw
surgery
3. Co-ordination between teams
Post operative day 7 – 14 on
nasoform
Post operative day 7 – 14 on
nasoform
Dental care
VPI evaluation by fiber
opticnasopharyngeal scope
9-11 year Orthodontic treatment for
alveolar bone grafting
4-9 month
9-18 month
Speech therapist
Speech therapy after
palatoplasty
Speech therapy after VPI
correction
Speech therapy after
palatoplasty or VPI correction
พยาบาล หมอเด็ก หมอตา นักฝกพูดหมอ หู คอ
จมูก
ทันตกรรม
จัดฟน
ศัลยแพทย
ผาตัด
ทันตกรรม
ประดิษฐ
Nurse Pediatrician Opthalmologist ENT Prosthodontist
Speech
therapist
Orthodontist
&
Pedodontist
A B C
A B C
Plastic surgeon
&
Maxillofacial
กลุมเปาหมาย/พื้นที่ดำเนินงาน
เชียงใหม
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
คณะทันตแพทยศาสตร มช. โรงพยาบาลนครพิงค
โรงพยาบาลจอมทอง
โรงพยาบาลพะเยา
โรงพยาบาลนาน
โรงพยาบาลแพร
โรงพยาบาลลำปาง
โรงพยาบาลลำพูน
โรงพยาบาลศรีสังวาลย
โรงพยาบาลแมสอด คลินิกแมตาว
โรงพยาบาลฝาง
เชียงราย
พะเยา
นาน
แพร
ตาก
ลำปาง
ลำพูน
แมฮองสอน
ยังไมพรอมใหเขาไปดำเนินการ
เขาไปดำเนินการ วางแนวทางรวมกัน
เขาไปดำเนินการ และเริ่มสงตอขอมูลรวมกัน
One stop Data Operation
Center
CLP
จัดทำ โปรแกรม CLP Data ใชในการทำงานรวมกัน ระหวางศูนย ฯ และทีมบุคลากรเครือขาย ใน
8 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อเก็บเปนฐานขอมูลการรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว โดยจะเสร็จสิ้นในป
2559 ซึ่งไดประสานงานความรวมมือกับ ศูนยวิเคราะหขอมูลและสรางองคความรูทางสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยเชียงใหม (DAkSH)
Program and application
Start
2558 2558 2559 2560 2561
1. ทีมนักพัฒนาระบบ พูดคุย
วิเคราะหความตองการ
2. การกำหนดและคุณสมบัติของ
โปรแกรม (Specification)
3. การออกแบบ(Design)
4. ทีมพัฒนาระบบ นำขอมูล แยก
ประเภทขอมูล การรักษาโดย
Phase 1 การรักษาขอมูล register
ของผูปวย
Phase 2 Protocol การรักษา
Phase 3 ระบบ concult
phase 4 ระบบ appointment
5. การทดสอบการทำงานของ
โปรแกรม(Testing)โดยทดลองใช
ที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
1. ทีมพัฒนาระบบ นำเสนอ
โปรแกรม Version 1 กับ
โรงพยาบาลเครือขาย
2. ทีมพัฒนาระบบรวมกับ
ศูนยแกไขความพิการบริเวณ
ใบหนา จัดอบรมการใชงาน
โปรแกรม
1. ทีมพัฒนาระบบ นำเสนอ
โปรแกรม Version 2 กับ
โรงพยาบาลเครือขาย
1. ดูแล บำรุงรักษาโปรแกรม
และชวยวิเคราะหขอมูลที่ได
การพัฒนาแนวทางการรักษา
KM Research and
Innovation
12 2558
• ปรับปรุง website ของศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศรีษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม
http://cleft.med.cmu.ac.th/ เพื่อประชาสัมพันธศูนยและเผยแพรความรูตางๆ ใหทันสมัยเปน
สื่อกลางในการทำงาน
• จัดทำ X-stand สำหรับใชในการนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการ ประจำป 2558 ของ
สมาคมความพิการปากแหวง เพดานโหว ใบหนาและศีรษะแหงประเทศไทย เพื่อเปนแหลงเรียนรู
และสรางองคความรูแกผูเขารวมการประชุม ทั้งยัง upload เนื้อหา ขึ้นไปเผยแพร บน Website
ของ ศูนยฯ
• โครงการสรางเครือขายความรวมมือเพื่อการดูแลผูปวยปากแหวงและเพดานโหวในระบบ
หลักประกันสุขภาพแหงชาติ “One stop Network for Care Process” และจัดอบรม
โปรแกรมการสงตอขอมูล ที่จะนำไปใชเชื่อมตอขอมูลการรักษา ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ
โดยคาดหวังใหขอมูลเดินทางแทนผูปวยและครอบครัวที่ตองเดินทางเขามารับการรักษาดวย
ระยะทางที่ไกล
( )
ไดรับการสนับสนุนและรวมขับเคลื่อนโครงการ One stop Network for Care Process
ในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อสงตอขอมูล ใหเกิดฐานขอมูลที่เปนฐานขอมูลใน 8 จังหวัดภาคเหนือ
ในการดูแลรักษา และสงตอผูปวย ปากแหวงเพดานโหว และ พิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศรีษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ได รับการสนับสนุนพัฒนาระบบ
สารสนเทศ (Information System) ในการทำงานของ เครือขาย ของ 8 จังหวัดภาคเหนือ และ
ขอบชายแดนไทย-เมียนมา จังหวัดตาก
• นำขอมูลที่เกิดจาก การทำงานของเครือขาย มาพัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวของและสังเคราะหองคความรู
จากการดำเนินการมาพัฒนาแนวปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practice) รวมทั้งถายทอดองคความรูตางๆ
สูผูที่เกี่ยวของ ทั้งในแงของงานวิจัยและนักปฏิบัติ (ตามหลักการของ TQA 4.1และ 4.2)
• เพื่อนำองคความรูที่ได มาพัฒนาขอเสนอทางนโยบายที่เหมาะสมตอองคกรที่เกี่ยวของ เชน สสส.
