SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
การประชุมชี้แจงรายละเอียดการดําเนินโครงการฯ และหารือแนวทาง การดําเนินกิจกรรมระดมความคิดเห็นเพื่อ
กําหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ ของกลุมการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตกลุมกรุงเทพกลาง
ผศ.ดร.สิงหนาท แสงสีหนาท
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
แนวคิดในการกําหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่
วันจันทรที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2563 เวลา 13.30 น. ณ หองประชุมประชาราษฎรบําเพ็ญ ชั้น 4 สํานักงานเขตหวยขวาง
แนวคิดในการกําหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่
หัวขอการนําเสนอ
• การทบทวนโครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ของสํานักงานเขต
• การตีความและทําความเขาใจประเด็นสําคัญในการดําเนินงาน
• การเสนอแนะแนวคิดเบื้องตนในการกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่
ความมุงหมาย
ขอบเขตพื้นที่
บริบทของการพิจารณา
การทบทวนโครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ของสํานักงานเขต
โครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ของสํานักงานเขต พ.ศ.2563
ความมุงหมาย: เพื่อกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ (Spatial development policies) ของสํานักงานเขต
กรอบการทํางาน: สรรคสรางโอกาสใหมและผูรวมดําเนินงาน
(Create new opportunities and building partnership)
ขอบเขตการทํางาน: การมีสวนรวมของกลุมการปฏิบัติงานของสํานักงานเขตกลุมกรุงเทพกลาง
สํานักงานเขตกลุมกรุงเทพกลาง
ปอมปราบศัตรูพาย พระนคร ดินแดง ราชเทวี ดุสิต
หวยขวาง วังทองหลาง สัมพันธวงศ พญาไท
มิติปญหาของเมือง
- โครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure)
- เศรษฐกิจ (Economy)
- สังคม (Society)
- สาธารณสุข (Public health)
- สิ่งแวดลอม (Environment)
- การศึกษา (Education)
- อื่นๆ
มุมมองการกําหนดนโยบาย
- อนาคตของเมือง (Future of the city)
กลวิธี Look back to look forward
บริบทของการพิจารณา
พื้นที่ 9 เขต
ปอมปราบศัตรูพาย พระนคร ดินแดง ราชเทวี ดุสิต
หวยขวาง วังทองหลาง สัมพันธวงศ พญาไท
โครงการรับฟงความคิดเห็นของประชาชน
เพื่อกําหนดนโยบายเชิงพื้นที่ของสํานักงานเขต พ.ศ.2563
- ปจจัยขับเคลื่อน (Driving factors)
- สังคม (Society)
- เทคโนโลยี/นวัตกรรม (Technology/innovation)
- สิ่งแวดลอมและพื้นที่ (Environment/Space)
- เศรษฐกิจ (Economy)
- การเมืองและภาครัฐ (Governance)
- คานิยม (Social value)
- อื่นๆ
การตีความและทําความเขาใจ
ประเด็นสําคัญในการดําเนินงาน
“มิติพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
“นโยบาย” (Policies)
- โครงสรางเมือง (Urban structure)
เมืองที่มีโครงขายถนน การคมนาคมสาธารณะ การเดินเทาที่ดี หรือไม ?
- การใชพื้นที่และกิจกรรมในเมือง (Use and activity)
เมืองที่มีพื้นที่สนับสนุนการประกอบธุรกิจทองถิ่น มีพื้นที่ทํางาน
มีชุมชนที่ปลอดภัย มีที่อยูอาศัยหลายระดับราคา
ใชอาคารเต็มประสิทธิภาพ หรือไม ?
- สิ่งอํานวยความสะดวก (Facility)
