SlideShare a Scribd company logo
1 of 79
Download to read offline
จัดทำภำยใต้
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
ลิขสิทธิ์ของ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เผยแพร่โดย
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐
จัดทำโดย
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พิมพ์ที่
บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด
๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
เทศบำลนครขอนแก่น
แผนและผังกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคำร์บอนต่ำ
คำนำ
ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ
กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้
พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า
แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด
การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ
ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง
ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้
ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ
สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์
เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิงหาคม ๒๕๕๙
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำนำ
สำรบัญ
บทที่ ๑ บทนำ
บทที่ ๒ แนวคิดในกำรพัฒนำ
บทที่ ๓ ผังกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ
๓.๑ โครงการพัฒนาย่านราชการ
๓.๒ โครงการพัฒนาถนนคนเดินบนถนนหลังเมือง
๓.๓ โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน
๓.๔ โครงการพัฒนาย่านศูนย์กลางธุรกิจ
๓.๕ โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร
๓.๖ โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทที่ ๔ แผนกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ
๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลนครขอนแก่นที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า
๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน
๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ภำคผนวก
๑ - ๑
๒ - ๑
๓ - ๑
๓ - ๒
๓ - ๗
๓ - ๑๑
๓ - ๑๖
๓ - ๒๑
๓ - ๒๖
๔ - ๑
๔ - ๑
๔ - ๒
๔ - ๖
๔ - ๑๔
บทที่ ๑ บทนำ
๑ - ๑
หลักกำรและเหตุผล
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม
คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด
รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย
สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่
ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ
ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ
วัตถุประสงค์
๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย
แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง
การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น
แนวคิดในกำรดำเนินงำน
สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ
โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ
ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน
ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน
ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่
ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม
คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง
การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ
มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม
เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่
การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ
เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก
ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ
พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ-
ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ
ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ
ทุกระดับ
การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน
หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา
ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม
คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก
ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ
โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง
อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ
ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม
ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
๑ - ๒
การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม
ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี
เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว
เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง
(Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง
(Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า
ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง
ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ
หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ
การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม
คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ
แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้
ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน
บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง
การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว
เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up
Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน
สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน
พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ
ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง
วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น
ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง
เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง
แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ
น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง
ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ
เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ
ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้
ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน
เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน
กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ
รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่
สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ
ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง
สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน
หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น
มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน
การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน
สภำพแวดล้อมคำร์บอนต่ำ
เศรษฐกิจคำร์บอนต่ำ
วัฒนธรรมคำร์บอนต่ำ
(๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด
(๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
(๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ
(๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า
(๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก
(๓) การประหยัดพลังงานอาคาร
(๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า
(๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน
(๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน
(๔) การจัดการน้่าในเมือง
บทที่ ๒ แนวคิดในกำรพัฒนำเมืองและ
ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ
เทศบำลนครขอนแก่น
กำรศึกษำสภำพทั่วไปในระดับมหภำค
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง
อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง
แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง
ดังนี้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง
กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ
ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม
อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ
มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์
ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น
พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ
ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี
ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ
เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้
ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้
รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน
ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย
เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ
คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้
๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี
และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น
ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น
๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable
Development)
๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology)
๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and
Network Development)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ
− กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
− กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์
− กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ
− กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู
− กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม
๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy)
จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา
แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด
ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ
กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ
ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์
และพลังงานทดแทน
แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ
พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด
ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ
“ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่”
ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ
แข่งขันได้
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๒ - ๑
ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ
จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
๒๖๐๐)
โครงการส่าคัญ ได้แก่
๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก
แบบครบวงจร (Distribution Center)
๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ
และข้าวหอมมะลิอินทรีย์
๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน
๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ
มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร
๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน
ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน
ด้านขนส่ง
๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ
ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน
๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข
๙ และ ๑๒
นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง
ของเมือง โดยมีโครงการในระดับประเทศและระดับภาค ได้แก่
๑) โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระขอนแก่น เป็นโครงการพัฒนารถไฟ
ทางคู่ใหม่ แนวเส้นทางมีระยะทางโดยประมาณ ๑๘๕ กิโลเมตร
๒) โครงการ MICE CITY จังหวัดขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น
MICE CITY แห่งที่ ๕ ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา
ภูเก็ต และขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนา
จังหวัด ๔ ปี (๒๕๕๗-๒๕๖๐) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่
มหานครแห่งอาเซียน”
๓) โครงการพุทธมณฑลอีสาน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์
ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑลอีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็น
สถานที่ส่าคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและ
ปฏิบัติธรรมของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน
และภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ขนาดใหญ่
ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด
๔) ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความ
เหมาะสมกับเมืองขอนแก่น (ยุทธศาสตร์ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, ๒๕๕๗-๒๕๖๐)
ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น
ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙
๒ - ๒
ลักษณะทำงสังคมและเศรษฐกิจ
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น ๑๐๖,๕๘๓ บาทต่อคนต่อปี
สูงเป็นอันดับ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ ๓๓ ของ
ประเทศ (กรุงเทพ ๑๙๓,๓๙๕ บาทต่อคนต่อปี)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจ่าปี ๒๕๕๗ มีมูลค่าจ่านวน ๑๘๗,๓๔๘
ล้านบาท ล่าดับที่ ๑๓ ของประเทศ และล่าดับที่ ๒ ของภาค (นครราชสีมา
อันดับที่ ๑) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี ๒๕๕๗ ร้อยละ ๖.๓๕
ผลิตภัณฑ์มวลรวม ตามสาขา ภาคนอกการเกษตร ๑๖๓,๖๔๔ ล้านบาท
สาขาที่มีอันดับสูงสุด ๔ อันดับแรก ได้แก่
อุตสาหกรรม ๗๓,๒๔๑ ล้านบาท
การศึกษา ๒๐,๕๔๒ ล้านบาท
ค้าปลีก ค้าส่ง ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ใน
ครัวเรือน ๑๘,๘๒๐ ล้านบาท
ภาคเกษตรกรรม ๒๓,๗๐๔ ล้านบาท
จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ใจกลางของ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่าน
ไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ ๒-๒ โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการ
คมนาคมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความ
ได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาคอีสาน
สามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการ
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ส่าคัญในการให้บริการ
ประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนน
มิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวง
แผ่นดินหมายเลข ๒๐๙ (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก–ตะวันตก; EWEC)
ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร ๔๔๕ กิโลเมตร
แผนภูมิที่ ๒ - ๑ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๖
ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙
ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด ๑๐,๘๘๖ ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มี
ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ ๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัด
นครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามล่าดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น
อันดับที่ ๑๕ ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับ
จังหวัดอื่น ๆ ดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ จรดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวล่าภู และจังหวัดเลย
ทิศใต้ จรดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก จรดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม
ทิศตะวันตก จรดจังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดชัยภูมิ
ลักษณะทำงสังคมและเศรษฐกิจ
รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น ๑๐๖,๕๘๓ บาทต่อคนต่อปี
สูงเป็นอันดับ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ ๓๓ ของ
ประเทศ (กรุงเทพ ๑๙๓,๓๙๕ บาทต่อคนต่อปี)
แผนภูมิที่ ๒ - ๔ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๖
ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙
๒ - ๓
๑) โครงการเพิ่มระบบถนน และระบบรางในอนาคต ได้ก่าหนดศูนย์กลาง
ขนส่งหลายรูปแบบในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น อุบลราชธานี และ
