SlideShare a Scribd company logo
1 of 84
Download to read offline
ÃÒ§ҹÊÃØ»ÊÓËÃѺ¼ÙŒºÃÔËÒÃ
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน
โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด
ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
(จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม)
เสนอ การเคหะแหงชาติ
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน
โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด
ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
(จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม)
เสนอ
การเคหะแหงชาติ
โดย
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
คณะที่ปรึกษาและควบคุม
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน
ปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด
สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) ปงบประมาณ 2557
คณะกรรมการกํากับการศึกษา
น.ส.อุบลวรรณ สืบยุบล รองผูวาการ การเคหะแหงชาติ
นางสาวิตรี โสภณ ผูอํานวยการฝายนโยบายและแผน
นายเทพฤทธิ์ ฤทธิณรงค รองผูอํานวยการฝายบริหารงานชุมชน 3
นายตอพงศ จําจด ผูอํานวยการกองนโยบายและยุทธศาสตร
ฝายนโยบายและแผน
นายปริญญา ฉายแสง ผูอํานวยการกองพัฒนาเมืองและจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่
ฝายการฟนฟูและพัฒนาเมือง
น.ส.สลักจิต พรมสุวรรณ ผูประสานงานโครงการฯ
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
คณะทํางาน
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน
ปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด
สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) ปงบประมาณ 2557
คณะที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
รองศาสตราจารย ดร.ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล ที่ปรึกษาโครงการ
ผูเชี่ยวชาญดานการวางแผนพัฒนาที่อยูอาศัย สถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม
ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิโรจน อนามบุตร ที่ปรึกษาโครงการ
ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาเมือง สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม การประเมินทัศนคติและสิ่งแวดลอม
คณะผูศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิงหนาท แสงสีหนาท หัวหนาโครงการและนักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบชุมชนเมือง สถาปตยกรรม สิ่งแวดลอม และกระบวนการมีสวนรวม
ศาสตราจารยเกียรติคุณ กําธร กุลชล นักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตร ทฤษฎีการออกแบบชุมชนเมือง และการนําแผนไปปฏิบัติ
อาจารย ดร.สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี นักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม และสิ่งแวดลอม
ผูชวยศาสตราจารย กัตติกา กิตติประสาร นักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม การวิเคราะหเชิงสถิติ
อาจารย สุพิชฌาย เมืองศรี นักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม การประเมินทัศนคติและสิ่งแวดลอม
อาจารย เหมือนแกว จารุดุล นักวิจัย
ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม
นายจักรพงษ มาพร ผูชวยวิจัย
นายสุรพงษ แจมนิยม ผูชวยวิจัย
นางสาวธนกร จุดาศรี ผูชวยวิจัย
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
คํานํา
ในปงบประมาณ 2557 การเคหะแหงชาติไดมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย
ศิลปากร ดําเนินการศึกษา ติดตาม และประเมินผลการตอบสนองวัตถุประสงคหลักของการดําเนินงาน
โครงการที่ไดดําเนินการแลวเสร็จ ภายใตชื่อ “โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการ
จัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ” ในกลุมจังหวัด
ภาคกลาง ประกอบดวยจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม ระยะเวลา
ดําเนินงาน 8 เดือน นับตั้งแตพฤษภาคม 2557
รายงานสรุปสําหรับผูบริหารนี้ ไดทําการสรุปภาพรวมของระเบียบวิธีวิจัย ขอมูล บทวิเคราะห และ
บทสรุปของการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/
แกไขปญหาชุมชนแออัดในกลุมจังหวัดภาคกลาง โดยมุงหมายใหเปนประโยชนตอการตรวจสอบผลตาม
วัตถุประสงคของโครงการที่ดําเนินงานแลวเสร็จ รวมถึงการตัดสินใจของการเคหะแหงชาติและภาคภาคีที่
เกี่ยวเนื่องตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาชุมชนแออัดในอนาคต
คณะผูศึกษา
คณะสถาปตยกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยศิลปากร
มกราคม 2558
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
สารบัญ
หนา
บทนํา 1
1. วัตถุประสงค 1
2. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ 1
3. กระบวนการศึกษา 2
4. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน 6
การประเมินบริบทแวดลอม (Context Evaluation) 8
การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation) 9
การประเมินกระบวนการดําเนินงาน (Process Evaluation) 10
การประเมินผลผลิต (Output Evaluation) 11
การประเมินผลลัพธ (Outcome Evaluation) 12
การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) 14
5. สรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน 16
ผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน 16
ปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงาน 21
ปจจัยสําคัญที่มีตอการดําเนินงาน 24
การดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ 25
6. บทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคภาคีที่เกี่ยวเนื่อง 27
ระยะสั้น (1-2 ป) 27
ระยะกลาง (3-4 ป) 28
ระยะยาว (5 ปขึ้นไป) 29
7. ขอเสนอแนะ 31
จังหวัดสมุทรปราการ 31
จังหวัดสมุทรสาคร 32
จังหวัดสมุทรสงคราม 33
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณที่ใชกับผูรับจางดําเนินงาน
ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณที่ใชกับการเคหะแหงชาติ
ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณที่ใชกับผูมีสวนเกี่ยวของในทองถิ่น
ภาคผนวก ง การสํารวจและติดตามผลการดําเนินงาน
ภาคผนวก จ การจัดนิทรรศการเพื่อการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน
ภาคผนวก ฉ การสัมภาษณ การเสวนา และการประชุมเชิงปฏิบัติการ
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
สารบัญภาพและตาราง
ภาพที่ หนา
1 องคประกอบของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ 3
แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ
2 องคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนา 4
ที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ
3 การสัมภาษณตัวแทนจากการเคหะแหงชาติ 6
4 การเสวนารวมกับตัวแทนจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงาน 7
5 ตัวอยางการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ 7
6 การประชุมรวมกับการเคหะแหงชาติ 7
7 การประชุมในจังหวัดสมุทรปราการ 7
8 การประชุมในจังหวัดสมุทรสาคร 8
9 การประชุมในจังหวัดสมุทรสงคราม 8
ตารางที่ หนา
1 การจําแนกกลุมเปาหมายตามองคประกอบของการประเมิน 5
2 การตอบรับของโครงการในปงบประมาณ 2552 ที่มีตอตัวชี้วัดถึงความสําเร็จในแตละขั้นตอน 17
ของการดําเนินงาน
3 สรุปปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงาน 22
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 1
รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร
การเคหะแหงชาติ ภายใตกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบ
ในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาชุมชนแออัดใหแกประชาชน ไดริเริ่มโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่
อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดรวมกับสถาบันการศึกษา องคกร และหนวยงานของรัฐและ
เอกชน โดยมุงหมายใหกลุมจังหวัด จังหวัด และทองถิ่นมีการพัฒนาที่อยูอาศัยในระดับเมืองรวมทั้งการปองกัน
และแกไขปญหาชุมชนแออัดในระดับพื้นที่ โดยมีกระบวนการเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นและการมีสวนรวมจาก
ทองถิ่นเปนสําคัญ
เพื่อติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข
ปญหาชุมชนแออัด การเคหะแหงชาติไดมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ดําเนิน
การศึกษา ติดตาม และประเมินผลโครงการที่ดําเนินงานแลวเสร็จในปงบประมาณ 2552 กลุมจังหวัดภาค
กลาง ไดแก
1) จังหวัดสมุทรปราการ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
2) จังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินการโดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
3) จังหวัดสมุทรสงคราม ดําเนินการโดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
1. วัตถุประสงค
1) เพื่อติดตามและประเมินผลในการตอบสนองวัตถุประสงคหลักและผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน
โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะ
แหงชาติ
2) เพื่อประเมินผลการดําเนินงานโครงการในการตอบสนองการบูรณาการยุทธศาสตรการพัฒนา
ประเทศ ภาค กลุมจังหวัด และจังหวัด
3) เพื่อวิเคราะห ปญหา อุปสรรค และปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จ และไมสําเร็จที่เกิดขึ้นในแตละ
กระบวนการของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข
ปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ เชน การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย การสราง
กระบวนการมีสวนรวม การเสริมสรางสมรรถนะหรือเสริมสรางศักยภาพการวางแผนดานที่อยู
อาศัย รวมทั้งโครงการหรือกิจกรรมนํารองทั้งระดับเมืองและระดับพื้นที่หรือชุมชน เปนตน
4) เพื่อการกําหนดบทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคีที่เกี่ยวเนื่องในกระบวนการพัฒนาที่อยู