ศูนยแกไขความพิการบริเวณ
ใบหนาและศีรษะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม
One stop network
One stop Network for
care process
One Data base
KM Research
and innovation
พัฒนาระบบ
สารสนเทศ
Information System
นำองคความรูที่ได
พัฒนาดานวิจัย
Research and innovation
สำนักงานหลักประกันสุขภาพ
แหงชาติ (สปสช) และ สธ.
ศูนยวิเคราะหขอมูลและสราง
องคความรูทางสาธารณสุข
(Center of Data Analytics and
Knowledge Synthesis for Healthcare)
ปรับเปลี่ยนนโยบาย Payer
Nasoform
2558
OPD
โรค
Cleft lip cleft palate
FEEM
Microtia
Craniosynostosis
Facial Cleft
TMJ ankylosis
TMJ Disorder
รวม
1360
184
182
15
35
15
10
1,801
จำนวน(ครั้ง)
2558
โรค
Cleft lip cleft palate
FEEM
Microtia
Facial Cleft
Post traumatic craniofacial deformity
83
11
16
2
106
208รวม
จำนวน (ราย)
2558
โรค
Cleft lip cleft palate
FEEM
Microtia
Facial Cleft
Post traumatic craniofacial deformity
124
16
33
7
450
630รวม
จำนวน (หัตถการ)
หัตถการ
cheiloplasty
cheilopalatoplasty
palatoplasty
alveolar bone graft
CLN correction
18
10
27
9
14
5อื่น ๆ
จำนวน (ราย)
Nasoform
ป
2556
2557
2558
59
32
32
Nasoform แกไขริมฝปาก-
จมูก ครั้งแรก
38
15
34
21
17
8
แกไขริมฝปาก-
จมูก ซ้ำ
Ortho-Maxilo-plastic conference
จำนวน (ราย)
43
ENT-Plastic conference
จำนวน (ราย)
48
• จำนวนผูปวย ที่ไดรับการดูแล ประสานงาน จากโครงการ One stop network
จำนวน 173 คน จากจำนวนผูปวยที่เขารับการรักษา 280 คน คิดเปน 91.78 %
ของผูปวยที่เขามารับการตรวจทั้งหมด(จากขอมูลผูปวยโรงพยาบาลมหาราชนคร
เชียงใหม และโรงพยาบาลเครือขายที่สง ขอมูลผูปวยมาวางแผนการรักษา )
โรงพยาบาล
โรงพยาบาลนาน
โรงพยาบาลแพร
โรงพยาบาลจอมทอง
คณะทันตแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม
โรงพยาบาลฝาง
2
3
3
85
20
30โรงพยาบาลแมฮองสอน
โรงพยาบาลลำปาง
โรงพยาบาลลำพูน
โรงพยาบาลแมสอด
5
10
15
173รวม
จำนวน (ราย)
• ดำเนินการจัดงานประชุมวิชาการครั้งที่ 7
ประจำป 2557 ของสมาคมความพิการ
ปากแหวงเพดานโหวใบหนาและศีรษะแหง
ประเทศไทย ในหัวขอ “เครือขายความ
รวมมือเพื่อแกไขภาวะปากแหวงเพดานโหว”
กลุมเปาหมาย
ทันตแพทย
แพทย
พยาบาล
ลงทะเบียน
18
46
55
10
129
รวม
รวม
19
92
104
37
252
โควตา
1
46
49
27
123
จำนวนคน
อาจารย นักสังคมสงเคราะห นักแกไขการพูด
นักเวชศาสตรสื่อความหมาย นักวิจัย เจาหนาที่
และ นักศึกษาปริญญาโท ทันตแพทย
• ระดับที่ 1 ระดับจังหวัด ไดเกิดมาเชื่อมโยงความรวมมือ และ การวางตัว บุคลากร
หลักในการดูแลรักษาตามสหสาขาวิชาชีพ ทำใหเกิด เครือขายและ การรักษาผูปวย
ปากแหวงเพดานโหว ที่ครบวงจรมากขึ้น ประกอบไปดวย
• ระดับที่ 2 ระดับภูมิภาค จากการประชุม ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีมติจัดตั้ง เครือขาย One stop service 8 จังหวัด ภาคเหนือ
โดยประกอบไปดวย
จังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงใหม
จังหวัดแมฮองสอน จังหวัดพะเยา
จังหวัดลำพูน
จังหวัดตาก
จังหวัดลำปาง
จังหวัดนาน
จังหวัดแพร
โรงพยาบาลนครพิงค โรงพยาบาลฝาง
และโรงพยาบาลจอมทอง
โรงพยาบาลตาก และ
โรงพยาบาลแมสอด
โรงพยาบาลแมฮองสอน
โรงพยาบาลลำพูน
โรงพยาบาลพะเยา
โรงพยาบาลนาน
โรงพยาบาลแพร
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
โรงพยาบาลศูนยลำปาง
• ระดับที่ 3 ระดับประเทศ แบงออกเปน 3 สวน
• สวนที่ 1 ระดับเครือขาย ระหวาง 7 ศูนยในประเทศไทยและ 1 สถานดูแล
Phase 3 Thailand cleft Network
ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม (CMU Craniofacial Center)
ศูนยการดูแลผูปวยปากแหวงเพดานโหว
และความพิการแตกำเนิดของศีรษะและใบหนา มหาวิทยาลัยขอนแกน
(Center of Cleft Lip-Cleft Palate and Craniofacial
ศูนยปากแหวง เพดานโหว โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
(Nakornrajsrima hospital)
สถานรักษาปากแหวงเพดานโหว มหาวิทยาลัยนเรศวร
(NU Cleft & Craniofacial Center)
ศูนยสมเด็จพระเทพรัตนฯ แกไขความพิการบนใบหนาและกะโหลกศีรษะ
รพ.จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย (Princess Sirindhorn Craniofacial Center
ศูนยศัลยกรรมแกไขความพิการของศีรษะและใบหนา รามาธิบดี