นครราชสีมา (ค่าสั่งอนุมัติหลักการโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนใน
จ.ขอนแก่น ซึ่งเป็นการก่อสร้างรถรางไฟฟ้า ระยะที่ ๑ ช่วงเหนือ-ใต้
ระยะทาง ๒๖ กิโลเมตร เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๒๕๕๙)
๒) พื้นที่ศูนย์การขนส่งและบริการ ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและ
นครราชสีมา
๓) พื้นที่ศูนย์กลางรวบรวมและกระจายสินค้า ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
มุกดาหาร และนครราชสีมา
เศรษฐกิจของจังหวัดขอนแก่นมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคปี ๒๕๕๖ ขึ้นอยู่กับ
ภาคการเกษตรกรรมที่มีการขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมี
จ่านวนเงินหมุนเวียน ๓๘๐,๐๘๓ ล้านบาท รองลงมา คือ
ภาคอุตสาหกรรม จ่านวน ๒๔๑,๗๓๙ ล้านบาท (ส่านักพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๕๕๖)
ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่าง ๆ ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่
๑) ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง
๒) ศูนย์กลางของการศึกษา โดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจ่านวน
๑,๑๖๗ แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีด้วยกัน ๖ คณะที่โดดเด่น ได้แก่
๑. คณะแพทยศาสตร์ ๒. คณะเภสัชศาสตร์ ๓. คณะพยาบาลศาสตร์
๔. คณะเทคนิคทางการแพทย์ ๕. คณะสัตว์แพทยศาสตร์ ๖. คณะ
เทคโนโลยีด้านอาหาร
๓) ศูนย์กลางการรักษาพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และ
คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๔) ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุม
อเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหมนานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของ
ท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาล ซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น
๕) ศูนย์กลางอุตสาหกรรมสีเขียว การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ
ลดการปล่อยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
แผนภูมิที่ ๒ - ๒ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
แบ่งตามสาขา
ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙
ด้านอุตสาหกรรม จังหวัดขอนแก่นมีเงินลงทุน ๗๗,๒๓๓,๐๘๓,๗๔๔ บาท
มีการจ้างงาน ๘๕,๕๒๘ คน และมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับใบอนุญาต
จากกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้นจ่านวน ๔,๑๓๑ โรงงาน แบ่งเป็น ๓
จ่าพวก แยกตามประเภทอุตสาหกรรม
๑. โลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต์
๒. เกษตร อาหาร เครื่องดื่ม
๓. ยาง พลาสติก อโลหะ
แผนภูมิที่ ๒ - ๓ แสดงรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร ของจังหวัด
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๖
ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙
40,000
45,000
50,000
55,000
60,000
65,000
70,000
75,000
80,000
85,000
90,000
95,000
100,000
หนองบัวล่าภู
กาฬสินธุ์
ยโสธร
ชัยภูมิ
อ่านาจเจริญ
มหาสารคาม
บุรีรัมย์
มุกดาหาร
สุรินทร์
ศรีสะเกษ
อุบลราชธานี
ร้อยเอ็ด
สกลนคร
บึงกาฬ
นครพนม
อุดรธานี
เลย
หนองคาย
นครราชสีมา
ขอนแก่น
จำนวนล้ำนบำท
ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี
เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการปาไม้ 143,911 150,999 182,210 220,594 253,466 326,937 380,083
อุตสาหกรรม 146,151 164,120 180,578 216,238 227,728 227,056 241,739
ยานยนต์ จักรยานยนต์ 85,656 88,521 108,904 116,300 119,540 136,924 151,561
โรงแรม,ภัตตาคาร 9,723 9,856 10,567 10,948 12,139 12,407 14,111
การขนส่ง คลังสินค้า การคมนาคม 28,990 31,181 31,813 31,692 35,063 37,995 38,511
บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ และบริการทางธุรกิจ 58,278 58,898 61,969 67,274 68,534 67,922 70,475
การศึกษา 108,383 116,376 126,460 137,184 158,623 183,770 196,177
บริการด้านสุขภาพและสังคม 20,480 23,475 27,389 27,616 29,404 32,525 33,776
9,000
59,000
109,000
159,000
209,000
259,000
309,000
359,000
จำนวนล้ำนบำท
สรุปบทบำทของพื้นที่ศึกษำในระดับมหภำค
ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคล่าดับ ๑ มีศักยภาพในการพัฒนา
เป็นศูนย กลางหลักของภาค ขอบเขตการให้บริการเชื่อมโยง
กับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC๑๐ ประเทศ รวมถึง
ประเทศจีน เส้นทาง East - West Corridor เป็นเส้นทางหลักเพื่อขนส่ง
สินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยังเวียดนาม โดยมี
โครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดิน อีกทั้งผังภาคยังมี
โครงการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอน-
ต่่า การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลนครขอนแก่น
เพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ
สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามาผนวกกับ
แนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุมใน ๓ มิติ คือ
สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรม
คาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบไปด้วย ๓ แนวคิดดังนี้
๑) การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า
๒) การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง
๓) เมืองคาร์บอนต่่า
๑ กำรคมนำคมขนส่งคำร์บอนต่ำ เทศบาลนครขอนแก่น ควรมีการ
ส่งเสริมให้มีการเดินทางด้วยการเดินเท้า จักรยาน และขนส่งสาธารณะ
โดยได้มีการออกแบบพื้นที่และเส้นทางที่เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น
การปรับปรุงเส้นทางการเดินเท้าให้มีความน่าเดิน การเพิ่มจุดสถานีขน-
ส่งผู้โดยสาร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางของผู้โดยสารระยะใกล้ และเพิ่ม
สถานีขนส่งผู้โดยสารนอกเมืองเพื่อเชื่อมต่อการเดินทางระยะไกล
เพิ่มเส้นทางรถสองแถวให้มีการการคลอบคลุมทั่วทั้งเมือง โดยเฉพาะ
บริเวณพื้นที่ที่มีการอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น เพื่อลดความแออัดของ
การจราจรในพื้นที่ เพิ่มเส้นทางรถ BRT เพื่อให้ครอบคลุมแก่ผู้ใช้งานใน
พื้นที่ต่าง ๆ เป็นต้น
๓ เมืองคำร์บอนต่ำ เทศบาลนครขอนแก่น เพื่อเป็นการลดผลกระทบที่มี
ผลต่อเกาะความร้อนของเมือง (urban heat island) ในระดับชุมชน
โดยเฉพาะพื้นที่ศูนย์กลางเมืองหลักและศูนย์กลางเมืองรอง ควรส่งเสริมให้
มีการใช้หลังคาเขียว ผนังเขียว การปลูกต้นไม้ การใช้สีอ่อนบนพื้นผิวขนาด
ใหญ่ของสิ่งปลูกสร้างเพื่อลดการสะท้อนความร้อน เช่น หลังคา ถนน และ
พื้นที่ลานต่าง ๆ เป็นต้น
๒ - ๔
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลนครขอนแก่น
๒ กำรอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว เทศบาลนครขอนแก่น ควรส่งเสริม
ให้มีการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวเดิมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหม่ โดยเฉพาะใน
ส่วนของเมืองที่มีการพัฒนาสูง ควรมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับมลพิษ
ในเมือง แต่พื้นที่สีเขียวที่ห่างออกไป มีแนวคิดควรรักษาสภาพทาง
ธรรมชาติของพื้นที่มากที่สุด ซึ่งพื้นที่น่าร่องในการพัฒนา มี ๔ แห่ง
ด้วยกัน คือ คลองพระบึงทุ่งสร้าง บึงแก่นนคร และบึงหนองโคตร ซึ่งควร
มีการปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อนันทนาการ
ริมน้่าและพัฒนาเป็น green belt เพื่อป้องกันการขยายตัวของเมือง และ
อุทกภัยประจ่าฤดู
ภาพที่ ๒ – ๓ แสดงผังเส้นทางคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ภาพที่ ๒ – ๔ แสดงผังการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืนที่เมืองขอนแก่นได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมให้บูรณาการ
ไปสู่ความเป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า ได้แก่
เมืองโครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า
เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า
การคมนาคมคาร์บอนต่่า
ศูนย์กลางประชุมคาร์บอนต่่า
ศูนย์กลางเมืองกระชับ
การท่องเที่ยวคาร์บอนต่่า