เมืองที่มีการบริการสาธารณะ ผูคนใชชีวิตไดทั้งกลางวันและกลางคืน หรือไม ?
- สภาพแวดลอม (Environment)
เมืองที่มีสภาพแวดลอมดี มีพื้นที่สีเขียว หรือไม ?
- ประสบการณเมือง (Urban experience)
เมืองที่เปนแหลงเรียนรูนอกหองเรียน มีพื้นที่ทางสังคม มีพื้นที่ที่สาม หรือไม ?
คําถามในการพัฒนากายภาพของเมืองมิติปญหาของเมือง
- โครงสรางพื้นฐาน
- เศรษฐกิจ
- สังคม
- สาธารณสุข
- สิ่งแวดลอม
- การศึกษา
“มิติพื้นที่” (Spatial Dimension)
- ตนทุน (Asset)
ตนทุนประวัติศาสตร ลักษณะเดนทางสังคม
เศรษฐกิจ วัฒนธรรม
- พลวัต (Dynamic)
การปรับตัวของทองถิ่น การลงทุน
วัฒนธรรมใหมๆ
- ขอจํากัด (Constrain)
มิติปญหาของแตละพื้นที่
- โอกาส (Opportunity)
รางภาพอนาคต
บริบทการพัฒนา
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
การกําหนดวิสัยทัศนเมือง
คําถามในการกําหนดอนาคตของเมือง
- ลักษณะของพื้นที่ที่ควรจะเปนในอนาคต
- ระดับของการเปลี่ยนแปลง ประเภท และเวลา
- วัตถุประสงคของการพัฒนา
- ความตองการพัฒนาในทางกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม
ฉากทัศน (Scenario) คือ มโนภาพเกี่ยวกับสภาวการณในอนาคตที่มีความเปนไปไดในลักษณะตางๆ
เปนทางเลือกของความมุงหมายการพัฒนาเมือง หลังจากประเมินฉากทัศนของการพัฒนาเมืองที่
เหมาะสมมากที่สุดแลว วิสัยทัศนของการพัฒนาเมืองก็จะถูกกําหนดขึ้น
ฉากทัศน 1 เพื่อริ่เริ่มและกระตุนใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
บนพื้นที่ที่ไมไดรับความสนใจในเชิงการตลาด
กระตุนการลงทุน
ในพื้นที่ที่มีอุปสงคต่ํา
จัดการการลงทุน
ในพื้นที่ที่มีอุปสงคปาน
กลางถึงสูง
เพื่อจัดการและจัดสรรการเปลี่ยนแปลงในเชิงรุก
บนพื้นที่ที่มีความตองการการพัฒนา
ควบคุมการลงทุน
ในพื้นที่ที่มีอุปสงคสูง
เพื่อควบคุมการเปลี่ยนแปลง บนพื้นที่ที่มีแรงกดดัน
และความตองการสูงในการพัฒนา โดยมีกระบวนการสื่อสาร
เจรจา หาขอตกลงรวมกันระหวางภาคีตางๆ
ฉากทัศน 2
ฉากทัศน 3
Facilitate investment
Channel investment
Stimulate investment
ที่มา CABE. (2008). Creating Successful Masterplans. London: CABE
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
ตัวอยางการออกแบบชุมชนเมือง
ผลงานของนักศึกษาในหลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบชุมชนเมือง
รายวิชาปฏิบัติการออกแบบชุมชนเมือง 2 ปการศึกษา 2562 ผูรับผิดชอบรายวิชา อาจารย ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ
“เชิงพื้นที่” (Spatial Dimension)
“อนาคตของเมือง” (Future of the City)
กําหนดนโยบาย
นโยบายการพัฒนาเมือง
กรอบการออกแบบเมือง
การออกแบบอยางยั่งยืน
เอกลักษณเมือง
ความรวมมือกับชุมชน
ออกแบบเมือง
พิจารณาหลากมิติ
รูปทรงเมือง
การใชพื้นที่ผสมผสาน
ความหนาแนน
แหลงชุมนุมชน
ถนนหนทาง
การลงทุน
เพิ่มมูลคาจากการออกแบบ
กลไกการพัฒนาที่เหมาะสม
การจัดหาที่ดิน
การแบงโครงการพัฒนา
รวมมือกับภาคีตางๆ
ควบคุมคุณภาพ
ควบคุมการพัฒนาเมือง
สรางการสัญจรเดินทาง
สรางสิ่งอํานวยความสะดวก
สรางพื้นที่เมืองที่ดี
จัดการพื้นที่เมือง
จัดการตนทุนเมือง
จัดการปญหาเมือง
สรางชุมชนเมืองที่ยั่งยืน
Policy
Plan
and Design
Attract
Investment