(Ramathipbodi Cleft-Craniofacial Center)
ศูนยผูปวยปากแหวง เพดานโหว และพิการแตกำเนิดบริเวณศีรษะ ใบหนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
(Cleft Lip/Palate and Craniofacial Anomalies Center, Prince of Songkla University)
โรงพยาบาลศิริราช (Siriraj hospital)
สงขลา
เชียงใหม
นครราชสีมา
กรุงเทพฯ
ขอนแกน
• สวนที่ 2 คือ ระดับสมาคม
• หลังจากการประชุม คาดวา สมาคมความพิการปากแหวง เพดานโหว
ใบหนาและศีรษะแหงประเทศไทย , สมาคมแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย ,
สมาคมศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลแหงประเทศไทย ,
สมาคมศัลยแพทยตกแตงแหงประเทศไทย ฯลฯ ที่จะรวมมือกันอยางเปนระบบ
รูปธรรมมากขึ้น
• สวนที่ 3 ระดับ ภาคสวนงานอื่นๆ
• เริ่มมีภาคสวนงานอื่นเขามามีสวนเกี่ยวของชวยเหลือ ในการรักษาผูปวย
ปากแหวงและหรือเพดานโหวแบบยั่งยืน เชน MTEC , NECTEC
Poster
2558
.
“
”
ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการมูลนิธิ โรงพยาบาล สวนดอก ใหจัดตั้ง “กองทุนแกไขความ
พิการบริเวณใบหนาและศีรษะ” โดยเปนหนึ่งในกองทุนตางๆของมูลนิธิ รพ สวนดอก
คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อเปนชองทางหนึ่งในการรับบริจาคจากผูที่มี
จิตศรัทธาตองการมีสวนรวมในการรักษา และพัฒนาการรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว
และพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ(สามารถใชลดหยอนภาษีได)
โดยบริจาคผานบัญชี 566-404844-0 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาคณะแพทยศาสตร
เชียงใหม โดยระบุวา เพื่อ “กองทุนแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ”
ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
ทีม PCT Craniofacial โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
นางสาววัชราภรณ สิทธิคำทับ
นายสุริยา สิทธิคำ
นางสาวพิชามญช จอมทัน
นางสาวกมลชนก คำมาบุตร
นพ.กฤษณ ขวัญเงิน

More Related Content

Similar to E book2015-new

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
Komsan Iemthaisong
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
cmucraniofacial
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
Thira Woratanarat
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56Met Namchu
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูsupraneemahasaen
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูsupraneemahasaen
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
Pattie Pattie
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
softganz
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
Thorsang Chayovan
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
Utai Sukviwatsirikul
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Kamol Khositrangsikun
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
Makin Puttaisong
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพanira143 anira143
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model test
KedGedsana
 

Similar to E book2015-new (20)

ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
 
โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56โครงการและกำหนดการ15กพ56
โครงการและกำหนดการ15กพ56
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดูโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพน่าดู
 
Excellence In Otolaryngology
Excellence In OtolaryngologyExcellence In Otolaryngology
Excellence In Otolaryngology
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model test
 

E book2015-new

  • 2. Annual Report 2015Annual Report 2015 e-book
  • 3. รายงานประจำป 2558 ของศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม จัดทำขึ้นมาเพื่อนำเสนอผลการทำงาน ในป 2558 หวังเปนอยางยิ่งวารายงานฉบับนี้จะสามารถสรางแรงบันดาลใจ และคุณประโยชนใหแกผูปวย ครอบครัวผูปวย ผูใหการตรวจรักษา หนวยงาน หรือองคกรตางๆ รวมถึงผูอานทุกทานไมมากก็นอย และขอขอบพระคุณ ผูมีอุปการะคุณทุกทานมา ณ โอกาสนี้
  • 4. โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม ใหการดูแลผูปวย ที่มีความผิดปกติบริเวณ ใบหนาและศีรษะ โดยมี สหสาขาวิชาชีพ ที่พรอมในการใหบริการตรวจรักษา นอกเหนือจากนี้ ยัง มุงเนนการรักษาใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มากกวา การรักษาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวย โดยดำเนินโครงการ การสรางเครือขาย ความรวมมือ One Stop Network for Care Process ของทีมสหสาขาวิชาทีม ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ เปนสิ่งที่ดีที่ทำใหเกิดการบริการที่ครบวงจร และ ทำใหคุณภาพชีวิตของผูปวยเหลานี้ดีขึ้น โครงการนี้เปนโครงการที่ดีมาก นาสนับสนุนอยางยิ่ง ผศ.นพ.นิสิต วรรธนัจฉริยา ผูอำนวยการโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม
  • 5. ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยมีวิสัยทัศน คือ one stop service สำหรับการรักษาผูปวย เพื่อใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ ซึ่งนำมาใชจริงในระบบการตรวจ ทั้งที่หองตรวจ ผูปวยนอก หอผูปวยใน และ หองผาตัด ตลอดระยะเวลา 4 ป ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดรับการรวมมือรวมใจเปนอยางมากจากทีมสหสาขาวิชาชีพ มีการดำเนินงานอยางตอเนื่อง บรรลุวัตถุประสงคของการกอตั้งและตามพันธกิจที่มุงหวังไวเปนอยางดี ในป 2558 นี้ ทางศูนยไดดำเนินโครงการสรางเครือขายความรวมมือเพื่อการดูแลผูปวยปากแหวงเพดานโหว เครือขายทีมงานรักษาใน 8 จังหวัดภาคเหนือ โดยเริ่มจากสรางเครือขายของบุคลากรทางการแพทยที่มีความ ชำนาญเฉพาะดาน และใช เทคโนโลยีเขามาชวยในการทำงานสรางฐานขอมูลในการรักษา ใหครอบคลุม 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ประกอบดวย เชียงใหม ลำปาง แมฮองสอน เชียงราย แพร นาน ลำพูน และพะเยา รวมทั้ง ขอบชายแดนไทยเมียนมารจังหวัดตาก โดยจะมีการเชื่อมตอเครือขาย และฐานขอมูลกับศูนยแกไขความพิการบริเวณ ใบหนาและศีรษะ ใหฐานขอมูลเปนศูนยกลางของการรักษา เพื่อ เกิดการประสานงาน การรักษา การวางแผนการรักษา รวมกัน แมวาจะอยูตาง โรงพยาบาล หรือตางจังหวัดก็ตาม โดยกระจายการรักษา ใหเกิดไดในโรงพยาบาลที่ตั้งอยู บนพื้นที่หางไกล เนน การดูแลแบบ ผูปวยเปนศูนยกลาง (ผูชวยศาสตราจารยแพทยหญิงวิมล ศิริมหาราช) หัวหนาศูนย แกไขความพิการบริเวณ ใบหนาและศีรษะ
  • 6. . พื้นที่อำเภอฝาง แมอาย และไชยปราการ 3 อำเภอทางตอนเหนือของจังหวัดเชียงใหมอยูหางจากตัวจังหวัด เชียงใหมประมาณ 150 กิโลเมตร พบมีผูปวยปากแหวง เพดานโหว รวม 58 คน ในฐานะทันตแพทยรูสึกภาคภูมิใจคะ ที่ไดเปนสวนหนึ่งในทีม One Stop Network for Care Process ใหความชวยเหลือผูปวยกลุมนี้ รวมกับบุคลากร จากหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล ไดแกศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม และ ศูนยรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทีมบุคลากร ประกอบดวย สูตินรีแพทย กุมารแพทย โสต ศอ นาสิกแพทย ศัลยแพทยตกแตง วิสัญญีแพทย พยาบาล ทันตแพทยทั่วไป ทันตแพทยจัดฟน ทันตแพทยเฉพาะทางดานทันตกรรม ประดิษฐ ทันตแพทยเฉพาะทาง ดานศัลยศาสตร และแมกซิลโลเฟเชียล ทันตภิบาลในโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล ใกลบาน นักวจีบำบัด นักกิจกรรมบำบัด นักจิตเวช นักสังคมสงเคราะห ซึ่งจุดสำคัญของการดูแลผูปวยแบบสหสาขา คือการวางแผนการรักษารวมกันของแตละสาขาวิชาชีพซึ่งมีความสำคัญ ในแตละชวงวัยของผูปวย ทั้งนี้เพื่อใหการ ดูแลและแกไขความผิดปกติไดทันทวงทีและไดมาตรฐานตามหลักวิชาการ แตในสภาพความเปนจริง อุปสรรคในดาน การขาดบุคลากร ระยะทางที่หางไกล ความยากลำบากในการเดินทาง เหลานี้เปนปจจัยสำคัญอันทำใหผูปวย กลุมนี้ขาดการดูแลอยางเหมาะสมและตอเนื่อง ทำใหความผิดปกติบางอยางไมไดรับการแกไขอยางทันทวงที สงผล ใหเกิดเปนความผิดปกติอยางถาวร เชน รูปทรงจมูกผิดรูป ออกเสียงไมชัดเจน การสบฟนผิดปกติ สงผลตอบุคลิกภาพ และกระทบตอสภาพจิตใจผูปวย รวมถึงโอกาสในการเขาทำงาน และการใชชีวิตในสังคม..... ทันตแพทยหญิงอุบลวรรณ เสริมชัยวงศ โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม
  • 7. การใหความชวยเหลือและวางแผนดูแลผูปวยรวมกันอยางเปนระบบและตอเนื่องดวยการสรางเครือขายการ ดูแลผูปวยรวมกันโดยทีมสหสาขาแบบ One Stop Network for Care Process เชื่อมโยงจากบุคลากรใน สถานพยาบาลใกลบานคือ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบล ไปยังโรงพยาบาลชุมชน และไปยังสถานบริการที่มี ศักยภาพสูง จึงเปนคำตอบของการดูแลผูปวยกลุมนี้อยางแทจริง
  • 8. วิสัยทัศน คือ One Stop Network for Care Process ในการรักษาเพื่อใหผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ 3 1. One stop Network for Care Process Collaborative Network Project สรางเครือขายบุคลากรการรักษา ภาวะปากแหวงและหรือเพดานโหวในเขตภาคเหนือเพื่อใหผูปวยมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ 2. One Stop DATA Operation Center Cloud database Project (Program and Application) สรางฐาน ขอมูลผูปวยและการรักษาสำหรับผูปวยปากแหวงเพดานโหวภาคเหนือ มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อใหฐานขอมูล ในระดับจังหวัด,ระดับภูมิภาค และ ระดับประเทศ 3. KM Research and Innovation 3.1 Center of Knowledge Management เปนศูนยกลางในการ รักษาและรวบรวมขอมูลตางๆเกี่ยวกับการรักษา และนำไปสราง แนวทางการรักษาที่เปนมาตรฐานและไดรับการยอมรับสำหรับ โรงพยาบาลในเขตภาคเหนือ 3.2 Sharing and Technique Information คือ เผยแพร อบรม ใหความรูเกี่ยวกับแนวทางการรักษา บุคลากรในเครือขาย 3.3 Research and Development คือ ใหการสนับสนุนงานวิจัย และพัฒนาใหเกิดการจัดการความรูที่มีประสิทธิภาพ ONE STOP NETWORKVISION One stop Network One Data base The best excellence process One stop Network For care process Relationship Inspiration Recognize Collaborative network Project KM Research and Innovation Center of knowledge management, Sharing and Research เนนรักษาให เกิดประสิทธิภาพ จัดการความรู One stop Data Operation center Cloud database Project (Program and application)
  • 9. 1. ศูนยกลางการรักษาความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะชนิดเปนตั้งแตกำเนิด เชน ภาวะปากแหวง และหรือเพดานโหวเปนตน โดยดูแลรักษาตั้งแตอยูในครรภจนเจริญเติบโตเปนผูใหญ 2. ศูนยกลางการรักษาผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ จากอุบัติเหตุตางๆ เชน อุบัติเหตุทางจราจร เปนตน 3. ศูนยกลางการรักษาผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะหลังการผาตัดรักษาโรคตางๆ เชน ภาวะเนื้องอกบริเวณใบหนาและศีรษะ เปนตน 4. เปนศูนยกลาง ในการ อบรม การสรางแนวทางการรักษา การสราง KM และ นวัตกรรม ในการพัฒนาการดูแลผูปวยที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ 5. ผูปวยมีคุณภาพชีวิตที่ดีทุกชวงอายุ จนในที่สุดดำรงชีวิตและทำงานรวมกับคนในสังคมไดอยางปกติ 6. ศูนยกลางการชวยเหลือผูที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะชนิดเปนตั้งแตกำเนิด จากการ ประสบอุบัติเหตุ และ เกิดหลังจากการผาตัดรักษาโรคตางๆ 7. ศูนยกลางฐานขอมูลผูปวยที่มีความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะของภาคเหนือเพื่อนำไปสูฐานขอมูล ของผูปวยของประเทศไทย 8. ศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและเรียนรูสำหรับการดูแลรักษาผูปวยที่มีความพิการ บริเวณใบหนาและศีรษะ 9. ศูนยกลางดานการวิจัยที่เกี่ยวกับความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ โดยมีฐานขอมูลที่เกิดจาก ขอมูลของผูปวยในระดับจังหวัด ระดับภูมิภาคของภาคเหนือ และในระดับประเทศ
  • 10. One Stop Network For Care Process
  • 11. ดำเนินโครงการสรางเครือขายความรวมมือ โรงพยาบาลเครือขาย เพื่อวางแผนการรักษาและ การสงตอขอมูลการ รักษารวมกัน ไดแก โรงพยาบาลฝาง โรงพยาบาลจอมทอง โรงพยาบาลศรีสังวาลย โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาล แมสอดและ โรงพยาบาลลำปาง วางมาตรฐาน แนวทางการรักษา รวมกัน ชวยเพิ่มศักยภาพการทำงานของบุคลากรในพื้นที่โรงพยาบาลเครือขาย ลดการสงตอ ผูปวยไดรับการรักษาตามแนวทางการรักษาเดียวกันแมอยูบนพื้นที่หางไกล