ภาพที่ ๒ – ๕ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ภาพที่ ๒ – ๖ แสดงผังเสนอแนะการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น
๒ - ๕
บทที่ ๓ กำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่
สังคมคำร์บอนต่ำ เทศบำลนครขอนแก่น
๓ - ๑
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคม
คาร์บอนต่่า ได้แก่
เมืองโครงข่ำยสีเขียวและคำร์บอนต่ำ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการ
รักษาพื้นที่สีเขียวเดิม และเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหม่ โดยพื้นที่น่าร่องเป็นการ
พัฒนาโครงข่ายพื้นที่สีเขียว อนุรักษ์พื้นที่สีเขียว และปรับปรุงภูมิทัศน์
ให้สวยงาม เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น บริเวณถนนหลังศูนย์ราชการ
(ถนนคนเดิน) และบริเวณโดยรอบอนุสรณ์ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
บริเวณสวนสาธารณะรัชดานุสรณ์ ลานคนเมือง สวนสาธารณะบึงหนอง-
แวง ย่านบึงแก่นนคร วัด โรงเรียน สถานที่ราชการ และถนนสายหลักของ
ธุรกิจ การค้า เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม เพิ่มการดูดซับ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่คนเมือง ซึ่งในการ
จัดการพื้นที่นั้นจะอาศัยเฉพาะหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในการ
ปรับปรุงพื้นที่เพียงอย่างเดียวไม่ได้ จะต้องอาศัยความร่วมมือจาก
ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ร่วมด้วย โดยต้องสร้างความตระหนัก
ถึงความส่าคัญและความจ่าเป็นในการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว
เพื่อให้เกิดความร่วมมืออย่างจริงจังมีประสิทธิภาพและเกิดความยั่งยืน
ต่อไป
เศรษฐกิจและอุตสำหกรรมคำร์บอนต่ำ ควรมีการส่งเสริมการบริการและ
การบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การท่าตลาดสีเขียว หรือ ตลาด
Low Carbon ส่งเสริมการสร้าง Green Network (เชื่อมโยงพื้นที่จาก
ถนนสายหลักมายังตลาด) ส่งเสริมพื้นที่สีเขียวกลางตลาดและใช้ผลิตภัณฑ์
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น นอกจากนี้ยังควรน่าร่องพื้นที่ที่มี
ศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจคาร์บอนต่่า เช่น
พื้นที่บริเวณถนนศรีจันทร์-ถนนหน้าเมือง และในส่วนพื้นที่ในย่าน
มหาวิทยาลัย ซึ่งควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้มี
ประสิทธิภาพ เน้นการใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะและการเดินเท้า
การใช้จักรยาน ส่งเสริมการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ตามท้องถนน
พร้อมกันนี้ ในส่วนของพื้นที่ด้านการค้าควรส่งเสริมให้ปรับรูปแบบอาคาร
ให้เป็นอาคารประหยัดพลังงานโดยใช้แสงจากธรรมชาติ (Sunlight)
เป็นต้น มีการจัดการน้่า การคัดแยกขยะ ที่มีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมการใช้ต้นไม้เดิมในพื้นที่ให้มากที่สุด เพื่อให้ร่มเงาและบรรยากาศ
ที่สนับสนุนกับวิถีชีวิตคาร์บอนต่่า นอกจากนี้ยังควรจัดตั้งศูนย์เผยแพร่
ความรู้เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจคาร์บอนต่่าให้แก่ประชาชนร่วมด้วย เพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนในท้องถิ่นนั่นเอง
กำรคมนำคมคำร์บอนต่ำ ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการ
เดินเท้า การใช้จักรยาน และคมนาคมขนส่งสาธารณะ เช่น มีการใช้รถบัส
ปรับอากาศประจ่าทาง ใช้รถไฟรางเบา (บริเวณเส้นทาง ส่าราญ-ท่าพระ)
ใช้ BRT (บริเวณเส้นทาง หนองโคตร-หนองใหญ่ บ้านทุ่ม-บึงเนียม น้่าต้อน-
อ่างศิลา) มีจุดจอดจักรยานในพื้นที่ย่านศูนย์กลางด้านการค้า สถานที่
ราชการ เป็นต้น ส่งเสริมกิจกรรม Car Pool ที่เทศบาลได้ด่าเนินการอยู่แล้ว
ให้มีการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย สนับสนุนโครงการจอดแล้วจร (Park Ride)
เพื่อแก้ไขปัญหารถติดในเมือง และจัดการระบบไหลเวียนของรถให้มี
ประสิทธิภาพ ให้เกิดความคล่องตัว รวมไปถึงการปรับปรุงพื้นผิวทางเท้าเพิ่ม
ทัศนียภาพให้สวยงาม ให้มีความน่าเดินและปลอดภัย
ศูนย์กลำงกำรประชุมคำร์บอนต่ำ ควรน่าร่องในพื้นที่บริเวณถนน
ศรีจันทร์-ถนนหน้าเมือง เนื่องจากมีศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นเมืองแห่ง
การประชุม (MICE CITY) ส่งเสริมให้มีอาคารราชการที่ประหยัดพลังงาน
หลังคาเขียว (GREEN ROOF) ส่งเสริมการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
มุ่งเน้นการเดินเท้า การใช้จักรยานในเขตย่านกลางเมืองร่วมกับโครงข่าย
BRTและรถโดยสารขนาดเล็ก ตลอดจนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ในศูนย์กลางทางธุรกิจของเมือง
ศูนย์กลำงเมืองกระชับสนับสนุนให้มีเมืองหลำยศูนย์กลำง พื้นที่ศูนย์กลาง
เมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด มีความกระชับใช้ที่ดินแบบ
ผสมผสาน โดยมีถนนวงแหวนของเมืองที่จะถูกใช้เป็นขอบเขตในการควบคุม
การกระจายตัวของเมือง และควรสนับสนุนให้มีการรักษาพื้นที่เกษตร และ
พื้นที่สีเขียวรอบเมือง (บริเวณพื้นที่วงแหวนรอบนอก) พร้อมทั้งควรมีการ
เชื่อมโยงระบบคมนาคมและขนส่งสาธารณะ สนับสนุนให้มีการเดินเท้าและ
การใช้จักรยานเพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
กำรท่องเที่ยวคำร์บอนต่ำ ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ความ
หลากหลายทางชีวภาพและพื้นที่สีเขียวในเมืองซึ่งพื้นที่ที่มีศักยภาพ
ในการพัฒนาเพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคาร์บอนต่่า เช่น พื้นที่
บริเวณถนนหลังเมือง ควรปรับปรุงให้เป็นถนนคนเดิน ฟื้นฟู
เศรษฐกิจให้ดีขึ้นด้วยการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อาคารเก่า
สร้างอัตลักษณ์ให้ชัดเจนมากขึ้น ปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น
และน่าเดินเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับพื้นที่
และยังเป็นการส่งเสริมธุรกิจภายในชุมชน
โดยโครงการน่าร่องการพัฒนาเทศบาลนครขอนแก่น
เพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๖ โครงการ ดังนี้
โครงการพัฒนาย่านราชการ
โครงการพัฒนาถนนคนเดินบนถนนหลังเมือง
โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน
โครงการพัฒนาย่านศูนย์กลางธุรกิจ
โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร
โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น
๓ - ๒
ภาพที่ ๓ - ๑ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนา
พื้นที่บริเวณย่านราชการ
๓.๑ โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร
โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านราชการ เป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่บริเวณหน้าอาคารศูนย์ราชการ เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์และส่งเสริม
การเดินเท้า การใช้งานพื้นที่สาธารณะ จากบริเวณอนุสรณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผ่านตลาดลานคนเมือง มุ่งหน้าสู่ศาลากลาง มีโครงข่าย
Green Network เชื่อมโยงทั้งศูนย์ราชการ ซึ่งพื้นที่โดยรอบค่านึงถึงการจัดระเบียบพื้นที่จอดรถ จุดจอด BRT จุดจอดจักรยาน เพิ่มพื้นที่ลานจอดรถ
ใต้ดินบริเวณลานคนเมือง ให้มีร้านค้า และปรับปรุงอาคาร บขส. เป็นพื้นที่การค้า
๓ - ๓
ภาพที่ ๓ – ๒ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านราชการ
ภาพที่ ๓ – ๓ แสดงสภาพก่อนการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านราชการ
ภาพที่ ๓ – ๕ ต่าแหน่งโครงการการพัฒนาย่านราชการ
A7
A7
A8
A1 A4
A3
ศำลแขวง
A6
A5
A2
โรงเรียน
ศำลแขวง
ลำนคนเมือง
A9
A9
ศำลำกลำงจังหวัด
ภาพที่ ๓ - ๔ ผังแสดงพื้นที่โครงการในการพัฒนาย่านราชการ
 โครงข่ำยสีเขียว
A1 หลังศูนย์ราชการ (ถนนคนเดิน)
A2 อนุสรณ์แห่งความเสียสละและข้าง ๆ ที่จอดรถสถานีต่ารวจ
A3 ด้านหลังศาลแขวงติดกับบ้านพักหัวหน้าศาล
A4 ส่านักงานจัดการปาไม้ที่ ๗ และส่านักงานทางหลวงชนบท
A โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร
 ส่งเสริมกำรเดินเท้ำ และปรับปรุงภูมิทัศน์น่ำเดิน
A5 อนุสรณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชน์ และสวนสาธารณะรัชดานุสรณ์
A6 ลานคนเมือง (เพิ่มลานจอดรถใต้ดิน)
 จัดระเบียบพื้นที่จอดรถ และจัดเตรียมที่จอดรถ
A7 อนุสรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์
A8 ที่จอดรถต่ารวจภูธรจังหวัดขอนแก่น
 อำคำรประหยัดพลังงำน
A9 อาคารพาณิชย์บริเวณอาคาร บขส.