Development
Managing
Quality Place
“นโยบาย” (Policies)
ที่มา English Partnerships, and Housing Corporation. (2007). Urban Design Compendium 2. London: English Partnerships
แนวคิดในการกําหนดนโยบาย
ปญหาของการพัฒนาเมือง
การแกปญหาที่กระบวนการ
ทางเลือกของนโยบาย
ปญหาของการพัฒนาเมือง
กําหนดนโยบาย
นโยบายการพัฒนาเมือง
กรอบการออกแบบเมือง
การออกแบบอยางยั่งยืน
เอกลักษณเมือง
ความรวมมือกับชุมชน ออกแบบเมือง
พิจารณาหลากมิติ
รูปทรงเมือง
การใชพื้นที่ผสมผสาน
ความหนาแนน
แหลงชุมนุมชน
ถนนหนทาง
การลงทุน
เพิ่มมูลคาจากการออกแบบ
กลไกในการพัฒนาที่เหมาะสม
การจัดหาที่ดิน
การแบงโครงการพัฒนา
รวมมือกับภาคีตางๆ
ควบคุมคุณภาพ
ควบคุมการพัฒนาเมือง
การสัญจรเดินทาง
สิ่งอํานวยความสะดวก
สรางพื้นที่เมืองที่ดี
จัดการพื้นที่เมือง
จัดการตนทุนเมือง
จัดการปญหาเมือง
สรางชุมชนเมืองที่ยั่งยืน
กทม สนง.เขต
? ? ? ?
หนวยงานอื่น ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชน ฯลฯ
กระบวนการ
ที่หายไป
การแกปญหาที่กระบวนการ
กําหนดนโยบาย
นโยบายการพัฒนาเมือง
กรอบการออกแบบเมือง
การออกแบบอยางยั่งยืน
เอกลักษณเมือง
ความรวมมือกับชุมชน ออกแบบเมือง การลงทุน ควบคุมคุณภาพ
จัดการพื้นที่เมือง
จัดการตนทุนเมือง
จัดการปญหาเมือง
สรางชุมชนเมืองที่ยั่งยืน
กทม สนง.เขต
การรวมมือกับ หนวยงานอื่น ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ชุมชน ฯลฯ
- ตนทุน (Asset)
- พลวัติ (Dynamic)
- ขอจํากัด (Constrain)
- โอกาส (Opportunity)
ทบทวนบริบทการพัฒนา สรางทางเลือกของการพัฒนา
เชื่อมโยง
กระบวนการ
- การฟนฟูพื้นที่เมือง (Urban regeneration)
- การเติมเต็มพื้นที่เมือง (Urban infill)
- การอนุรักษเมือง (Urban conservation)
- การพัฒนายานชานเมือง (Suburban development)
กําหนดนโยบาย
นโยบายการพัฒนาเมือง
กรอบการออกแบบเมือง
การออกแบบอยางยั่งยืน
เอกลักษณเมือง
ความรวมมือกับชุมชน
จัดการพื้นที่เมือง
จัดการตนทุนเมือง
จัดการปญหาเมือง
สรางชุมชนเมืองที่ยั่งยืน
กทม สนง.เขต
ตั้งคําถามใหกับการพัฒนาเชิงพื้นที่
การแกปญหาที่กระบวนการ
เชื่อมโยง
กระบวนการ
ออกแบบเมือง การลงทุน ควบคุมคุณภาพ
- พื้นที่มีโครงขายถนน การคมนาคมสาธารณะ การเดินเทาที่ดี หรือไม ?
- พื้นที่สนับสนุนธุรกิจทองถิ่น มีพื้นที่ทํางาน มีชุมชนที่ปลอดภัย ใชอาคารเต็มประสิทธิภาพ หรือไม ?
- พื้นที่มีการบริการสาธารณะ มีพื้นที่รองรับกิจกรรมทั้งกลางวันและกลางคืน หรือไม ?
- พื้นที่มีสภาพแวดลอมดี มีพื้นที่สีเขียวอยางพอเพียง หรือไม ?
- พื้นที่มีแหลงเรียนรูนอกหองเรียน มีพื้นที่ทางสังคม หรือไม ?
- อื่นๆ
ทางเลือกของนโยบาย
• นโยบายอนาคตของเมือง
• นโยบายการสรางความรวมมือ
• นโยบายการออกแบบพื้นที่
• นโยบายการลงทุนพัฒนาพื้นที่
• นโยบายการควบคุมการพัฒนา
• นโยบายการจัดการ/ดูแล/รักษา
• อื่นๆ

More Related Content

More from Singhanat Sangsehanat

More from Singhanat Sangsehanat (6)

การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
คู่มือ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ - การศึกษา การออกแบบ ...
 
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแบบชุมชนเมือง