SlideShare a Scribd company logo
วิธีจัดการปัญหาทางสุขภาพจิตเบื้องต้น
พญ.ชนกานต์ ชัชวาลา
จิตแพทย์ ระดับปฏิบัติการ
รพ.สวนสราญรมย์ กรมสุขภาพจิต
ปัญหาที่พบบ่อย
1. พฤติกรรมทาร้ายตนเอง หรือ ฆ่าตัวตาย
(Suicide and Para-suicide)
2. พฤติกรรมก้าวร้าว ทาร้ายผู้อื่น
(Aggression and Homicidal)
3. อาการทางจิตอย่างเฉียบพลัน ( Acute
psychosis)
ปัจจัยกระตุ้น
1. Biological Factor (เหตุทางชีวภาพ พันธุกรรม
และสารสื่อประสาท)
2. Psychological Factor (เหตุด้านพื้นฐานจิตใจ
ประสบการณ์ ในอดีตและโรคจิตเวชเดิม)
3. Social Factor ( เหตุด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม)
พฤติกรรมทาร้ายตนเอง หรือ ฆ่าตัวตาย
• โดยประมาณ 60% ของผู้ที่ฆ่าตัวตาย มีประวัติโรคซึมเศร้า
(Major depressive disorder)
• ผู้ที่ฆ่าตัวตายสาเร็จ มักมีประวัติพยายามฆ่าตัวตายมาก่อน
• ผู้ชาย มักประสบความสาเร็จในการฆ่าตัวตายกว่าผู้หญิง3เท่า
• ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ มีความเสี่ยงในการฆ่าตัวตายมากกว่า
• “การเข้าถึงอาวุธร้ายแรง”จัดเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด ในการฆ่าตัว
ตายสาเร็จ (ผลการศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกา)
สัญญาณเตือนของผู้ที่มีความคิดจะฆ่าตัวตาย
1. พฤติกรรมเปลี่ยนไปอย่างชัดเจน เศร้ามากขึ้น เงียบเฉยมากขึ้น ดู
ไม่สนใจการงาน ระเบียบวินัยหย่อนยาน
2. พฤติกรรม “สั่งเสีย” เช่น ทาพินัยกรรม บริจาคร่างกาย เขียน
จดหมายลาตาย
3. มีการวางแผนฆ่าตัวตาย ตระเตรียมอาวุธ อย่างเป็นจริงเป็นจัง
และน่าจะมีโอกาสประสบความสาเร็จในการสูง เช่น ไปซื้อ
อาวุธหรือตระเตรียมอาวุธแล้ว
วิธีการจัดการกับผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตายเบื้องต้น
• Duty to Protect ประเมินความเสี่ยงเพื่อตัดสินใจ ส่งต่อไป
ยังหน่วยพยาบาลที่มี Suicidal Precautionที่ดี
เพียงพอ
• การเข้าหาผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตายไม่ควรใช้วิธี “เกลี้ยกล่อมให้ยุติ
ความคิด” แต่ใช้วิธี “ฟังเรื่องราวอย่างเข้าใจ”
• แสดงความเห็นอกเห็นใจ และแสดงความห่วงใย อย่างจริงใจ
• พึงระวังว่า ผู้ที่มีความคิดฆ่าตัวตายบางคน สามารถเปลี่ยนเป็นผู้ที่
มีพฤติกรรมก้าวร้าวได้ทุกเมื่อ
พฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression and Homicidal)
• แยกสาเหตุเท่าที่จะทาได้ทันที คือ Psychosis /
non-psychosis
• Psychosis จะเห็นชัดจากหูแว่ว พูดคนเดียว มี
ท่าทีหวาดกลัว เพ้อคลั่ง ไม่รู้วันเวลาสถานที่เป็นต้น
• Non-psychosis ยังรู้ตัวดี รู้วันเวลาสถานที่
พูดคุยฟังเข้าใจ
ข้อพึงปฏิบัติในผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าว
• ปฏิบัติโดยระลึกเสมอว่า ผู้ป่วยอาจมีอาวุธร้ายแรงติดตัว
หรืออาจใช้สิ่งที่อยู่รอบตัวเป็นอาวุธได้ทุกเมื่อ
• แยกออกจากสิ่งกระตุ้น หรือสถานการณ์ตึงเครียด
• เปิดโอกาสให้ผู้ป่วย “เล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้น”โดยให้ระบาย
และแสดงความรู้สึกอย่างอิสระเพื่อลดความตึงเครียด
• ประเมินว่าจะใช้วิธี “จากัดพฤติกรรม”หรือไม่
• หากจากัดพฤติกรรมแล้ว ให้รีบส่งต่อหน่วยพยาบาลทันที
ข้อพึงระวังในผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าว
• ไม่เข้าหาเพียงลาพัง
• ไม่ควรนาเข้าไปอยู่ในห้องแคบ หรือ ปิด ต้องสามารถเฝ้ าระวังได้
ตลอดเวลา
• ไม่ใช้เสียงดัง ขู่ตะคอก ข่มขู่ เนื่องจากจะเป็น Stressorให้เกิด
พฤติกรรมก้าวร้าวมากยิ่งขึ้น
• พึงระลึกไว้เสมอว่า ผู้มีพฤติกรรมก้าวร้าว สามารถ เปลี่ยนมา“ทาร้าย
ตนเอง หรือฆ่าตัวตาย” ได้ทุกเมื่อ
• ในระหว่างการ “ฟังเรื่องราว”ที่ผู้ป่ วยระบาย หากบางช่วงที่ผู้ฟังรู้สึก
หวาดกลัว ให้ “ถอยออกจากสถานที่นั้นทันที”
เทคนิคในการ “ฟังเรื่องราวอย่างเข้าใจ”ผ่านการ “เล่า
เรื่องราวของผู้ป่ วย” (Narrative therapy)
• มีความจริงใจไม่เสแสร้ง โดยขอให้ผู้ป่วยอธิบายโดยใช้หลัก
what, when, where, why and who
• อย่าสรุปความเอาเอง บางส่วนที่สงสัยให้ถามเพื่อให้ผู้ป่วยได้อธิบาย
และสามารถระบายความตึงเครียดออกมาผ่านเรื่องราวที่เล่า
• ในทุกๆเรื่องราวที่ผู้ป่วยเล่า ให้ตรวจสอบ“ความรู้สึก(mood)”
และ “ความคิด (cognition)” ของผู้ป่วยเสมอ
• ผู้ฟังพึงควบคุมอารมณ์ของตนเองให้ดี หากคิดว่าไม่สามารถคุมได้
ให้ถอยออกมา( termination)
Acute Psychosis (ภาวะโรคจิตเฉียบพลัน)
• แยก Organic/non-organic จากการตรวจร่าง
การและซักประวัติอย่างละเอียด
• Organic ให้พึงระลึกถึง Substance ไว้เสมอ
• Substance มีได้ทั้ง intoxication( ซึ่งกิน
ระยะได้ถึง 1เดือนหลังการเสพ) และ Withdrawal
(จะต้องมีประวัติหยุด/ลดลงอย่างชัดเจน)
• ประเมินความเสี่ยงเพื่อจากัดพฤติกรรม และส่งต่อ “ทุก
ราย”
การจัดการเบื้องต้น
• ปฏิบัติตามสาเหตุ หากสงสัยว่าเป็น organic cause
ส่ง รพ.ทางกายเพื่อทาการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
• พึงระลึกว่า แม้จะเป็น non-organic ก็อาจมี
organic ร่วมด้วยได้เช่นกัน
• การจากัดพฤติกรรม หรือ Restrain 4รยางค์ ต้อง
ตรวจสอบว่าแข็งแรงพอ/แน่นเกินไปหรือไม่เสมอ และต้องให้
medicationเพื่อสงบร่วมด้วย
• Haldol max 20 mg/day, Valium 40
mg/day ให้แต่ละครั้งห่าง 30นาทีเป็นอย่างน้อย
คาถามพบบ่อย
• เมื่อไรจึงจะควรปลดอาวุธกาลังพล
ตอบ: เมื่อไม่ไว้ใจ
• จะบอกกาลังพลขอปลดอาวุธอย่างไร
ตอบ: บอกตามความจริง โดยกล่าวเฉพาะเรื่องความ
ห่วงใยในชีวิตและสวัสดิภาพของกาลังพล มากกว่าจะ
เน้นเรื่อง ความเจ็บป่วย ทุพลภาพ ปัญหาทางจิตใจ
ข้อควรระวัง
• “อาวุธนอกราชการ”-รวมไปถึงสิ่งที่อาจใช้เป็นอาวุธ
ได้และสิ่งเทียมอาวุธ
- ตรวจสอบอย่างรอบคอบ
- หากพบอาวุธดังกล่าว ให้เจรจาโดยตรง เพื่อขอคา
ยินยอมในการยึด(หรือฝากอาวุธ)
- กรณีที่ไม่ยินยอม ติดต่อญาติสายตรง เพื่อรับฝาก
อาวุธในฐานะทรัพย์สินอย่างหนึ่ง
Any Question?

More Related Content

Viewers also liked

อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์nok_bb
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้Phairot Odthon
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
tassanee chaicharoen
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
Khannikar Elle
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
Pha C
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
chalunthorn teeyamaneerat
 

Viewers also liked (9)

อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์อารมณ์การจัดการอารมณ์
อารมณ์การจัดการอารมณ์
 
เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้เครียดได้ก็หายได้
เครียดได้ก็หายได้
 
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
Conflict
ConflictConflict
Conflict
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 

วิธีจัดการความเครียด