ยุทธศำสตร์ที่ ๔. พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและโครงสร้าง
พื้นฐานให้เป็นนครแห่งการลงทุนและนครแห่งการอยู่อาศัย
ยุทธศำสตร์ที่ ๕. พัฒนาและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับ
มาตรฐานสากล
สรุปโครงกำรพัฒนำ
๓ - ๔
ยุทธศำสตร์ของเทศบำลที่เกี่ยวข้อง
๓ - ๕
• สร้ำงโครงข่ำยสีเขียว (เชื่อมโยงทั้งศูนย์รำชกำร
- รักษา ปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่สีเขียวเดิม
- ปลูกต้นไม้ริมถนนและทางเดิน พื้นที่เปิดโล่งสาธารณะ ตลอดจนส่งเสริม
อาคารเขียว เป็นต้น
A1 หลังศูนย์ราชการ (ถนนคนเดิน)
A2 อนุสรณ์แห่งความเสียสละและข้าง ๆ ที่จอดรถสถานีต่ารวจ
A3 ด้านหลังศาลแขวงติดกับบ้านพักหัวหน้าศาล
A4 ส่านักงานจัดการปาไม้ที่ ๗ และส่านักงานทางหลวงชนบท
แนวทำงกำรดำเนินงำน
๑. การบรรจุนโยบายด้านการพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่าเข้าสู่แผนยุทธศาสตร์
ของการพัฒนาและสร้างต้นแบบโครงการเมืองและชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนต่่า
- จัดท่าข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองบริหารส่วนท้องถิ่น โดยอาศัยอ่านาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๙
มาตรา ๖๐ ถึง ๙๕
- น่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในแปลงที่ดินของรัฐ รวมทั้งจัดท่าฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียว และฐานข้อมูล
ทะเบียนพันธุ์ไม้ใหญ่ทรงคุณค่าในเมือง
๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน
- วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมี
คณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับกรมโยธาธิการและ
ผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
- วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่า
๓. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เหมาะสมต่อการพัฒนาเมืองและ
ชุมชนคาร์บอนต่่า
- ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่เฉพาะของ
การพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
๔. การส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม
- ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เช่น ริมถนน
ลานจอดรถ สวนหย่อม ทางเชื่อมจุดต่าง ๆ เป็นต้น โดยเลือกปลูกพันธุ์ไม้ให้เหมาะกับการจัดการปัญหามลพิษ
๕. การใช้วัสดุและการก่อสร้างอาคารที่ประหยัดพลังงาน รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีผนัง หลังคา รูปทรงอาคาร ให้มีความเหมาะสมกับ
ภูมิอากาศเมืองร้อน
- น่าร่องการลดการใช้พลังงานในอาคาร เช่น การปรับปรุงเทคโนโลยีผนังอาคารและรูปทรงอาคารให้มีความเหมาะสมกับ
ภูมิอากาศเมืองร้อน การเพิ่มประสิทธิภาพของการท่าความเย็นในอาคาร การเพิ่มประสิทธิภาพของการส่องสว่างในอาคาร
การเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานในการประกอบอาหารจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนให้สูงขึ้น การส่งเสริมการผลิตความร้อน
เป็นต้น
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองวิชาการและ
แผนงาน
หน่วยงำนสนับสนุน
กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่านักงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส่านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
ไปรษณีย์เทพารักษ์ บขส.ขอนแก่น ศาลแขวง ศาลจ.ขอนแก่น Café De’Forest
สภำพแวดล้อมคำร์บอนต่ำ
A โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

More Related Content

More from Singhanat Sangsehanat

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...Singhanat Sangsehanat
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรSinghanat Sangsehanat
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Singhanat Sangsehanat
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญSinghanat Sangsehanat
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...Singhanat Sangsehanat
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...Singhanat Sangsehanat
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...Singhanat Sangsehanat
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...Singhanat Sangsehanat
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...Singhanat Sangsehanat
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Singhanat Sangsehanat
 

More from Singhanat Sangsehanat (10)

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

Khon kaen urban development - การพัฒนาเมืองขอนแก่น เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

  • 1.
  • 2. จัดทำภำยใต้ โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ลิขสิทธิ์ของ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เผยแพร่โดย ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ จัดทำโดย ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ที่ บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด ๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐ เทศบำลนครขอนแก่น แผนและผังกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคำร์บอนต่ำ
  • 3. คำนำ ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้ พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สิงหาคม ๒๕๕๙
  • 4. สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ สำรบัญ บทที่ ๑ บทนำ บทที่ ๒ แนวคิดในกำรพัฒนำ บทที่ ๓ ผังกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ ๓.๑ โครงการพัฒนาย่านราชการ ๓.๒ โครงการพัฒนาถนนคนเดินบนถนนหลังเมือง ๓.๓ โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน ๓.๔ โครงการพัฒนาย่านศูนย์กลางธุรกิจ ๓.๕ โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร ๓.๖ โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น บทที่ ๔ แผนกำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ ๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลนครขอนแก่นที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน ๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ภำคผนวก ๑ - ๑ ๒ - ๑ ๓ - ๑ ๓ - ๒ ๓ - ๗ ๓ - ๑๑ ๓ - ๑๖ ๓ - ๒๑ ๓ - ๒๖ ๔ - ๑ ๔ - ๑ ๔ - ๒ ๔ - ๖ ๔ - ๑๔