  • 13. CMU craniofacial Protocol 2015 Age Nurse Pediatrician Opthalmologist ENT Orthodontist & Pedodontist Plastic surgeon & Oral Maxillofacial Surgeon Prosthodontist Counseling for acceptation from parent consult for micrognathia and respiratory problem Counselling ( if consulted from obstetrician) ( if consulted from obstetrician) ( if consulted from obstetrician) 1. Counselling General evaluation and genetic test General eye examination Evaluate and Craniofacial conference with teams ( when indicated) ( at 1st visit ) ( one stop service) 2. breast feeding at least 6 months CMU-NAM (cont’d) & Oral hygiene instruction Otitis media evaluation & myringotomy with PE tube retention palatoplasty or cheilopalatoplasty (when indicated ) (If parent want to do ONE stage) 1.5 -3 year VPI evaluation by manner of speaking 2nd cleft lip nose correction Alveolar bone grafting 11-12 year Dental development evaluation Palatal fistular closure 12-18 year Orthodontic treatment Jaw surgery 2nd cleft lip nose correction (when indicate) After Jaw Sx Open rhinoplasty Nasoalveolar molding (CMU-NAM) General ear examination & hearing evaluation by Otoacoustic emissions (OAE) test Prenatal 0-3 month 3-4 month Cheiloplasty with primary cleft lip nose correction Post operative day 7 – 14 on nasoform Growth and development evaluation Otitis media evaluation & treatment Yearly ENT examination 4-5 year 5-9 year VA & anterior eye segment evaluation Post operative day 7 – 14 on nasoform 2nd cleft lip nose correction & VPI correction (when indicate) 17-18 years Orthodontic treatment for jaw surgery 3. Co-ordination between teams Post operative day 7 – 14 on nasoform Post operative day 7 – 14 on nasoform Dental care VPI evaluation by fiber opticnasopharyngeal scope 9-11 year Orthodontic treatment for alveolar bone grafting 4-9 month 9-18 month Speech therapist Speech therapy after palatoplasty Speech therapy after VPI correction Speech therapy after palatoplasty or VPI correction
  • 14. พยาบาล หมอเด็ก หมอตา นักฝกพูดหมอ หู คอ จมูก ทันตกรรม จัดฟน ศัลยแพทย ผาตัด ทันตกรรม ประดิษฐ Nurse Pediatrician Opthalmologist ENT Prosthodontist Speech therapist Orthodontist & Pedodontist A B C A B C Plastic surgeon & Maxillofacial
  • 15. กลุมเปาหมาย/พื้นที่ดำเนินงาน เชียงใหม โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห คณะทันตแพทยศาสตร มช. โรงพยาบาลนครพิงค โรงพยาบาลจอมทอง โรงพยาบาลพะเยา โรงพยาบาลนาน โรงพยาบาลแพร โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาลศรีสังวาลย โรงพยาบาลแมสอด คลินิกแมตาว โรงพยาบาลฝาง เชียงราย พะเยา นาน แพร ตาก ลำปาง ลำพูน แมฮองสอน ยังไมพรอมใหเขาไปดำเนินการ เขาไปดำเนินการ วางแนวทางรวมกัน เขาไปดำเนินการ และเริ่มสงตอขอมูลรวมกัน
  • 16. One stop Data Operation Center
  • 17. CLP จัดทำ โปรแกรม CLP Data ใชในการทำงานรวมกัน ระหวางศูนย ฯ และทีมบุคลากรเครือขาย ใน 8 จังหวัดภาคเหนือ เพื่อเก็บเปนฐานขอมูลการรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว โดยจะเสร็จสิ้นในป 2559 ซึ่งไดประสานงานความรวมมือกับ ศูนยวิเคราะหขอมูลและสรางองคความรูทางสาธารณสุข มหาวิทยาลัยเชียงใหม (DAkSH) Program and application Start 2558 2558 2559 2560 2561 1. ทีมนักพัฒนาระบบ พูดคุย วิเคราะหความตองการ 2. การกำหนดและคุณสมบัติของ โปรแกรม (Specification) 3. การออกแบบ(Design) 4. ทีมพัฒนาระบบ นำขอมูล แยก ประเภทขอมูล การรักษาโดย Phase 1 การรักษาขอมูล register ของผูปวย Phase 2 Protocol การรักษา Phase 3 ระบบ concult phase 4 ระบบ appointment 5. การทดสอบการทำงานของ โปรแกรม(Testing)โดยทดลองใช ที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม 1. ทีมพัฒนาระบบ นำเสนอ โปรแกรม Version 1 กับ โรงพยาบาลเครือขาย 2. ทีมพัฒนาระบบรวมกับ ศูนยแกไขความพิการบริเวณ ใบหนา จัดอบรมการใชงาน โปรแกรม 1. ทีมพัฒนาระบบ นำเสนอ โปรแกรม Version 2 กับ โรงพยาบาลเครือขาย 1. ดูแล บำรุงรักษาโปรแกรม และชวยวิเคราะหขอมูลที่ได การพัฒนาแนวทางการรักษา
  • 20.