อาศัยที่มีผลมาจากการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข
ปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ
2. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ
รูปแบบการประเมินผลโครงการที่เกี่ยวของกับการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน
โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ไดแก การประเมินที่เนน
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
2 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
วัตถุประสงค (Objective-Based Model) การประเมินที่เนนการตัดสินคุณคา (Judgmental Evaluation
Model) และการประเมินที่เนนการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ (Decision-Oriented Evaluation Model) ใน
การนี้ ปจจัยตางๆตั้งแตเริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ไดแก ปจจัยเขา ปจจัยออก ผลลัพธ ผลกระทบ เปาหมาย
การบริหาร และการจัดการ มีความสําคัญตอการประเมินผลซึ่งไดรับการพิจารณาจากองคประกอบของการ
ดําเนินงานโครงการฯจากขอกําหนดการจาง ตลอดจนการปฏิบัติงานของสถาบันการศึกษาผูรับจางที่เกิดขึ้น
จริงในขณะที่ดําเนินงานโครงการ
การประเมินผลโครงการแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ถูกเลือกใชเพื่อการติดตามและประเมินผล
โครงการดําเนินงานที่แลวเสร็จของการเคหะแหงชาติ ดังนี้
1) การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดลอม (Context Evaluation) เพื่อประเมินถึงการตอบรับของ
ความมุงหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานของโครงการที่มีตอพระราชบัญญัติ
กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542
2) การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation) เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพของขอกําหนดการจาง
เพื่อดําเนินงานโครงการในปงบประมาณ 2552
3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เพื่อประเมินถึงความครบถวนและความพึง
พอใจที่มีตอกระบวนการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข
ปญหาชุมชนแออัด กลุมจังหวัดภาคกลาง
4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เพื่อการประเมินผลผลิต (Output) ไดแก การไดมา
ซึ่งแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด และผลที่ไดรับจากการ
เสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย การประเมินผลลัพท (Outcome) ไดแก
การนําแผนฯไปปฏิบัติ การจัดตั้งงบประมาณ และ/หรือ การบูรณาการแผนฯเขาสูกลไกการ
พัฒนาที่อยูอาศัยของทองถิ่นในระดับตางๆ และการประเมินผลกระทบระยะยาว (Impact)
ไดแก ความเปนไปไดของทองถิ่นในการจัดการและพัฒนาที่อยูอาศัยและการปองกันแกไขปญหา
ชุมชนแออัดดวยตนเองในอนาคต
3. กระบวนการศึกษา
สมมุติฐานหลักของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน คือ การเสริมสรางสมรรถนะ
(Capacity Building) และกระบวนการมีสวนรวม (Participatory Process) ของทองถิ่นในการพัฒนาที่อยู
อาศัยสงผลสัมฤทธิ์ตอการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชน
แออัดของการเคหะแหงชาติ เนื่องดวยความสําเร็จของโครงการถูกชี้วัดจากความมุงหมายในการตอบสนองตอ
พรบ.การกระจายอํานาจในการจัดการและวางแผนดานที่อยูอาศัยใหแกทองถิ่น โดยประสงคใหจังหวัดและ
ทองถิ่นมีแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดจากกระบวนการเสริมสรางสมรรถนะ
และการมีสวนรวมในการจัดทําแผนเปนสําคัญ
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 3
ดําเนินการ
ได้เอง
บูรณาการแผน
ยุทธศาสตร์ของ
จังหวัด
จัดทําร่างแผน
รับฟังความ
คิดเห็น
ปรับปรุงแผน
เลือกโครงการ
นําร่อง
วางแผนแก้ไข
ปัญหา
แผนป้องกัน/แก้ไขปัญหา
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล ปรับปรุงแผน
วัตถุประสงค์
ของการเคหะ
แห่งชาติ
กระบวนการมีส่วนร่วม
ภาพที่ 1 องคประกอบของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ
แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ
กรอบแนวคิดของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ขางตนนี้ถูกใชในการออกแบบกระบวนการวิจัย
เพื่อการติดตามและประเมินผล การกําหนดขอบเขตขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ตลอดจน
การสุมกลุมตัวอยางในทองถิ่นเพื่อการสัมภาษณเชิงลึก โดยคัดเลือกจากผูที่เคยมีสวนรวมจริงในกระบวนการ
ดําเนินงานโครงการภายใตพื้นที่การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ซึ่ง
เปนตัวแทนทองถิ่นที่สามารถบงชี้ถึงความสําเร็จหรือไมสําเร็จจากการเสริมสรางสมรรถนะในการพัฒนาที่อยู
อาศัยของโครงการในปงบประมาณ 2552 ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงการตอบรับหรือไมตอบรับของโครงการ
ดําเนินงานของการเคหะแหงชาติที่มีตอแบบแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น อนึ่ง ความคิดเห็นจากบุคลากรอื่นในพื้นที่ไดรับการเก็บรวบรวมจากการประชุมกลุมยอยเพื่อวิเคราะห
ถึงปญหา อุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดําเนินงาน ตลอดจนบทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคภาคี
ที่เกี่ยวของในการพัฒนาที่อยูอาศัย ตัวแทนกรรมการ คณะทํางาน และผูประสานงานโครงการจากการเคหะ
แหงชาติ และตัวแทนคณะทํางานจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงานเปนกลุมตัวอยางที่สําคัญตอการ
ติดตามและประเมินผลเชนกัน
อางถึงองคประกอบของโครงการที่ไดรับการดําเนินงานแลวเสร็จในปงบประมาณ 2552 (ภาพที่ 1) ซึ่ง
มีกระบวนการดําเนินงานการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด โดยมีกลไก
ของการเสริมสรางสมรรถนะและกระบวนการมีสวนรวมของทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัยเปนสําคัญ ภาพที่
2 แสดงองคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู
อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ โดยสามารถจําแนกไดดังนี้ บริบท
แวดลอม ปจจัยเขา กระบวนการดําเนินงาน ผลผลิต ผลลัพท และผลกระทบระยะยาว
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
4 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
บริบทและความ
มุงหมายที่มีตอ
โครงการ
ปจจัยเขาจากขอ
กําหนดการจาง
ปงบประมาณ 2552
ผลลัพท ไดแก การ
นําแผนฯไปปฏิบัติ
ใชโดยทองถิ่น
การประเมินประสิทธิภาพ
การประเมินประสิทธิผล
กระบวนการดําเนินงาน
โครงการจัดทํา
แผนพัฒนาที่อยูอาศัย
และแผนปองกัน/แกไข
ปญหาชุมชนแออัด และ
การเสริมสรางสมรรถนะ
ผลผลิต ไดแก
แผนพัฒนาที่อยูอาศัย
แผนปองกัน/แกไขปญหา
ชุมชนแออัด และผลจาก
การเสริมสรางสมรรถนะ
ทองถิ่น
ผลกระทบ ไดแก
สมรรถนะทองถิ่นใน
การจัดการและพัฒนา
ที่อยูอาศัยในอนาคต
Context Input Process Output Outcome Impact
Product
ภาพที่ 2 องคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนา
ที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ
กระบวนการศึกษาแบงออกเปนสองสวนเพื่อการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน
1) การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการดําเนินงานโครงการดวยรูปแบบการประเมินที่
เนนวัตถุประสงค ซึ่งเปนการตรวจสอบวากระบวนการดําเนินงานและผลผลิต (แผนพัฒนาที่อยู
อาศัย แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด และสมรรถนะและประสบการณของทองถิ่นในการ
พัฒนาที่อยูอาศัย) สอดคลองกับปจจัยเขา (วัตถุประสงคและแนวทางดําเนินงานที่ถูกกําหนดใน
ขอกําหนดการจาง) หรือไม
2) การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) ของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน
ปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดในพื้นที่กรณีศึกษา 3 จังหวัด ดวยรูปแบบการประเมินที่เนนการ
ตัดสินคุณคาและการประเมินที่เนนการตัดสินใจ ซึ่งมีจุดมุงหมายเพื่อวินิจฉัยคุณคาของโครงการ
และเพื่อชวยใหการเคหะแหงชาติตัดสินใจถึงอนาคตของโครงการได โดยการตรวจสอบการตอบ
รับของผลลัพท (การนําแผนฯไปปฏิบัติ) และผลกระทบในระยะยาว (ศักยภาพทองถิ่นในการ
พัฒนาที่อยูอาศัย) ที่มีตอความมุงหมายของการเคหะแหงชาติในการสนับสนุนทองถิ่นใหมีการ
พัฒนาที่อยูอาศัยภายใตพรบ.การกระจายอํานาจ 2542 หรือไม
วิธีการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานมีขึ้นในลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพที่เนนการหา
รายละเอียดที่จะกอใหเกิดความรูความเขาใจเชิงลึกในประเด็นที่ทําการประเมิน โดยมิไดมุงเนนการเก็บขอมูล
เชิงปริมาณเนื่องจากองคประกอบและตัวแปรในการศึกษามีลักษณะเฉพาะเจาะจง กลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ
กับการประเมินองคประกอบของโครงการมีลักษณะเฉพาะเจาะจงเชนกัน (ตารางที่ 1)
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 5
ตารางที่ 1 การจําแนกกลุมเปาหมายตามองคประกอบของการประเมิน
กลุมเปาหมายของการเก็บขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบดานตางๆ ของโครงการ ไดแก
1) ผูบริหาร คณะกรรมการตรวจการจาง คณะทํางานและผูปฏิบัติงานของการเคหะแหงชาติที่
เกี่ยวของ โดยทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดานบริบทและผลกระทบของ
โครงการ
2) ผูรับจางดําเนินงานโครงการ ไดแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาฯธนบุรี และ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยจะทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดานปจจัยเขา
และผลกระทบ
3) ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่เปาหมาย ไดแก คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการนโยบายที่อยู
อาศัยจังหวัด หรือคณะทํางานโครงการในทองถิ่นที่ไดรับการแตงตั้งภายใตการดําเนินงาน
โครงการ ภาคีที่เกี่ยวของในสังกัดของสวนราชการ กลุมเอกชน ผูแทนภาคประชาชน และ