  • 5. บทที่ ๑ บทนำ ๑ - ๑ หลักกำรและเหตุผล โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่ ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น แนวคิดในกำรดำเนินงำน สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่ ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่ การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ- ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ ทุกระดับ การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
  • 6. ๑ - ๒ การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง (Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง (Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้ ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้ ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน สภำพแวดล้อมคำร์บอนต่ำ เศรษฐกิจคำร์บอนต่ำ วัฒนธรรมคำร์บอนต่ำ (๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด (๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ (๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ (๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า (๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก (๓) การประหยัดพลังงานอาคาร (๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า (๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน (๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน (๔) การจัดการน้่าในเมือง
  • 7. บทที่ ๒ แนวคิดในกำรพัฒนำเมืองและ ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคำร์บอนต่ำ เทศบำลนครขอนแก่น กำรศึกษำสภำพทั่วไปในระดับมหภำค การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้ รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ ๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น ๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) ๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) ๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ − กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ − กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ − กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ − กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู − กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม ๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ และพลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ แข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ๒ - ๑ ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๖๐๐) โครงการส่าคัญ ได้แก่ ๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก แบบครบวงจร (Distribution Center) ๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ และข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน ๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร ๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน ด้านขนส่ง ๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน ๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข ๙ และ ๑๒
  • 8. นโยบาย แผนและโครงการพัฒนาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของเมือง โดยมีโครงการในระดับประเทศและระดับภาค ได้แก่ ๑) โครงการรถไฟรางคู่ช่วงชุมทางจิระขอนแก่น เป็นโครงการพัฒนารถไฟ ทางคู่ใหม่ แนวเส้นทางมีระยะทางโดยประมาณ ๑๘๕ กิโลเมตร ๒) โครงการ MICE CITY จังหวัดขอนแก่นได้รับคัดเลือกให้เป็น MICE CITY แห่งที่ ๕ ของประเทศ (กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พัทยา ภูเก็ต และขอนแก่น) ซึ่งสอดรับกับแผนยุทธศาสตร์หลักการพัฒนา จังหวัด ๔ ปี (๒๕๕๗-๒๕๖๐) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ขอนแก่นเมืองน่าอยู่มุ่งสู่ มหานครแห่งอาเซียน” ๓) โครงการพุทธมณฑลอีสาน ทางจังหวัดขอนแก่นพร้อมกับคณะสงฆ์ ได้มีแนวคิดจัดสร้าง “พุทธมณฑลอีสานจังหวัดขอนแก่น” เพื่อเป็น สถานที่ส่าคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นสถานที่ประชุมอบรมสัมมนาและ ปฏิบัติธรรมของประชาชนพระภิกษุสงฆ์ หน่วยงานภาครัฐภาคเอกชน และภาคประชาสังคมและเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ขนาดใหญ่ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัด ๔) ระบบรถโดยสารด่วนพิเศษที่มีโครงสร้างแบบบนดิน โดยมีความ เหมาะสมกับเมืองขอนแก่น (ยุทธศาสตร์ของการพัฒนากลุ่มจังหวัดภาค ตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง, ๒๕๕๗-๒๕๖๐) ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงผังการใช้ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดขอนแก่น ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙ ๒ - ๒ ลักษณะทำงสังคมและเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น ๑๐๖,๕๘๓ บาทต่อคนต่อปี สูงเป็นอันดับ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ ๓๓ ของ ประเทศ (กรุงเทพ ๑๙๓,๓๙๕ บาทต่อคนต่อปี) ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ประจ่าปี ๒๕๕๗ มีมูลค่าจ่านวน ๑๘๗,๓๔๘ ล้านบาท ล่าดับที่ ๑๓ ของประเทศ และล่าดับที่ ๒ ของภาค (นครราชสีมา อันดับที่ ๑) อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจปี ๒๕๕๗ ร้อยละ ๖.๓๕ ผลิตภัณฑ์มวลรวม ตามสาขา ภาคนอกการเกษตร ๑๖๓,๖๔๔ ล้านบาท สาขาที่มีอันดับสูงสุด ๔ อันดับแรก ได้แก่ อุตสาหกรรม ๗๓,๒๔๑ ล้านบาท การศึกษา ๒๐,๕๔๒ ล้านบาท ค้าปลีก ค้าส่ง ยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ใน ครัวเรือน ๑๘,๘๒๐ ล้านบาท ภาคเกษตรกรรม ๒๓,๗๐๔ ล้านบาท จังหวัดขอนแก่นเป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่ตั้งอยู่ใจกลางของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย อีกทั้งยังเป็นเมืองหน้าด่าน ไปสู่ประตูอินโดจีน ดังแสดงในภาพที่ ๒-๒ โดยตั้งอยู่บนเส้นทางการ คมนาคมระหว่างภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความ ได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งของภาคอีสาน สามารถเชื่อมโยงออกสู่ทะเลตะวันออก เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ส่าคัญในการให้บริการ ประชาชนและพัฒนาจังหวัด ในจุดที่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๒ (ถนน มิตรภาพ) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ (ถนนมะลิวัลย์) และทางหลวง แผ่นดินหมายเลข ๒๐๙ (ถนนสายเศรษฐกิจตะวันออก–ตะวันตก; EWEC) ตัดผ่าน มีระยะทางห่างจากกรุงเทพมหานคร ๔๔๕ กิโลเมตร แผนภูมิที่ ๒ - ๑ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๖ ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙ ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดขอนแก่นมีพื้นที่ทั้งหมด ๑๐,๘๘๖ ตารางกิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มี ขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ ๓ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รองจากจังหวัด นครราชสีมา และจังหวัดอุบลราชธานี ตามล่าดับ อีกทั้งยังมีขนาดใหญ่เป็น อันดับที่ ๑๕ ของประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นมีขอบเขตพื้นที่ติดกับ จังหวัดอื่น ๆ ดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ จรดจังหวัดอุดรธานี หนองบัวล่าภู และจังหวัดเลย ทิศใต้ จรดจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก จรดจังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดมหาสารคาม ทิศตะวันตก จรดจังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดชัยภูมิ ลักษณะทำงสังคมและเศรษฐกิจ รายได้เฉลี่ย/คน/ปี ของจังหวัดขอนแก่น ๑๐๖,๕๘๓ บาทต่อคนต่อปี สูงเป็นอันดับ ๑ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ ๓๓ ของ ประเทศ (กรุงเทพ ๑๙๓,๓๙๕ บาทต่อคนต่อปี)
  • 9. แผนภูมิที่ ๒ - ๔ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๖ ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙ ๒ - ๓ ๑) โครงการเพิ่มระบบถนน และระบบรางในอนาคต ได้ก่าหนดศูนย์กลาง ขนส่งหลายรูปแบบในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น อุบลราชธานี และ นครราชสีมา (ค่าสั่งอนุมัติหลักการโครงการก่อสร้างระบบขนส่งมวลชนใน จ.ขอนแก่น ซึ่งเป็นการก่อสร้างรถรางไฟฟ้า ระยะที่ ๑ ช่วงเหนือ-ใต้ ระยะทาง ๒๖ กิโลเมตร เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๒๕๕๙) ๒) พื้นที่ศูนย์การขนส่งและบริการ ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นและ นครราชสีมา ๓) พื้นที่ศูนย์กลางรวบรวมและกระจายสินค้า ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น มุกดาหาร และนครราชสีมา เศรษฐกิจของจังหวัดขอนแก่นมีผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคปี ๒๕๕๖ ขึ้นอยู่กับ ภาคการเกษตรกรรมที่มีการขยายตัว และมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น โดยมี จ่านวนเงินหมุนเวียน ๓๘๐,๐๘๓ ล้านบาท รองลงมา คือ ภาคอุตสาหกรรม จ่านวน ๒๔๑,๗๓๙ ล้านบาท (ส่านักพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๕๕๖) ยุทธศาสตร์ของขอนแก่นเป็นศูนย์กลางทางด้านต่าง ๆ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ ๑) ศูนย์กลางทางด้านระบบการขนส่ง ๒) ศูนย์กลางของการศึกษา โดยจังหวัดขอนแก่นมีสถานศึกษาจ่านวน ๑,๑๖๗ แห่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น มีด้วยกัน ๖ คณะที่โดดเด่น ได้แก่ ๑. คณะแพทยศาสตร์ ๒. คณะเภสัชศาสตร์ ๓. คณะพยาบาลศาสตร์ ๔. คณะเทคนิคทางการแพทย์ ๕. คณะสัตว์แพทยศาสตร์ ๖. คณะ เทคโนโลยีด้านอาหาร ๓) ศูนย์กลางการรักษาพยาบาล คือ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ และ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๔) ศูนย์กลางของการสัมมนาและแสดงนิทรรศการ เช่น ศูนย์ประชุม อเนกประสงค์กาญจนาภิเษก งานไหมนานาชาติ ออกงานแสดงผ้าไหมของ ท้องถิ่น หอศิลป์ต้นตาล ซึ่งมีตลาดนัดบริการด้วย เป็นต้น ๕) ศูนย์กลางอุตสาหกรรมสีเขียว การบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการปล่อยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แผนภูมิที่ ๒ - ๒ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งตามสาขา ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙ ด้านอุตสาหกรรม จังหวัดขอนแก่นมีเงินลงทุน ๗๗,๒๓๓,๐๘๓,๗๔๔ บาท มีการจ้างงาน ๘๕,๕๒๘ คน และมีโรงงานอุตสาหกรรมที่ได้รับใบอนุญาต จากกระทรวงอุตสาหกรรม รวมทั้งสิ้นจ่านวน ๔,๑๓๑ โรงงาน แบ่งเป็น ๓ จ่าพวก แยกตามประเภทอุตสาหกรรม ๑. โลหะ เครื่องจักรกล ยานยนต์ ๒. เกษตร อาหาร เครื่องดื่ม ๓. ยาง พลาสติก อโลหะ แผนภูมิที่ ๒ - ๓ แสดงรายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากร ของจังหวัด ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. ๒๕๕๖ ที่มา: เทศบาลนครขอนแก่น, ๒๕๕๙ 40,000 45,000 50,000 55,000 60,000 65,000 70,000 75,000 80,000 85,000 90,000 95,000 100,000 หนองบัวล่าภู กาฬสินธุ์ ยโสธร ชัยภูมิ อ่านาจเจริญ มหาสารคาม บุรีรัมย์ มุกดาหาร สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด สกลนคร บึงกาฬ นครพนม อุดรธานี เลย หนองคาย นครราชสีมา ขอนแก่น จำนวนล้ำนบำท ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการปาไม้ 143,911 150,999 182,210 220,594 253,466 326,937 380,083 อุตสาหกรรม 146,151 164,120 180,578 216,238 227,728 227,056 241,739 ยานยนต์ จักรยานยนต์ 85,656 88,521 108,904 116,300 119,540 136,924 151,561 โรงแรม,ภัตตาคาร 9,723 9,856 10,567 10,948 12,139 12,407 14,111 การขนส่ง คลังสินค้า การคมนาคม 28,990 31,181 31,813 31,692 35,063 37,995 38,511 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ และบริการทางธุรกิจ 58,278 58,898 61,969 67,274 68,534 67,922 70,475 การศึกษา 108,383 116,376 126,460 137,184 158,623 183,770 196,177 บริการด้านสุขภาพและสังคม 20,480 23,475 27,389 27,616 29,404 32,525 33,776 9,000 59,000 109,000 159,000 209,000 259,000 309,000 359,000 จำนวนล้ำนบำท สรุปบทบำทของพื้นที่ศึกษำในระดับมหภำค ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางภูมิภาคล่าดับ ๑ มีศักยภาพในการพัฒนา เป็นศูนย กลางหลักของภาค ขอบเขตการให้บริการเชื่อมโยง กับกรุงเทพมหานครและเชื่อมโยงไปยังภูมิภาค AEC๑๐ ประเทศ รวมถึง ประเทศจีน เส้นทาง East - West Corridor เป็นเส้นทางหลักเพื่อขนส่ง สินค้าผ่านย่างกุ้ง แม่สอด ขอนแก่น พิษณุโลก ไปยังเวียดนาม โดยมี โครงการรถไฟรางคู่วิ่งคู่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดิน อีกทั้งผังภาคยังมี โครงการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