  • 21. • ปรับปรุง website ของศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศรีษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม http://cleft.med.cmu.ac.th/ เพื่อประชาสัมพันธศูนยและเผยแพรความรูตางๆ ใหทันสมัยเปน สื่อกลางในการทำงาน • จัดทำ X-stand สำหรับใชในการนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการ ประจำป 2558 ของ สมาคมความพิการปากแหวง เพดานโหว ใบหนาและศีรษะแหงประเทศไทย เพื่อเปนแหลงเรียนรู และสรางองคความรูแกผูเขารวมการประชุม ทั้งยัง upload เนื้อหา ขึ้นไปเผยแพร บน Website ของ ศูนยฯ
  • 22.
  • 23. • โครงการสรางเครือขายความรวมมือเพื่อการดูแลผูปวยปากแหวงและเพดานโหวในระบบ หลักประกันสุขภาพแหงชาติ “One stop Network for Care Process” และจัดอบรม โปรแกรมการสงตอขอมูล ที่จะนำไปใชเชื่อมตอขอมูลการรักษา ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ โดยคาดหวังใหขอมูลเดินทางแทนผูปวยและครอบครัวที่ตองเดินทางเขามารับการรักษาดวย ระยะทางที่ไกล
  • 24. ( ) ไดรับการสนับสนุนและรวมขับเคลื่อนโครงการ One stop Network for Care Process ในการพัฒนาโปรแกรมเพื่อสงตอขอมูล ใหเกิดฐานขอมูลที่เปนฐานขอมูลใน 8 จังหวัดภาคเหนือ ในการดูแลรักษา และสงตอผูปวย ปากแหวงเพดานโหว และ พิการบริเวณใบหนาและศีรษะ
  • 25. ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศรีษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ได รับการสนับสนุนพัฒนาระบบ สารสนเทศ (Information System) ในการทำงานของ เครือขาย ของ 8 จังหวัดภาคเหนือ และ ขอบชายแดนไทย-เมียนมา จังหวัดตาก • นำขอมูลที่เกิดจาก การทำงานของเครือขาย มาพัฒนางานวิจัยที่เกี่ยวของและสังเคราะหองคความรู จากการดำเนินการมาพัฒนาแนวปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practice) รวมทั้งถายทอดองคความรูตางๆ สูผูที่เกี่ยวของ ทั้งในแงของงานวิจัยและนักปฏิบัติ (ตามหลักการของ TQA 4.1และ 4.2) • เพื่อนำองคความรูที่ได มาพัฒนาขอเสนอทางนโยบายที่เหมาะสมตอองคกรที่เกี่ยวของ เชน สสส.
  • 26. ศูนยแกไขความพิการบริเวณ ใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม One stop network One stop Network for care process One Data base KM Research and innovation พัฒนาระบบ สารสนเทศ Information System นำองคความรูที่ได พัฒนาดานวิจัย Research and innovation สำนักงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ (สปสช) และ สธ. ศูนยวิเคราะหขอมูลและสราง องคความรูทางสาธารณสุข (Center of Data Analytics and Knowledge Synthesis for Healthcare) ปรับเปลี่ยนนโยบาย Payer
  • 27.
  • 29.
  • 30. 2558
  • 31. OPD โรค Cleft lip cleft palate FEEM Microtia Craniosynostosis Facial Cleft TMJ ankylosis TMJ Disorder รวม 1360 184 182 15 35 15 10 1,801 จำนวน(ครั้ง)
  • 32. 2558 โรค Cleft lip cleft palate FEEM Microtia Facial Cleft Post traumatic craniofacial deformity 83 11 16 2 106 208รวม จำนวน (ราย)
  • 33. 2558 โรค Cleft lip cleft palate FEEM Microtia Facial Cleft Post traumatic craniofacial deformity 124 16 33 7 450 630รวม จำนวน (หัตถการ)
  • 34. หัตถการ cheiloplasty cheilopalatoplasty palatoplasty alveolar bone graft CLN correction 18 10 27 9 14 5อื่น ๆ จำนวน (ราย)
  • 37. • จำนวนผูปวย ที่ไดรับการดูแล ประสานงาน จากโครงการ One stop network จำนวน 173 คน จากจำนวนผูปวยที่เขารับการรักษา 280 คน คิดเปน 91.78 % ของผูปวยที่เขามารับการตรวจทั้งหมด(จากขอมูลผูปวยโรงพยาบาลมหาราชนคร เชียงใหม และโรงพยาบาลเครือขายที่สง ขอมูลผูปวยมาวางแผนการรักษา ) โรงพยาบาล โรงพยาบาลนาน โรงพยาบาลแพร โรงพยาบาลจอมทอง คณะทันตแพทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม โรงพยาบาลฝาง 2 3 3 85 20 30โรงพยาบาลแมฮองสอน โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาลแมสอด 5 10 15 173รวม จำนวน (ราย)
  • 38.