เครือขายชุมชนที่มีสวนรวมในการดําเนินงานโครงการภายในขอบเขตพื้นที่การจัดทําแผนฯ ซึ่ง
เปนกลุมเปาหมายหลักในการบงชี้ถึงความสําเร็จหรือไมสําเร็จของโครงการที่มีตอการสราง
ความรู ความเขาใจ ประสบการณ และการกระจายอํานาจใหแกทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย
ดังที่กลาวถึงไวในตอนตน โดยจะทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดาน
กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพท และผลกระทบ
เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก การสํารวจ การสัมภาษณ และการสนทนากลุมยอย โดย
การสํารวจนั้นจะมุงเนนรวบรวมขอมูลเชิงประจักษ เชน การดําเนินการตามแผนฯที่เปนรูปธรรม เปนตน
อยางไรก็ดี ขอมูลที่ใชเพื่อการประเมินสวนใหญไมสามารถมองเห็นเปนรูปธรรมได เชน ความคิดเห็นและความ
พึงพอใจตอประเด็นตางๆ ขอมูลในสวนนี้จึงตองอาศัยการรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณทั้งแบบมีโครงสราง
และไมมีโครงสรางเพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกตอประเด็นที่ศึกษา นอกจากนั้น การรวบรวมขอมูลทั้งเชิงลึกและเชิง
กวางยังมีขึ้นโดยการสนทนากลุมยอยระหวางกลุมเปาหมายกลุมตางๆ เพื่อใหเกิดการติดตามและประเมินผล
การประเมินผลโครงการ กลุมเปาหมาย
วัตถุประสงค
องคประกอบ
ของการประเมิน
การเคหะ
แหงชาติ
ผูรับจาง
ดําเนินงาน
ผูมีสวน
เกี่ยวของ
ในพื้นที่
การประเมินผลโครงการในการ
ตอบสนองวัตถุประสงคหลัก
การประเมินบริบท √
การประเมินปจจัยเขา √
การประเมินกระบวนการ √
การประเมินผลผลิต √
การประเมินเพื่อชวยในการตัดสิน
คุณคาและอนาคตของโครงการ
การประเมินผลลัพธ √
การประเมินผลกระทบ √ √ √
√
√
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
6 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
ครอบคลุมมิติและองคประกอบตางๆของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหา
ชุมชนแออัด
แนวทางการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปนการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพและการวิเคราะหขอมูลเชิง
ปริมาณ การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดเห็น ความพึงพอใจ การเรียนรู และการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีวิธีการวิเคราะห 3 แบบ ไดแก การวิเคราะหแบบอุปไนย (Analytic Induction)
การวิเคราะหโดยการจําแนกชนิดขอมูล (Typological Analysis) และการวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบขอมูล
(Constant Comparison) การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดเห็นที่มีตอคําถามกึ่งปดและ
คําถามปดถูกทําการวิเคราะหโดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่อใชอธิบายและ
เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปร สถิติที่ใชไดแก การแจกแจงความถี่และการนําเสนอดวยตาราง
กราฟ และแผนภูมิ การจัดตําแหนงและเปรียบเทียบโดยใชคารอยละหรือเปอรเซ็นต และการวัดความสัมพันธ
ระหวางตัวแปร
4. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน
ผลจากการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ
แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2552 กลุมจังหวัดภาคกลาง แบงออกเปน 6 ดาน ดังนี้
- ผลจากการประเมินบริบทแวดลอม
- ผลจากการประเมินปจจัยเขา
- ผลจากการประเมินกระบวนการดําเนินงาน
- ผลจากการประเมินผลผลิต
- ผลจากการประเมินผลลัพธ
- ผลจากการประเมินผลกระทบ
ภาพที่ 3 การสัมภาษณตัวแทนจากการเคหะแหงชาติ
ที่มา การสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 7
ภาพที่ 4 การเสวนารวมกับตัวแทนจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงาน
ที่มา การเสวนารวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
ภาพที่ 5 ตัวอยางการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่
ที่มา การสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
ภาพที่ 6 การประชุมรวมกับการเคหะแหงชาติ
ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
ภาพที่ 7 การประชุมในจังหวัดสมุทรปราการ
ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
8 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
การประเมินบริบทแวดลอม (Context Evaluation)
การประเมินบริบทแวดลอมของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหา
ชุมชนแออัดในจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงครามมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา
คณะทํางานจากการเคหะแหงชาติ ผูปฏิบัติงาน ผูประสานงาน และผูใหแนวทางการดําเนินงานแกผูรับจาง
ดําเนินงานและทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ ซึ่งถือเปนผูสรางบริบทแวดลอมของกระบวนการดําเนินงานให
เกิดขึ้นนั้น ไดดําเนินงานที่เปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ ภายใตหลักการและเหตุผลของ
พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542
หรือไม
ผลการประเมินพบวา บริบทแวดลอมของการดําเนินงานตอบสนองตอหลักการและเหตุผลดังกลาว
อยางชัดเจน โดยคณะทํางานจากการเคหะแหงชาติที่ปฏิบัติงาน ประสานงาน และใหแนวทางการดําเนินงาน
แกผูรับจางดําเนินงานและทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ เขาใจถึงความสัมพันธระหวางสองตัวแปรขางตนได
เปนอยางดี ตัวแทนจากการเคหะแหงชาติสามารถระบุถึงวัตถุประสงคและแนวทางการดําเนินงานโครงการได
อยางครอบคลุม ไดแก
1) การใหไดมาซึ่งแผนพัฒนาที่อยูอาศัยโดยกระบวนการมีสวนรวมที่เปนประโยชนในการบูรณาการเขา
เปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาจังหวัด การพัฒนาพื้นที่ตัวอยางที่มีความสอดคลองกับสภาพพื้นที่
เมืองและพื้นที่อยูอาศัยซึ่งเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาและฟนฟูเมือง ตลอดจนการดําเนินการให
ทองถิ่นเกิดกระบวนการมีสวนรวม พรอมทั้งสามารถวางแผนดานที่อยูอาศัยไดเอง
2) การใหไดมาซึ่งแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดแบบองครวมในแตละพื้นที่ โดย
กระบวนการมีสวนรวมจากหนวยงานทองถิ่นและชุมชนในกระบวนการดําเนินงาน โดยใหทองถิ่น
เกิดกระบวนการเรียนรูและสามารถจัดทําแผนและแนวทางการแกไขปญหาที่อยูอาศัย ตลอดจน
การสนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงกลไกระดับจังหวัดและชุมชนในการแกไขปญหาดานที่อยู
อาศัยในทิศทางเดียวกัน
ภาพที่ 8 การประชุมในจังหวัดสมุทรสาคร
ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
ภาพที่ 9 การประชุมในจังหวัดสมุทรสงคราม
ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 9
3) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย โดยสรางกระบวนการรวมคิด รวมทํา รวม
วางแผนของชุมชนและทองถิ่น สงเสริมใหทองถิ่นผูเขารวมโครงการมีประสบการณการแกไขปญหา
ดานที่อยูอาศัย ไดพัฒนาความรู ความเขาใจ และเพิ่มขีดความสามารถในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู
อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดไดในอนาคต
การประเมินผลในสวนนี้แสดงใหเห็นวา บริบทแวดลอมของการเคหะแหงชาติที่มีตอโครงการ
ดําเนินงานในปงบประมาณ 2552 มีความสัมพันธและมีความมุงหมายใหเกิดการถายทอดความรู
ประสบการณ และภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาที่อยูอาศัยใหแกทองถิ่นอยางครอบคลุม ภายใตพรบ.การ
กระจายอํานาจ 2542
การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation)
การประเมินปจจัยเขาของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชน
แออัดมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา รายละเอียดของขอกําหนดการจางเพื่อดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู
อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2552 มีความชัดเจนหรือไม ขั้นตอนการ
ดําเนินงานที่ถูกกําหนดไวมีความเหมาะสมและสอดคลองตอวัตถุประสงคหรือไม และสามารถนําไปปฏิบัติได
จริงบนพื้นที่ศึกษาหรือไม
การประเมินปจจัยเขาพบวารายละเอียดของขอกําหนดการจางฯไดครอบคลุมวัตถุประสงคและได
กําหนดแนวทางการดําเนินงาน 3 ดานอยางชัดเจน ไดแก
1) การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย
2) การจัดทําแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด
3) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนาที่อยูอาศัย
ผูรับจางดําเนินงานไดแกตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีและจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัยเห็นพองตรงกันวารายละเอียดของการดําเนินงานไดถูกกําหนดไวอยางชัดเจนถึงวัตถุประสงค
ขั้นตอนการดําเนินงาน การเตรียมความพรอม การศึกษารวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล รวมถึง
รายละเอียดของกิจกรรมตางๆในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย แผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด
และการเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนาที่อยูอาศัย
แตเมื่อทําการประเมินถึงความเหมาะสมของการนําขอกําหนดการจางลงสูการปฏิบัติพบวา
รายละเอียดตามขั้นตอนการดําเนินงานทั้งหมดนั้นไมสามารถดําเนินการไดอยางครบถวนภายในกรอบเวลาที่
กําหนด (15 เดือน) กลาวคือ
1) การดําเนินงานซึ่งมุงเนนใหทองถิ่นและผูที่เกี่ยวของในพื้นที่เกิดความตระหนัก เขาใจ และได
เรียนรูถึงปญหาดานที่อยูอาศัยและไดแนวคิดในการพัฒนาที่อยูอาศัยนั้นสามารถดําเนินการไดตาม
ขอกําหนดการจางภายในกรอบเวลาที่กําหนด
2) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นเพื่อใหสามารถจัดทําแผนดานที่อยูอาศัยดวยตนเองนั้นไมอาจ
เกิดขึ้นไดภายในระยะเวลาของการดําเนินงาน เนื่องดวย
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
10 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
- การสรางกระบวนการมีสวนรวม การชักจูงภาคภาคีตางๆใหเขารวมกระบวนการ ตลอดจน