  • 39. • ดำเนินการจัดงานประชุมวิชาการครั้งที่ 7 ประจำป 2557 ของสมาคมความพิการ ปากแหวงเพดานโหวใบหนาและศีรษะแหง ประเทศไทย ในหัวขอ “เครือขายความ รวมมือเพื่อแกไขภาวะปากแหวงเพดานโหว”
  • 41. • ระดับที่ 1 ระดับจังหวัด ไดเกิดมาเชื่อมโยงความรวมมือ และ การวางตัว บุคลากร หลักในการดูแลรักษาตามสหสาขาวิชาชีพ ทำใหเกิด เครือขายและ การรักษาผูปวย ปากแหวงเพดานโหว ที่ครบวงจรมากขึ้น ประกอบไปดวย
  • 42. • ระดับที่ 2 ระดับภูมิภาค จากการประชุม ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีมติจัดตั้ง เครือขาย One stop service 8 จังหวัด ภาคเหนือ โดยประกอบไปดวย จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม จังหวัดแมฮองสอน จังหวัดพะเยา จังหวัดลำพูน จังหวัดตาก จังหวัดลำปาง จังหวัดนาน จังหวัดแพร โรงพยาบาลนครพิงค โรงพยาบาลฝาง และโรงพยาบาลจอมทอง โรงพยาบาลตาก และ โรงพยาบาลแมสอด โรงพยาบาลแมฮองสอน โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาลพะเยา โรงพยาบาลนาน โรงพยาบาลแพร โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห โรงพยาบาลศูนยลำปาง
  • 43. • ระดับที่ 3 ระดับประเทศ แบงออกเปน 3 สวน • สวนที่ 1 ระดับเครือขาย ระหวาง 7 ศูนยในประเทศไทยและ 1 สถานดูแล Phase 3 Thailand cleft Network ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม (CMU Craniofacial Center) ศูนยการดูแลผูปวยปากแหวงเพดานโหว และความพิการแตกำเนิดของศีรษะและใบหนา มหาวิทยาลัยขอนแกน (Center of Cleft Lip-Cleft Palate and Craniofacial ศูนยปากแหวง เพดานโหว โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา (Nakornrajsrima hospital) สถานรักษาปากแหวงเพดานโหว มหาวิทยาลัยนเรศวร (NU Cleft & Craniofacial Center) ศูนยสมเด็จพระเทพรัตนฯ แกไขความพิการบนใบหนาและกะโหลกศีรษะ รพ.จุฬาลงกรณ สภากาชาดไทย (Princess Sirindhorn Craniofacial Center ศูนยศัลยกรรมแกไขความพิการของศีรษะและใบหนา รามาธิบดี (Ramathipbodi Cleft-Craniofacial Center) ศูนยผูปวยปากแหวง เพดานโหว และพิการแตกำเนิดบริเวณศีรษะ ใบหนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร (Cleft Lip/Palate and Craniofacial Anomalies Center, Prince of Songkla University) โรงพยาบาลศิริราช (Siriraj hospital) สงขลา เชียงใหม นครราชสีมา กรุงเทพฯ ขอนแกน
  • 44.
  • 45.
  • 46. • สวนที่ 2 คือ ระดับสมาคม • หลังจากการประชุม คาดวา สมาคมความพิการปากแหวง เพดานโหว ใบหนาและศีรษะแหงประเทศไทย , สมาคมแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย , สมาคมศัลยศาสตรชองปากและแม็กซิลโลเฟเชียลแหงประเทศไทย , สมาคมศัลยแพทยตกแตงแหงประเทศไทย ฯลฯ ที่จะรวมมือกันอยางเปนระบบ รูปธรรมมากขึ้น • สวนที่ 3 ระดับ ภาคสวนงานอื่นๆ • เริ่มมีภาคสวนงานอื่นเขามามีสวนเกี่ยวของชวยเหลือ ในการรักษาผูปวย ปากแหวงและหรือเพดานโหวแบบยั่งยืน เชน MTEC , NECTEC
  • 48.
  • 49.
  • 51. ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการมูลนิธิ โรงพยาบาล สวนดอก ใหจัดตั้ง “กองทุนแกไขความ พิการบริเวณใบหนาและศีรษะ” โดยเปนหนึ่งในกองทุนตางๆของมูลนิธิ รพ สวนดอก คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เพื่อเปนชองทางหนึ่งในการรับบริจาคจากผูที่มี จิตศรัทธาตองการมีสวนรวมในการรักษา และพัฒนาการรักษาผูปวยปากแหวงเพดานโหว และพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ(สามารถใชลดหยอนภาษีได) โดยบริจาคผานบัญชี 566-404844-0 ธนาคารไทยพาณิชย สาขาคณะแพทยศาสตร เชียงใหม โดยระบุวา เพื่อ “กองทุนแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ”
  • 52. ศูนยแกไขความพิการบริเวณใบหนาและศีรษะ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม ทีม PCT Craniofacial โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม นางสาววัชราภรณ สิทธิคำทับ นายสุริยา สิทธิคำ นางสาวพิชามญช จอมทัน นางสาวกมลชนก คำมาบุตร นพ.กฤษณ ขวัญเงิน