การมีสวนรวมเพื่อแกไขปญหาดานที่อยูอาศัยจากทุกฝายในบางพื้นที่ ตองอาศัยระยะเวลา
ดําเนินงานมากกวาที่กําหนดไว
- การดําเนินงานจัดทําแผนพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับที่อยูอาศัยตองอาศัยความชํานาญการเฉพาะ
ดาน ซึ่งตองอาศัยระยะเวลาในการอบรมสรางความเขาใจและการถายทอดองคความรู
เหลานั้นใหแกทองถิ่นอยางตอเนื่อง
- การบูรณาการแผนพัฒนาที่อยูอาศัยใหเขากับการพัฒนาระดับตางๆ ไดแก จังหวัด กลุม
จังหวัด ภาค และประเทศ เปนภารกิจที่ตองอาศัยการประสานงานและการดําเนินงานรวมกัน
ระหวางหนวยงานภาครัฐทุกระดับในระยะยาว
การประเมินกระบวนการดําเนินงาน (Process Evaluation)
การประเมินกระบวนการดําเนินงานมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา แผนพัฒนาที่อยูอาศัยระดับเมืองและแผน
ปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการดําเนินการครบถวนทุกขั้นตอนตามที่กําหนดไวในขอกําหนดการจาง
หรือไม กระบวนการจัดทําแผนทั้งสองในแตละขั้นตอนมีขึ้นโดยกระบวนการมีสวนรวมหรือไม และผูมีสวน
เกี่ยวของในพื้นที่พึงพอใจกระบวนการจัดทําแผนทั้งสองหรือไม
ผลที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน
ปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดคลายคลึงกันในแตละจังหวัดของกลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัด
สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) กลาวคือ
1) ทุกจังหวัดไดรับการดําเนินงานจัดทําแผนฯที่ครบถวนทุกขั้นตอนตามที่ระบุไวในขอกําหนดการ
จางซึ่งถูกตรวจสอบจากรายงานฉบับสมบูรณรวมถึงการสัมภาษณทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของ
2) ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ไดมีสวนรวมในกระบวนการดําเนินงาน และมีความพึงพอใจใน
กระบวนการแตละขั้นตอน
การประเมินปฎิกิริยา (Reaction Evaluation) และการประเมินผลการเรียนรู (Learning
Evaluation) ภายใตการประเมินกระบวนการดําเนินงานพบวา ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ที่เคยเขารวมการ
ดําเนินงานโครงการในปงบประมาณ 2552 โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรสงคราม
มีความเขาใจถึงขั้นตอนการดําเนินงาน กระบวนการในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข
ปญหาชุมชนแออัด ตลอดจนรายละเอียดของแผนฯฉบับสมบูรณไดอยางแมนยํา ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงการ
ดําเนินงานโครงการและการสรางกระบวนการมีสวนรวมในการจัดทําแผนที่มีประสิทธิภาพ
การประเมินกระบวนการดําเนินงานโครงการในจังหวัดสมุทรปราการไดผลที่แตกตางกันใน
รายละเอียด กลาวคือ แมวาผูรับจางดําเนินงานไดดําเนินงานตามขั้นตอนตางๆที่ระบุไวในขอกําหนดการจาง
อยางครบถวน และผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่พึงพอใจในกระบวนการแตละขั้นตอน แตกลุมตัวอยางบางสวนไม
สามารถระบุถึงกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดได ไม
สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางแผนทั้งสอง และไมทราบถึงรายละเอียดของแผนฉบับสมบูรณ อนึ่ง ผล
การประเมินนี้เปนผลที่สามารถเกิดขึ้นจากปจจัยหลายดาน เชน ระดับความสนใจของบุคลากรทองถิ่นนั้นๆที่มี
ตอการดําเนินงานในปงบประมาณ 2552 ตลอดจนระดับของการจดจําไดของแตละบุคคลในปจจุบัน เปนตน
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 11
การประเมินผลผลิต (Output Evaluation)
การประเมินผลผลิตมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด
ไดถูกจัดทําขึ้นจนแลวเสร็จหรือไม แผนงานเหลานั้นและโครงการนํารองมีความชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติโดย
ทองถิ่นหรือไม และมีความเหมาะสมตอบริบทและสถานการณความตองการของทองถิ่นหรือไม
แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการดําเนินงานแลวเสร็จใน
ปงบประมาณ 2552 ซึ่งถูกตรวจสอบไดจากเลมรายงานฉบับสมบูรณ
1) จังหวัดสมุทรปราการ แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาล
ตําบลบางปู เทศบาลตําบลแพรกษา และองคการบริหารสวนตําบลแพรกษา โดยแบงออกเปน 6 กล
ยุทธ (11 แผนงาน) และ 1 โครงการนํารองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด
ไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับ 46 ชุมชนในเทศบาลตําบลบางปู โดยแบงออกเปน 6 กลยุทธ
(16 แผนงาน) และ 1 โครงการนํารองระดับพื้นที่
2) จังหวัดสมุทรสาคร แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาลนคร
สมุทรสาครและอําเภอเมืองสมุทรสาคร โดยแบงออกเปน 9 แผนยุทธศาสตร และ 3 โครงการนํา
รองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับ
เทศบาลนครสมุทรสาคร โดยแบงออกเปน 2 แผนยุทธศาสตร และ 1 โครงการนํารองระดับพื้นที่
3) จังหวัดสมุทรสงคราม แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาล
เมืองสมุทรสงครามและอําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยแบงออกเปน 9 แผนยุทธศาสตร และ 2
โครงการนํารองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการจัดทําขึ้นแลว
เสร็จสําหรับ 14 ชุมชนในเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม โดยแบงออกเปน 4 แผนยุทธศาสตร และ 1
โครงการนํารองระดับพื้นที่
อางถึงแผนงานดานตางๆขางตนนี้ การประเมินถึงความชัดเจนและความเหมาะสมของแผนตอการนําไป
ปฏิบัติไดผลที่แตกตางกันในแตละจังหวัด ดังนี้
1) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรปราการใหการยอมรับแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน
ปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดในหลายดาน แตเล็งเห็นวาแผนงานอีกหลายดานยังขาดความ
ชัดเจนและความเหมาะสมตอบริบทพื้นที่ในปจจุบัน เชน แผนการปองกันดินทรุดในพื้นที่จัดสรร
แผนการจัดรูปที่ดิน แผนพัฒนามาตรฐานที่อยูอาศัยใหเชารายยอยในชุมชน แผนแกไขกรรมสิทธิ์
ที่ดินและจัดทําที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย เปนตน ความไมชัดเจนและไมเหมาะสมดังที่
กลาวถึงมาจากการขาดรายละเอียดที่ชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติ และความไมสอดคลองกับการ
เปลี่ยนแปลงไปของบริบทเมืองและสถานการณดานที่อยูอาศัยในปจจุบัน
2) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรสาครหลายฝายยังมีขอสงสัยถึงความชัดเจนและความ
เหมาะสมของยุทธศาสตรการสรางความความมั่นคงในการอยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย แตผูมีสวน
เกี่ยวของในทองถิ่นสวนใหญใหการยอมรับแผนงานอื่นที่เหลือทั้งหมด ซึ่งสะทอนใหเห็นวา
แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดที่ไดดําเนินการแลวเสร็จใน
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง
12 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ
ปงบประมาณ 2552 ยังมีความชัดเจนและเหมาะสมตอบริบทและสถานการณดานที่อยูอาศัยของ
เมือง
3) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรสงครามยังมีขอสงสัยถึงแนวทางการปฏิบัติของแผนการ
แกไขปญหาบานเอื้ออาทรและแผนการรองรับความตองการที่อยูอาศัยของศูนยราชการใหม แตกลุม
ตัวอยางสวนใหญใหการยอมรับแผนงานอื่นทั้งหมด ซึ่งสะทอนใหเห็นวาแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ
แผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดที่ไดดําเนินการแลวยังมีความชัดเจนและเหมาะสมตอการ
นําไปใชในปจจุบัน
การประเมินผลลัพธ (Outcome Evaluation)
การประเมินผลลัพทมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา ทองถิ่นไดนําแผนที่ไดจัดทําแลวเสร็จในปงบประมาณ
2552 ไปบรรจุไวในแผนนโยบายของจังหวัดและชุมชนหรือไม ไดมีการจัดตั้งงบประมาณที่เกี่ยวเนื่องเพื่อนํา
แผนไปสูการปฏิบัติหรือไม หรือไดนําแนวคิดและแนวทางดําเนินงานไปใชในการพัฒนาที่อยูอาศัยโดยกลไก
ของทองถิ่นในทิศทางเดียวกันหรือไม เพื่อทําการประเมินผลลัพธอยางครอบคลุม การติดตามและประเมินผล
จึงดําเนินการขึ้นใน 2 ขั้นตอน คือ การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากหลักฐานเชิงประจักษ และ
การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่
จังหวัดสมุทรปราการ
การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากหลักฐานเชิงประจักษในจังหวัดสมุทรปราการพบวา
1) แผนงานและโครงการนํารองที่ไดจัดทําไวเมื่อปงบประมาณ 2552 บางดานไดรับการดําเนินงาน
ตอเนื่องอยูในปจจุบันโดยทองถิ่น เชน การพัฒนาพื้นที่สวนกลางเพื่อการนันทนาการและออก
กําลังกาย ศูนยเรียนรูทางธรรมชาติ และสํานักงานเทศบาลใหมของเทศบาลตําบลบางปู
2) ปรากฏแผนงานของทองถิ่นที่คลายคลึงกับแผนงานและโครงการนํารองที่ไดจัดทําไวจํานวนมาก
เชน โครงการ 1 โรงงาน 1 ชุมชนสรางความรวมมือกันในการจัดการสิ่งแวดลอม และแผนพัฒนา
ฟนฟูปาชายเลนและแนวชะลอคลื่นในชุมชน เปนตน
3) แผนงานอื่นๆในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดซึ่งผูรับจาง
ดําเนินงานไดจัดทําไวอีกหลายดานนั้นไมไดรับการดําเนินงานตอเนื่องโดยทองถิ่น
การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ไดรับผลที่
คลายคลึงกัน ดังนี้
1) แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดหลายดานซึ่งถูกจัดทําขึ้นเมื่อ
ปงบประมาณ 2552 ไดรับการนําไปปฏิบัติใชโดยตรงทั้งการจัดตั้งงบประมาณดําเนินงานและ
การบูรณาการเขาสูยุทธศาสตรของทองถิ่น แตขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกรวมถึงผลที่ไดจาก
การประชุมกลุมยอยรวมกับตัวแทนทองถิ่นจากภาคภาคีตางๆพบวา ผลลัพธเหลานี้ไมไดเกิดขึ้น
โดยตรงจากการดําเนินงานของโครงการ แตเนื่องดวยผูรับจางดําเนินงานไดทําการผนวกแผนงานและ
นโยบายของทองถิ่นหลายดานที่ดีและมีอยูแลวในขณะนั้นเขามาเปนสวนหนึ่งของแผนที่จัดทํา ซึ่งถือ
เปนกลไกหนึ่งในการดําเนินงานเพื่อบูรณาการและสรางความเชื่อมโยงระหวางแผนพัฒนาดานที่
อยูอาศัยกับแผนพัฒนาระดับตางๆของทองถิ่น
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด

More Related Content

Similar to โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด

Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
KKU Library
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
Dr.Choen Krainara
 
นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4
solomolree
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40
Weerachat Martluplao
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
nawaporn khamseanwong
 

Similar to โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด (10)

แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562 แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
แผนพัฒนาสามปี พ.ศ. 2560 - 2562
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
 
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
สรุปผลการสัมมนา โครงการขยายผลการขับเคลื่อนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและ...
 
นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4นโยบาย ภ.4
นโยบาย ภ.4
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40ข้อมูล สพม เขต 40
ข้อมูล สพม เขต 40
 
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒLoadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Loadแนวข้อสอบ นักประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 

More from Singhanat Sangsehanat

More from Singhanat Sangsehanat (14)

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
 
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
 
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
Roi Et urban development - การพัฒนาเมืองร้อยเอ็ด เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่ง...
 
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั...
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยและแผนป้องกัน/แก้ไขปัญหาชุมชนแออัด

  • 1. ÃÒ§ҹÊÃØ»ÊÓËÃѺ¼ÙŒºÃÔËÒà โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) เสนอ การเคหะแหงชาติ โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2. รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) เสนอ การเคหะแหงชาติ โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 3. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ คณะที่ปรึกษาและควบคุม โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน ปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) ปงบประมาณ 2557 คณะกรรมการกํากับการศึกษา น.ส.อุบลวรรณ สืบยุบล รองผูวาการ การเคหะแหงชาติ นางสาวิตรี โสภณ ผูอํานวยการฝายนโยบายและแผน นายเทพฤทธิ์ ฤทธิณรงค รองผูอํานวยการฝายบริหารงานชุมชน 3 นายตอพงศ จําจด ผูอํานวยการกองนโยบายและยุทธศาสตร ฝายนโยบายและแผน นายปริญญา ฉายแสง ผูอํานวยการกองพัฒนาเมืองและจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ ฝายการฟนฟูและพัฒนาเมือง น.ส.สลักจิต พรมสุวรรณ ผูประสานงานโครงการฯ
  • 4. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ คณะทํางาน โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน ปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัด สมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) ปงบประมาณ 2557 คณะที่ปรึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร รองศาสตราจารย ดร.ชัยสิทธิ์ ดานกิตติกุล ที่ปรึกษาโครงการ ผูเชี่ยวชาญดานการวางแผนพัฒนาที่อยูอาศัย สถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม ผูชวยศาสตราจารย ดร.รุจิโรจน อนามบุตร ที่ปรึกษาโครงการ ผูเชี่ยวชาญดานการพัฒนาเมือง สถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม การประเมินทัศนคติและสิ่งแวดลอม คณะผูศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.สิงหนาท แสงสีหนาท หัวหนาโครงการและนักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบชุมชนเมือง สถาปตยกรรม สิ่งแวดลอม และกระบวนการมีสวนรวม ศาสตราจารยเกียรติคุณ กําธร กุลชล นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานประวัติศาสตร ทฤษฎีการออกแบบชุมชนเมือง และการนําแผนไปปฏิบัติ อาจารย ดร.สินีนาถ ศุกลรัตนเมธี นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสถาปตยกรรม ภูมิสถาปตยกรรม และสิ่งแวดลอม ผูชวยศาสตราจารย กัตติกา กิตติประสาร นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม การวิเคราะหเชิงสถิติ อาจารย สุพิชฌาย เมืองศรี นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม การประเมินทัศนคติและสิ่งแวดลอม อาจารย เหมือนแกว จารุดุล นักวิจัย ผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบสถาปตยกรรม และภูมิสถาปตยกรรม นายจักรพงษ มาพร ผูชวยวิจัย นายสุรพงษ แจมนิยม ผูชวยวิจัย นางสาวธนกร จุดาศรี ผูชวยวิจัย
  • 5. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ คํานํา ในปงบประมาณ 2557 การเคหะแหงชาติไดมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร ดําเนินการศึกษา ติดตาม และประเมินผลการตอบสนองวัตถุประสงคหลักของการดําเนินงาน โครงการที่ไดดําเนินการแลวเสร็จ ภายใตชื่อ “โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการ จัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ” ในกลุมจังหวัด ภาคกลาง ประกอบดวยจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม ระยะเวลา ดําเนินงาน 8 เดือน นับตั้งแตพฤษภาคม 2557 รายงานสรุปสําหรับผูบริหารนี้ ไดทําการสรุปภาพรวมของระเบียบวิธีวิจัย ขอมูล บทวิเคราะห และ บทสรุปของการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/ แกไขปญหาชุมชนแออัดในกลุมจังหวัดภาคกลาง โดยมุงหมายใหเปนประโยชนตอการตรวจสอบผลตาม วัตถุประสงคของโครงการที่ดําเนินงานแลวเสร็จ รวมถึงการตัดสินใจของการเคหะแหงชาติและภาคภาคีที่ เกี่ยวเนื่องตอการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาชุมชนแออัดในอนาคต คณะผูศึกษา คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร มกราคม 2558
  • 6. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ สารบัญ หนา บทนํา 1 1. วัตถุประสงค 1 2. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ 1 3. กระบวนการศึกษา 2 4. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน 6 การประเมินบริบทแวดลอม (Context Evaluation) 8 การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation) 9 การประเมินกระบวนการดําเนินงาน (Process Evaluation) 10 การประเมินผลผลิต (Output Evaluation) 11 การประเมินผลลัพธ (Outcome Evaluation) 12 การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) 14 5. สรุปการประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน 16 ผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน 16 ปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงาน 21 ปจจัยสําคัญที่มีตอการดําเนินงาน 24 การดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพ 25 6. บทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคภาคีที่เกี่ยวเนื่อง 27 ระยะสั้น (1-2 ป) 27 ระยะกลาง (3-4 ป) 28 ระยะยาว (5 ปขึ้นไป) 29 7. ขอเสนอแนะ 31 จังหวัดสมุทรปราการ 31 จังหวัดสมุทรสาคร 32 จังหวัดสมุทรสงคราม 33 ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบสัมภาษณที่ใชกับผูรับจางดําเนินงาน ภาคผนวก ข แบบสัมภาษณที่ใชกับการเคหะแหงชาติ ภาคผนวก ค แบบสัมภาษณที่ใชกับผูมีสวนเกี่ยวของในทองถิ่น ภาคผนวก ง การสํารวจและติดตามผลการดําเนินงาน ภาคผนวก จ การจัดนิทรรศการเพื่อการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ภาคผนวก ฉ การสัมภาษณ การเสวนา และการประชุมเชิงปฏิบัติการ
  • 7. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ สารบัญภาพและตาราง ภาพที่ หนา 1 องคประกอบของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ 3 แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ 2 องคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนา 4 ที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ 3 การสัมภาษณตัวแทนจากการเคหะแหงชาติ 6 4 การเสวนารวมกับตัวแทนจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงาน 7 5 ตัวอยางการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ 7 6 การประชุมรวมกับการเคหะแหงชาติ 7 7 การประชุมในจังหวัดสมุทรปราการ 7 8 การประชุมในจังหวัดสมุทรสาคร 8 9 การประชุมในจังหวัดสมุทรสงคราม 8 ตารางที่ หนา 1 การจําแนกกลุมเปาหมายตามองคประกอบของการประเมิน 5 2 การตอบรับของโครงการในปงบประมาณ 2552 ที่มีตอตัวชี้วัดถึงความสําเร็จในแตละขั้นตอน 17 ของการดําเนินงาน 3 สรุปปญหาและอุปสรรคของการดําเนินงาน 22
  • 8. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 1 รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร การเคหะแหงชาติ ภายใตกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบ ในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการแกไขปญหาชุมชนแออัดใหแกประชาชน ไดริเริ่มโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่ อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดรวมกับสถาบันการศึกษา องคกร และหนวยงานของรัฐและ เอกชน โดยมุงหมายใหกลุมจังหวัด จังหวัด และทองถิ่นมีการพัฒนาที่อยูอาศัยในระดับเมืองรวมทั้งการปองกัน และแกไขปญหาชุมชนแออัดในระดับพื้นที่ โดยมีกระบวนการเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นและการมีสวนรวมจาก ทองถิ่นเปนสําคัญ เพื่อติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข ปญหาชุมชนแออัด การเคหะแหงชาติไดมอบหมายใหคณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร ดําเนิน การศึกษา ติดตาม และประเมินผลโครงการที่ดําเนินงานแลวเสร็จในปงบประมาณ 2552 กลุมจังหวัดภาค กลาง ไดแก 1) จังหวัดสมุทรปราการ ดําเนินการโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี 2) จังหวัดสมุทรสาคร ดําเนินการโดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 3) จังหวัดสมุทรสงคราม ดําเนินการโดยจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. วัตถุประสงค 1) เพื่อติดตามและประเมินผลในการตอบสนองวัตถุประสงคหลักและผลสัมฤทธิ์ของการดําเนินงาน โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะ แหงชาติ 2) เพื่อประเมินผลการดําเนินงานโครงการในการตอบสนองการบูรณาการยุทธศาสตรการพัฒนา ประเทศ ภาค กลุมจังหวัด และจังหวัด 3) เพื่อวิเคราะห ปญหา อุปสรรค และปจจัยที่นําไปสูความสําเร็จ และไมสําเร็จที่เกิดขึ้นในแตละ กระบวนการของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข ปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ เชน การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย การสราง กระบวนการมีสวนรวม การเสริมสรางสมรรถนะหรือเสริมสรางศักยภาพการวางแผนดานที่อยู อาศัย รวมทั้งโครงการหรือกิจกรรมนํารองทั้งระดับเมืองและระดับพื้นที่หรือชุมชน เปนตน 4) เพื่อการกําหนดบทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคีที่เกี่ยวเนื่องในกระบวนการพัฒนาที่อยู อาศัยที่มีผลมาจากการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข ปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ 2. แนวคิดและทฤษฏีที่เกี่ยวของ รูปแบบการประเมินผลโครงการที่เกี่ยวของกับการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน โครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ไดแก การประเมินที่เนน
  • 9. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 2 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ วัตถุประสงค (Objective-Based Model) การประเมินที่เนนการตัดสินคุณคา (Judgmental Evaluation Model) และการประเมินที่เนนการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ (Decision-Oriented Evaluation Model) ใน การนี้ ปจจัยตางๆตั้งแตเริ่มตนจนถึงสิ้นสุดโครงการ ไดแก ปจจัยเขา ปจจัยออก ผลลัพธ ผลกระทบ เปาหมาย การบริหาร และการจัดการ มีความสําคัญตอการประเมินผลซึ่งไดรับการพิจารณาจากองคประกอบของการ ดําเนินงานโครงการฯจากขอกําหนดการจาง ตลอดจนการปฏิบัติงานของสถาบันการศึกษาผูรับจางที่เกิดขึ้น จริงในขณะที่ดําเนินงานโครงการ การประเมินผลโครงการแบบซิปโมเดล (CIPP Model) ถูกเลือกใชเพื่อการติดตามและประเมินผล โครงการดําเนินงานที่แลวเสร็จของการเคหะแหงชาติ ดังนี้ 1) การประเมินบริบทหรือสภาวะแวดลอม (Context Evaluation) เพื่อประเมินถึงการตอบรับของ ความมุงหมาย วัตถุประสงค ตลอดจนแนวทางการดําเนินงานของโครงการที่มีตอพระราชบัญญัติ กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 2) การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation) เพื่อประเมินถึงประสิทธิภาพของขอกําหนดการจาง เพื่อดําเนินงานโครงการในปงบประมาณ 2552 3) การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) เพื่อประเมินถึงความครบถวนและความพึง พอใจที่มีตอกระบวนการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข ปญหาชุมชนแออัด กลุมจังหวัดภาคกลาง 4) การประเมินผลผลิต (Product Evaluation) เพื่อการประเมินผลผลิต (Output) ไดแก การไดมา ซึ่งแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด และผลที่ไดรับจากการ เสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย การประเมินผลลัพท (Outcome) ไดแก การนําแผนฯไปปฏิบัติ การจัดตั้งงบประมาณ และ/หรือ การบูรณาการแผนฯเขาสูกลไกการ พัฒนาที่อยูอาศัยของทองถิ่นในระดับตางๆ และการประเมินผลกระทบระยะยาว (Impact) ไดแก ความเปนไปไดของทองถิ่นในการจัดการและพัฒนาที่อยูอาศัยและการปองกันแกไขปญหา ชุมชนแออัดดวยตนเองในอนาคต 3. กระบวนการศึกษา สมมุติฐานหลักของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน คือ การเสริมสรางสมรรถนะ (Capacity Building) และกระบวนการมีสวนรวม (Participatory Process) ของทองถิ่นในการพัฒนาที่อยู อาศัยสงผลสัมฤทธิ์ตอการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชน แออัดของการเคหะแหงชาติ เนื่องดวยความสําเร็จของโครงการถูกชี้วัดจากความมุงหมายในการตอบสนองตอ พรบ.การกระจายอํานาจในการจัดการและวางแผนดานที่อยูอาศัยใหแกทองถิ่น โดยประสงคใหจังหวัดและ ทองถิ่นมีแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดจากกระบวนการเสริมสรางสมรรถนะ และการมีสวนรวมในการจัดทําแผนเปนสําคัญ
  • 10. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 3 ดําเนินการ ได้เอง บูรณาการแผน ยุทธศาสตร์ของ จังหวัด จัดทําร่างแผน รับฟังความ คิดเห็น ปรับปรุงแผน เลือกโครงการ นําร่อง วางแผนแก้ไข ปัญหา แผนป้องกัน/แก้ไขปัญหา ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล ปรับปรุงแผน วัตถุประสงค์ ของการเคหะ แห่งชาติ กระบวนการมีส่วนร่วม ภาพที่ 1 องคประกอบของการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กรอบแนวคิดของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ขางตนนี้ถูกใชในการออกแบบกระบวนการวิจัย เพื่อการติดตามและประเมินผล การกําหนดขอบเขตขอมูล วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะหขอมูล ตลอดจน การสุมกลุมตัวอยางในทองถิ่นเพื่อการสัมภาษณเชิงลึก โดยคัดเลือกจากผูที่เคยมีสวนรวมจริงในกระบวนการ ดําเนินงานโครงการภายใตพื้นที่การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ซึ่ง เปนตัวแทนทองถิ่นที่สามารถบงชี้ถึงความสําเร็จหรือไมสําเร็จจากการเสริมสรางสมรรถนะในการพัฒนาที่อยู อาศัยของโครงการในปงบประมาณ 2552 ตลอดจนสะทอนใหเห็นถึงการตอบรับหรือไมตอบรับของโครงการ ดําเนินงานของการเคหะแหงชาติที่มีตอแบบแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวน ทองถิ่น อนึ่ง ความคิดเห็นจากบุคลากรอื่นในพื้นที่ไดรับการเก็บรวบรวมจากการประชุมกลุมยอยเพื่อวิเคราะห ถึงปญหา อุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดําเนินงาน ตลอดจนบทบาทของการเคหะแหงชาติและภาคภาคี ที่เกี่ยวของในการพัฒนาที่อยูอาศัย ตัวแทนกรรมการ คณะทํางาน และผูประสานงานโครงการจากการเคหะ แหงชาติ และตัวแทนคณะทํางานจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงานเปนกลุมตัวอยางที่สําคัญตอการ ติดตามและประเมินผลเชนกัน อางถึงองคประกอบของโครงการที่ไดรับการดําเนินงานแลวเสร็จในปงบประมาณ 2552 (ภาพที่ 1) ซึ่ง มีกระบวนการดําเนินงานการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด โดยมีกลไก ของการเสริมสรางสมรรถนะและกระบวนการมีสวนรวมของทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัยเปนสําคัญ ภาพที่ 2 แสดงองคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ โดยสามารถจําแนกไดดังนี้ บริบท แวดลอม ปจจัยเขา กระบวนการดําเนินงาน ผลผลิต ผลลัพท และผลกระทบระยะยาว
  • 11. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 4 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ บริบทและความ มุงหมายที่มีตอ โครงการ ปจจัยเขาจากขอ กําหนดการจาง ปงบประมาณ 2552 ผลลัพท ไดแก การ นําแผนฯไปปฏิบัติ ใชโดยทองถิ่น การประเมินประสิทธิภาพ การประเมินประสิทธิผล กระบวนการดําเนินงาน โครงการจัดทํา แผนพัฒนาที่อยูอาศัย และแผนปองกัน/แกไข ปญหาชุมชนแออัด และ การเสริมสรางสมรรถนะ ผลผลิต ไดแก แผนพัฒนาที่อยูอาศัย แผนปองกัน/แกไขปญหา ชุมชนแออัด และผลจาก การเสริมสรางสมรรถนะ ทองถิ่น ผลกระทบ ไดแก สมรรถนะทองถิ่นใน การจัดการและพัฒนา ที่อยูอาศัยในอนาคต Context Input Process Output Outcome Impact Product ภาพที่ 2 องคประกอบของการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนา ที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดของการเคหะแหงชาติ กระบวนการศึกษาแบงออกเปนสองสวนเพื่อการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน 1) การประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการดําเนินงานโครงการดวยรูปแบบการประเมินที่ เนนวัตถุประสงค ซึ่งเปนการตรวจสอบวากระบวนการดําเนินงานและผลผลิต (แผนพัฒนาที่อยู อาศัย แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด และสมรรถนะและประสบการณของทองถิ่นในการ พัฒนาที่อยูอาศัย) สอดคลองกับปจจัยเขา (วัตถุประสงคและแนวทางดําเนินงานที่ถูกกําหนดใน ขอกําหนดการจาง) หรือไม 2) การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) ของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน ปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดในพื้นที่กรณีศึกษา 3 จังหวัด ดวยรูปแบบการประเมินที่เนนการ ตัดสินคุณคาและการประเมินที่เนนการตัดสินใจ ซึ่งมีจุดมุงหมายเพื่อวินิจฉัยคุณคาของโครงการ และเพื่อชวยใหการเคหะแหงชาติตัดสินใจถึงอนาคตของโครงการได โดยการตรวจสอบการตอบ รับของผลลัพท (การนําแผนฯไปปฏิบัติ) และผลกระทบในระยะยาว (ศักยภาพทองถิ่นในการ พัฒนาที่อยูอาศัย) ที่มีตอความมุงหมายของการเคหะแหงชาติในการสนับสนุนทองถิ่นใหมีการ พัฒนาที่อยูอาศัยภายใตพรบ.การกระจายอํานาจ 2542 หรือไม วิธีการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานมีขึ้นในลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพที่เนนการหา รายละเอียดที่จะกอใหเกิดความรูความเขาใจเชิงลึกในประเด็นที่ทําการประเมิน โดยมิไดมุงเนนการเก็บขอมูล เชิงปริมาณเนื่องจากองคประกอบและตัวแปรในการศึกษามีลักษณะเฉพาะเจาะจง กลุมเปาหมายที่เกี่ยวของ กับการประเมินองคประกอบของโครงการมีลักษณะเฉพาะเจาะจงเชนกัน (ตารางที่ 1)
  • 12. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 5 ตารางที่ 1 การจําแนกกลุมเปาหมายตามองคประกอบของการประเมิน กลุมเปาหมายของการเก็บขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบดานตางๆ ของโครงการ ไดแก 1) ผูบริหาร คณะกรรมการตรวจการจาง คณะทํางานและผูปฏิบัติงานของการเคหะแหงชาติที่ เกี่ยวของ โดยทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดานบริบทและผลกระทบของ โครงการ 2) ผูรับจางดําเนินงานโครงการ ไดแก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาฯธนบุรี และ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยจะทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดานปจจัยเขา และผลกระทบ 3) ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่เปาหมาย ไดแก คณะกรรมการอํานวยการ คณะกรรมการนโยบายที่อยู อาศัยจังหวัด หรือคณะทํางานโครงการในทองถิ่นที่ไดรับการแตงตั้งภายใตการดําเนินงาน โครงการ ภาคีที่เกี่ยวของในสังกัดของสวนราชการ กลุมเอกชน ผูแทนภาคประชาชน และ เครือขายชุมชนที่มีสวนรวมในการดําเนินงานโครงการภายในขอบเขตพื้นที่การจัดทําแผนฯ ซึ่ง เปนกลุมเปาหมายหลักในการบงชี้ถึงความสําเร็จหรือไมสําเร็จของโครงการที่มีตอการสราง ความรู ความเขาใจ ประสบการณ และการกระจายอํานาจใหแกทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย ดังที่กลาวถึงไวในตอนตน โดยจะทําการรวบรวมขอมูลเพื่อประเมินองคประกอบในดาน กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพท และผลกระทบ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ไดแก การสํารวจ การสัมภาษณ และการสนทนากลุมยอย โดย การสํารวจนั้นจะมุงเนนรวบรวมขอมูลเชิงประจักษ เชน การดําเนินการตามแผนฯที่เปนรูปธรรม เปนตน อยางไรก็ดี ขอมูลที่ใชเพื่อการประเมินสวนใหญไมสามารถมองเห็นเปนรูปธรรมได เชน ความคิดเห็นและความ พึงพอใจตอประเด็นตางๆ ขอมูลในสวนนี้จึงตองอาศัยการรวบรวมดวยวิธีการสัมภาษณทั้งแบบมีโครงสราง และไมมีโครงสรางเพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกตอประเด็นที่ศึกษา นอกจากนั้น การรวบรวมขอมูลทั้งเชิงลึกและเชิง กวางยังมีขึ้นโดยการสนทนากลุมยอยระหวางกลุมเปาหมายกลุมตางๆ เพื่อใหเกิดการติดตามและประเมินผล การประเมินผลโครงการ กลุมเปาหมาย วัตถุประสงค องคประกอบ ของการประเมิน การเคหะ แหงชาติ ผูรับจาง ดําเนินงาน ผูมีสวน เกี่ยวของ ในพื้นที่ การประเมินผลโครงการในการ ตอบสนองวัตถุประสงคหลัก การประเมินบริบท √ การประเมินปจจัยเขา √ การประเมินกระบวนการ √ การประเมินผลผลิต √ การประเมินเพื่อชวยในการตัดสิน คุณคาและอนาคตของโครงการ การประเมินผลลัพธ √ การประเมินผลกระทบ √ √ √ √ √
  • 13. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 6 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ ครอบคลุมมิติและองคประกอบตางๆของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหา ชุมชนแออัด แนวทางการวิเคราะหขอมูลแบงออกเปนการวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพและการวิเคราะหขอมูลเชิง ปริมาณ การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณภาพที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดเห็น ความพึงพอใจ การเรียนรู และการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม มีวิธีการวิเคราะห 3 แบบ ไดแก การวิเคราะหแบบอุปไนย (Analytic Induction) การวิเคราะหโดยการจําแนกชนิดขอมูล (Typological Analysis) และการวิเคราะหโดยการเปรียบเทียบขอมูล (Constant Comparison) การวิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณที่เกี่ยวเนื่องกับความคิดเห็นที่มีตอคําถามกึ่งปดและ คําถามปดถูกทําการวิเคราะหโดยใชสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เพื่อใชอธิบายและ เปรียบเทียบความแตกตางระหวางตัวแปร สถิติที่ใชไดแก การแจกแจงความถี่และการนําเสนอดวยตาราง กราฟ และแผนภูมิ การจัดตําแหนงและเปรียบเทียบโดยใชคารอยละหรือเปอรเซ็นต และการวัดความสัมพันธ ระหวางตัวแปร 4. การติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงาน ผลจากการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ แผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2552 กลุมจังหวัดภาคกลาง แบงออกเปน 6 ดาน ดังนี้ - ผลจากการประเมินบริบทแวดลอม - ผลจากการประเมินปจจัยเขา - ผลจากการประเมินกระบวนการดําเนินงาน - ผลจากการประเมินผลผลิต - ผลจากการประเมินผลลัพธ - ผลจากการประเมินผลกระทบ ภาพที่ 3 การสัมภาษณตัวแทนจากการเคหะแหงชาติ ที่มา การสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
  • 14. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 7 ภาพที่ 4 การเสวนารวมกับตัวแทนจากสถาบันการศึกษาผูรับจางดําเนินงาน ที่มา การเสวนารวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557) ภาพที่ 5 ตัวอยางการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ ที่มา การสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของ (2557) ภาพที่ 6 การประชุมรวมกับการเคหะแหงชาติ ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557) ภาพที่ 7 การประชุมในจังหวัดสมุทรปราการ ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
  • 15. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 8 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ การประเมินบริบทแวดลอม (Context Evaluation) การประเมินบริบทแวดลอมของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหา ชุมชนแออัดในจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงครามมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา คณะทํางานจากการเคหะแหงชาติ ผูปฏิบัติงาน ผูประสานงาน และผูใหแนวทางการดําเนินงานแกผูรับจาง ดําเนินงานและทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ ซึ่งถือเปนผูสรางบริบทแวดลอมของกระบวนการดําเนินงานให เกิดขึ้นนั้น ไดดําเนินงานที่เปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการ ภายใตหลักการและเหตุผลของ พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 หรือไม ผลการประเมินพบวา บริบทแวดลอมของการดําเนินงานตอบสนองตอหลักการและเหตุผลดังกลาว อยางชัดเจน โดยคณะทํางานจากการเคหะแหงชาติที่ปฏิบัติงาน ประสานงาน และใหแนวทางการดําเนินงาน แกผูรับจางดําเนินงานและทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ เขาใจถึงความสัมพันธระหวางสองตัวแปรขางตนได เปนอยางดี ตัวแทนจากการเคหะแหงชาติสามารถระบุถึงวัตถุประสงคและแนวทางการดําเนินงานโครงการได อยางครอบคลุม ไดแก 1) การใหไดมาซึ่งแผนพัฒนาที่อยูอาศัยโดยกระบวนการมีสวนรวมที่เปนประโยชนในการบูรณาการเขา เปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาจังหวัด การพัฒนาพื้นที่ตัวอยางที่มีความสอดคลองกับสภาพพื้นที่ เมืองและพื้นที่อยูอาศัยซึ่งเปนสวนหนึ่งของการพัฒนาและฟนฟูเมือง ตลอดจนการดําเนินการให ทองถิ่นเกิดกระบวนการมีสวนรวม พรอมทั้งสามารถวางแผนดานที่อยูอาศัยไดเอง 2) การใหไดมาซึ่งแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดแบบองครวมในแตละพื้นที่ โดย กระบวนการมีสวนรวมจากหนวยงานทองถิ่นและชุมชนในกระบวนการดําเนินงาน โดยใหทองถิ่น เกิดกระบวนการเรียนรูและสามารถจัดทําแผนและแนวทางการแกไขปญหาที่อยูอาศัย ตลอดจน การสนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงกลไกระดับจังหวัดและชุมชนในการแกไขปญหาดานที่อยู อาศัยในทิศทางเดียวกัน ภาพที่ 8 การประชุมในจังหวัดสมุทรสาคร ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557) ภาพที่ 9 การประชุมในจังหวัดสมุทรสงคราม ที่มา การประชุมรวมกับผูมีสวนเกี่ยวของ (2557)
  • 16. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 9 3) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการพัฒนาที่อยูอาศัย โดยสรางกระบวนการรวมคิด รวมทํา รวม วางแผนของชุมชนและทองถิ่น สงเสริมใหทองถิ่นผูเขารวมโครงการมีประสบการณการแกไขปญหา ดานที่อยูอาศัย ไดพัฒนาความรู ความเขาใจ และเพิ่มขีดความสามารถในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดไดในอนาคต การประเมินผลในสวนนี้แสดงใหเห็นวา บริบทแวดลอมของการเคหะแหงชาติที่มีตอโครงการ ดําเนินงานในปงบประมาณ 2552 มีความสัมพันธและมีความมุงหมายใหเกิดการถายทอดความรู ประสบการณ และภารกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาที่อยูอาศัยใหแกทองถิ่นอยางครอบคลุม ภายใตพรบ.การ กระจายอํานาจ 2542 การประเมินปจจัยเขา (Input Evaluation) การประเมินปจจัยเขาของโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชน แออัดมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา รายละเอียดของขอกําหนดการจางเพื่อดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยู อาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2552 มีความชัดเจนหรือไม ขั้นตอนการ ดําเนินงานที่ถูกกําหนดไวมีความเหมาะสมและสอดคลองตอวัตถุประสงคหรือไม และสามารถนําไปปฏิบัติได จริงบนพื้นที่ศึกษาหรือไม การประเมินปจจัยเขาพบวารายละเอียดของขอกําหนดการจางฯไดครอบคลุมวัตถุประสงคและได กําหนดแนวทางการดําเนินงาน 3 ดานอยางชัดเจน ไดแก 1) การจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย 2) การจัดทําแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด 3) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนาที่อยูอาศัย ผูรับจางดําเนินงานไดแกตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรีและจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัยเห็นพองตรงกันวารายละเอียดของการดําเนินงานไดถูกกําหนดไวอยางชัดเจนถึงวัตถุประสงค ขั้นตอนการดําเนินงาน การเตรียมความพรอม การศึกษารวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล รวมถึง รายละเอียดของกิจกรรมตางๆในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัย แผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด และการเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นในการวางแผนและพัฒนาที่อยูอาศัย แตเมื่อทําการประเมินถึงความเหมาะสมของการนําขอกําหนดการจางลงสูการปฏิบัติพบวา รายละเอียดตามขั้นตอนการดําเนินงานทั้งหมดนั้นไมสามารถดําเนินการไดอยางครบถวนภายในกรอบเวลาที่ กําหนด (15 เดือน) กลาวคือ 1) การดําเนินงานซึ่งมุงเนนใหทองถิ่นและผูที่เกี่ยวของในพื้นที่เกิดความตระหนัก เขาใจ และได เรียนรูถึงปญหาดานที่อยูอาศัยและไดแนวคิดในการพัฒนาที่อยูอาศัยนั้นสามารถดําเนินการไดตาม ขอกําหนดการจางภายในกรอบเวลาที่กําหนด 2) การเสริมสรางสมรรถนะทองถิ่นเพื่อใหสามารถจัดทําแผนดานที่อยูอาศัยดวยตนเองนั้นไมอาจ เกิดขึ้นไดภายในระยะเวลาของการดําเนินงาน เนื่องดวย
  • 17. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 10 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ - การสรางกระบวนการมีสวนรวม การชักจูงภาคภาคีตางๆใหเขารวมกระบวนการ ตลอดจน การมีสวนรวมเพื่อแกไขปญหาดานที่อยูอาศัยจากทุกฝายในบางพื้นที่ ตองอาศัยระยะเวลา ดําเนินงานมากกวาที่กําหนดไว - การดําเนินงานจัดทําแผนพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับที่อยูอาศัยตองอาศัยความชํานาญการเฉพาะ ดาน ซึ่งตองอาศัยระยะเวลาในการอบรมสรางความเขาใจและการถายทอดองคความรู เหลานั้นใหแกทองถิ่นอยางตอเนื่อง - การบูรณาการแผนพัฒนาที่อยูอาศัยใหเขากับการพัฒนาระดับตางๆ ไดแก จังหวัด กลุม จังหวัด ภาค และประเทศ เปนภารกิจที่ตองอาศัยการประสานงานและการดําเนินงานรวมกัน ระหวางหนวยงานภาครัฐทุกระดับในระยะยาว การประเมินกระบวนการดําเนินงาน (Process Evaluation) การประเมินกระบวนการดําเนินงานมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา แผนพัฒนาที่อยูอาศัยระดับเมืองและแผน ปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการดําเนินการครบถวนทุกขั้นตอนตามที่กําหนดไวในขอกําหนดการจาง หรือไม กระบวนการจัดทําแผนทั้งสองในแตละขั้นตอนมีขึ้นโดยกระบวนการมีสวนรวมหรือไม และผูมีสวน เกี่ยวของในพื้นที่พึงพอใจกระบวนการจัดทําแผนทั้งสองหรือไม ผลที่เกิดขึ้นจากการประเมินกระบวนการดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน ปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดคลายคลึงกันในแตละจังหวัดของกลุมจังหวัดภาคกลาง (จังหวัด สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดสมุทรสงคราม) กลาวคือ 1) ทุกจังหวัดไดรับการดําเนินงานจัดทําแผนฯที่ครบถวนทุกขั้นตอนตามที่ระบุไวในขอกําหนดการ จางซึ่งถูกตรวจสอบจากรายงานฉบับสมบูรณรวมถึงการสัมภาษณทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของ 2) ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ไดมีสวนรวมในกระบวนการดําเนินงาน และมีความพึงพอใจใน กระบวนการแตละขั้นตอน การประเมินปฎิกิริยา (Reaction Evaluation) และการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ภายใตการประเมินกระบวนการดําเนินงานพบวา ผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ที่เคยเขารวมการ ดําเนินงานโครงการในปงบประมาณ 2552 โดยเฉพาะอยางยิ่งในจังหวัดสมุทรสาครและจังหวัดสมุทรสงคราม มีความเขาใจถึงขั้นตอนการดําเนินงาน กระบวนการในการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไข ปญหาชุมชนแออัด ตลอดจนรายละเอียดของแผนฯฉบับสมบูรณไดอยางแมนยํา ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงการ ดําเนินงานโครงการและการสรางกระบวนการมีสวนรวมในการจัดทําแผนที่มีประสิทธิภาพ การประเมินกระบวนการดําเนินงานโครงการในจังหวัดสมุทรปราการไดผลที่แตกตางกันใน รายละเอียด กลาวคือ แมวาผูรับจางดําเนินงานไดดําเนินงานตามขั้นตอนตางๆที่ระบุไวในขอกําหนดการจาง อยางครบถวน และผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่พึงพอใจในกระบวนการแตละขั้นตอน แตกลุมตัวอยางบางสวนไม สามารถระบุถึงกระบวนการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดได ไม สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางแผนทั้งสอง และไมทราบถึงรายละเอียดของแผนฉบับสมบูรณ อนึ่ง ผล การประเมินนี้เปนผลที่สามารถเกิดขึ้นจากปจจัยหลายดาน เชน ระดับความสนใจของบุคลากรทองถิ่นนั้นๆที่มี ตอการดําเนินงานในปงบประมาณ 2552 ตลอดจนระดับของการจดจําไดของแตละบุคคลในปจจุบัน เปนตน
  • 18. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ 11 การประเมินผลผลิต (Output Evaluation) การประเมินผลผลิตมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันแกไขปญหาชุมชนแออัด ไดถูกจัดทําขึ้นจนแลวเสร็จหรือไม แผนงานเหลานั้นและโครงการนํารองมีความชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติโดย ทองถิ่นหรือไม และมีความเหมาะสมตอบริบทและสถานการณความตองการของทองถิ่นหรือไม แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการดําเนินงานแลวเสร็จใน ปงบประมาณ 2552 ซึ่งถูกตรวจสอบไดจากเลมรายงานฉบับสมบูรณ 1) จังหวัดสมุทรปราการ แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาล ตําบลบางปู เทศบาลตําบลแพรกษา และองคการบริหารสวนตําบลแพรกษา โดยแบงออกเปน 6 กล ยุทธ (11 แผนงาน) และ 1 โครงการนํารองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัด ไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับ 46 ชุมชนในเทศบาลตําบลบางปู โดยแบงออกเปน 6 กลยุทธ (16 แผนงาน) และ 1 โครงการนํารองระดับพื้นที่ 2) จังหวัดสมุทรสาคร แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาลนคร สมุทรสาครและอําเภอเมืองสมุทรสาคร โดยแบงออกเปน 9 แผนยุทธศาสตร และ 3 โครงการนํา รองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับ เทศบาลนครสมุทรสาคร โดยแบงออกเปน 2 แผนยุทธศาสตร และ 1 โครงการนํารองระดับพื้นที่ 3) จังหวัดสมุทรสงคราม แผนพัฒนาที่อยูอาศัยไดรับการจัดทําขึ้นแลวเสร็จสําหรับพื้นที่ในเทศบาล เมืองสมุทรสงครามและอําเภอเมืองสมุทรสงคราม โดยแบงออกเปน 9 แผนยุทธศาสตร และ 2 โครงการนํารองระดับเมือง และแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดไดรับการจัดทําขึ้นแลว เสร็จสําหรับ 14 ชุมชนในเทศบาลเมืองสมุทรสงคราม โดยแบงออกเปน 4 แผนยุทธศาสตร และ 1 โครงการนํารองระดับพื้นที่ อางถึงแผนงานดานตางๆขางตนนี้ การประเมินถึงความชัดเจนและความเหมาะสมของแผนตอการนําไป ปฏิบัติไดผลที่แตกตางกันในแตละจังหวัด ดังนี้ 1) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรปราการใหการยอมรับแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผน ปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดในหลายดาน แตเล็งเห็นวาแผนงานอีกหลายดานยังขาดความ ชัดเจนและความเหมาะสมตอบริบทพื้นที่ในปจจุบัน เชน แผนการปองกันดินทรุดในพื้นที่จัดสรร แผนการจัดรูปที่ดิน แผนพัฒนามาตรฐานที่อยูอาศัยใหเชารายยอยในชุมชน แผนแกไขกรรมสิทธิ์ ที่ดินและจัดทําที่อยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย เปนตน ความไมชัดเจนและไมเหมาะสมดังที่ กลาวถึงมาจากการขาดรายละเอียดที่ชัดเจนตอการนําไปปฏิบัติ และความไมสอดคลองกับการ เปลี่ยนแปลงไปของบริบทเมืองและสถานการณดานที่อยูอาศัยในปจจุบัน 2) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรสาครหลายฝายยังมีขอสงสัยถึงความชัดเจนและความ เหมาะสมของยุทธศาสตรการสรางความความมั่นคงในการอยูอาศัยสําหรับผูมีรายไดนอย แตผูมีสวน เกี่ยวของในทองถิ่นสวนใหญใหการยอมรับแผนงานอื่นที่เหลือทั้งหมด ซึ่งสะทอนใหเห็นวา แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดที่ไดดําเนินการแลวเสร็จใน
  • 19. โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดําเนินงานโครงการจัดทําแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกัน/แกไขปญหาชุมชนแออัด ปงบประมาณ 2557 กลุมจังหวัดภาคกลาง 12 โดย คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร | เสนอ การเคหะแหงชาติ ปงบประมาณ 2552 ยังมีความชัดเจนและเหมาะสมตอบริบทและสถานการณดานที่อยูอาศัยของ เมือง 3) ทองถิ่นผูมีสวนเกี่ยวของในจังหวัดสมุทรสงครามยังมีขอสงสัยถึงแนวทางการปฏิบัติของแผนการ แกไขปญหาบานเอื้ออาทรและแผนการรองรับความตองการที่อยูอาศัยของศูนยราชการใหม แตกลุม ตัวอยางสวนใหญใหการยอมรับแผนงานอื่นทั้งหมด ซึ่งสะทอนใหเห็นวาแผนพัฒนาที่อยูอาศัยและ แผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดที่ไดดําเนินการแลวยังมีความชัดเจนและเหมาะสมตอการ นําไปใชในปจจุบัน การประเมินผลลัพธ (Outcome Evaluation) การประเมินผลลัพทมีขึ้นเพื่อตรวจสอบวา ทองถิ่นไดนําแผนที่ไดจัดทําแลวเสร็จในปงบประมาณ 2552 ไปบรรจุไวในแผนนโยบายของจังหวัดและชุมชนหรือไม ไดมีการจัดตั้งงบประมาณที่เกี่ยวเนื่องเพื่อนํา แผนไปสูการปฏิบัติหรือไม หรือไดนําแนวคิดและแนวทางดําเนินงานไปใชในการพัฒนาที่อยูอาศัยโดยกลไก ของทองถิ่นในทิศทางเดียวกันหรือไม เพื่อทําการประเมินผลลัพธอยางครอบคลุม การติดตามและประเมินผล จึงดําเนินการขึ้นใน 2 ขั้นตอน คือ การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากหลักฐานเชิงประจักษ และ การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ จังหวัดสมุทรปราการ การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากหลักฐานเชิงประจักษในจังหวัดสมุทรปราการพบวา 1) แผนงานและโครงการนํารองที่ไดจัดทําไวเมื่อปงบประมาณ 2552 บางดานไดรับการดําเนินงาน ตอเนื่องอยูในปจจุบันโดยทองถิ่น เชน การพัฒนาพื้นที่สวนกลางเพื่อการนันทนาการและออก กําลังกาย ศูนยเรียนรูทางธรรมชาติ และสํานักงานเทศบาลใหมของเทศบาลตําบลบางปู 2) ปรากฏแผนงานของทองถิ่นที่คลายคลึงกับแผนงานและโครงการนํารองที่ไดจัดทําไวจํานวนมาก เชน โครงการ 1 โรงงาน 1 ชุมชนสรางความรวมมือกันในการจัดการสิ่งแวดลอม และแผนพัฒนา ฟนฟูปาชายเลนและแนวชะลอคลื่นในชุมชน เปนตน 3) แผนงานอื่นๆในการพัฒนาที่อยูอาศัยและการปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดซึ่งผูรับจาง ดําเนินงานไดจัดทําไวอีกหลายดานนั้นไมไดรับการดําเนินงานตอเนื่องโดยทองถิ่น การติดตามและประเมินผลการดําเนินงานจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ไดรับผลที่ คลายคลึงกัน ดังนี้ 1) แผนพัฒนาที่อยูอาศัยและแผนปองกันและแกไขปญหาชุมชนแออัดหลายดานซึ่งถูกจัดทําขึ้นเมื่อ ปงบประมาณ 2552 ไดรับการนําไปปฏิบัติใชโดยตรงทั้งการจัดตั้งงบประมาณดําเนินงานและ การบูรณาการเขาสูยุทธศาสตรของทองถิ่น แตขอมูลจากการสัมภาษณเชิงลึกรวมถึงผลที่ไดจาก การประชุมกลุมยอยรวมกับตัวแทนทองถิ่นจากภาคภาคีตางๆพบวา ผลลัพธเหลานี้ไมไดเกิดขึ้น โดยตรงจากการดําเนินงานของโครงการ แตเนื่องดวยผูรับจางดําเนินงานไดทําการผนวกแผนงานและ นโยบายของทองถิ่นหลายดานที่ดีและมีอยูแลวในขณะนั้นเขามาเปนสวนหนึ่งของแผนที่จัดทํา ซึ่งถือ เปนกลไกหนึ่งในการดําเนินงานเพื่อบูรณาการและสรางความเชื่อมโยงระหวางแผนพัฒนาดานที่ อยูอาศัยกับแผนพัฒนาระดับตางๆของทองถิ่น