  • 10. แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอน- ต่่า การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลนครขอนแก่น เพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามาผนวกกับ แนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุมใน ๓ มิติ คือ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรม คาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบไปด้วย ๓ แนวคิดดังนี้ ๑) การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า ๒) การอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมือง ๓) เมืองคาร์บอนต่่า ๑ กำรคมนำคมขนส่งคำร์บอนต่ำ เทศบาลนครขอนแก่น ควรมีการ ส่งเสริมให้มีการเดินทางด้วยการเดินเท้า จักรยาน และขนส่งสาธารณะ โดยได้มีการออกแบบพื้นที่และเส้นทางที่เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น การปรับปรุงเส้นทางการเดินเท้าให้มีความน่าเดิน การเพิ่มจุดสถานีขน- ส่งผู้โดยสาร เพื่อเชื่อมต่อการเดินทางของผู้โดยสารระยะใกล้ และเพิ่ม สถานีขนส่งผู้โดยสารนอกเมืองเพื่อเชื่อมต่อการเดินทางระยะไกล เพิ่มเส้นทางรถสองแถวให้มีการการคลอบคลุมทั่วทั้งเมือง โดยเฉพาะ บริเวณพื้นที่ที่มีการอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น เพื่อลดความแออัดของ การจราจรในพื้นที่ เพิ่มเส้นทางรถ BRT เพื่อให้ครอบคลุมแก่ผู้ใช้งานใน พื้นที่ต่าง ๆ เป็นต้น ๓ เมืองคำร์บอนต่ำ เทศบาลนครขอนแก่น เพื่อเป็นการลดผลกระทบที่มี ผลต่อเกาะความร้อนของเมือง (urban heat island) ในระดับชุมชน โดยเฉพาะพื้นที่ศูนย์กลางเมืองหลักและศูนย์กลางเมืองรอง ควรส่งเสริมให้ มีการใช้หลังคาเขียว ผนังเขียว การปลูกต้นไม้ การใช้สีอ่อนบนพื้นผิวขนาด ใหญ่ของสิ่งปลูกสร้างเพื่อลดการสะท้อนความร้อน เช่น หลังคา ถนน และ พื้นที่ลานต่าง ๆ เป็นต้น ๒ - ๔ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ๒ กำรอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว เทศบาลนครขอนแก่น ควรส่งเสริม ให้มีการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวเดิมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหม่ โดยเฉพาะใน ส่วนของเมืองที่มีการพัฒนาสูง ควรมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับมลพิษ ในเมือง แต่พื้นที่สีเขียวที่ห่างออกไป มีแนวคิดควรรักษาสภาพทาง ธรรมชาติของพื้นที่มากที่สุด ซึ่งพื้นที่น่าร่องในการพัฒนา มี ๔ แห่ง ด้วยกัน คือ คลองพระบึงทุ่งสร้าง บึงแก่นนคร และบึงหนองโคตร ซึ่งควร มีการปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาให้เป็นพื้นที่สาธารณะเพื่อนันทนาการ ริมน้่าและพัฒนาเป็น green belt เพื่อป้องกันการขยายตัวของเมือง และ อุทกภัยประจ่าฤดู ภาพที่ ๒ – ๓ แสดงผังเส้นทางคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ภาพที่ ๒ – ๔ แสดงผังการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น
  • 11. การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืนที่เมืองขอนแก่นได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมให้บูรณาการ ไปสู่ความเป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า ได้แก่ เมืองโครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า การคมนาคมคาร์บอนต่่า ศูนย์กลางประชุมคาร์บอนต่่า ศูนย์กลางเมืองกระชับ การท่องเที่ยวคาร์บอนต่่า ภาพที่ ๒ – ๕ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ภาพที่ ๒ – ๖ แสดงผังเสนอแนะการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่า เทศบาลนครขอนแก่น ๒ - ๕
  • 12. บทที่ ๓ กำรพัฒนำเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่ สังคมคำร์บอนต่ำ เทศบำลนครขอนแก่น ๓ - ๑ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคม คาร์บอนต่่า ได้แก่ เมืองโครงข่ำยสีเขียวและคำร์บอนต่ำ สนับสนุนและส่งเสริมให้มีการ รักษาพื้นที่สีเขียวเดิม และเพิ่มพื้นที่สีเขียวใหม่ โดยพื้นที่น่าร่องเป็นการ พัฒนาโครงข่ายพื้นที่สีเขียว อนุรักษ์พื้นที่สีเขียว และปรับปรุงภูมิทัศน์ ให้สวยงาม เหมาะสมแก่การใช้งาน เช่น บริเวณถนนหลังศูนย์ราชการ (ถนนคนเดิน) และบริเวณโดยรอบอนุสรณ์ จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ บริเวณสวนสาธารณะรัชดานุสรณ์ ลานคนเมือง สวนสาธารณะบึงหนอง- แวง ย่านบึงแก่นนคร วัด โรงเรียน สถานที่ราชการ และถนนสายหลักของ ธุรกิจ การค้า เป็นต้น ทั้งนี้ก็เพื่อรักษาสภาพแวดล้อม เพิ่มการดูดซับ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่คนเมือง ซึ่งในการ จัดการพื้นที่นั้นจะอาศัยเฉพาะหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องในการ ปรับปรุงพื้นที่เพียงอย่างเดียวไม่ได้ จะต้องอาศัยความร่วมมือจาก ภาคเอกชน และประชาชนในพื้นที่ร่วมด้วย โดยต้องสร้างความตระหนัก ถึงความส่าคัญและความจ่าเป็นในการอนุรักษ์และเพิ่มพื้นที่สีเขียว เพื่อให้เกิดความร่วมมืออย่างจริงจังมีประสิทธิภาพและเกิดความยั่งยืน ต่อไป เศรษฐกิจและอุตสำหกรรมคำร์บอนต่ำ ควรมีการส่งเสริมการบริการและ การบริโภคที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การท่าตลาดสีเขียว หรือ ตลาด Low Carbon ส่งเสริมการสร้าง Green Network (เชื่อมโยงพื้นที่จาก ถนนสายหลักมายังตลาด) ส่งเสริมพื้นที่สีเขียวกลางตลาดและใช้ผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น นอกจากนี้ยังควรน่าร่องพื้นที่ที่มี ศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจคาร์บอนต่่า เช่น พื้นที่บริเวณถนนศรีจันทร์-ถนนหน้าเมือง และในส่วนพื้นที่ในย่าน มหาวิทยาลัย ซึ่งควรส่งเสริมให้มีการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะให้มี ประสิทธิภาพ เน้นการใช้ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะและการเดินเท้า การใช้จักรยาน ส่งเสริมการติดตั้งแผงพลังงานแสงอาทิตย์ตามท้องถนน พร้อมกันนี้ ในส่วนของพื้นที่ด้านการค้าควรส่งเสริมให้ปรับรูปแบบอาคาร ให้เป็นอาคารประหยัดพลังงานโดยใช้แสงจากธรรมชาติ (Sunlight) เป็นต้น มีการจัดการน้่า การคัดแยกขยะ ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้ต้นไม้เดิมในพื้นที่ให้มากที่สุด เพื่อให้ร่มเงาและบรรยากาศ ที่สนับสนุนกับวิถีชีวิตคาร์บอนต่่า นอกจากนี้ยังควรจัดตั้งศูนย์เผยแพร่ ความรู้เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจคาร์บอนต่่าให้แก่ประชาชนร่วมด้วย เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนในท้องถิ่นนั่นเอง กำรคมนำคมคำร์บอนต่ำ ควรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีการเดินทางโดยการ เดินเท้า การใช้จักรยาน และคมนาคมขนส่งสาธารณะ เช่น มีการใช้รถบัส ปรับอากาศประจ่าทาง ใช้รถไฟรางเบา (บริเวณเส้นทาง ส่าราญ-ท่าพระ) ใช้ BRT (บริเวณเส้นทาง หนองโคตร-หนองใหญ่ บ้านทุ่ม-บึงเนียม น้่าต้อน- อ่างศิลา) มีจุดจอดจักรยานในพื้นที่ย่านศูนย์กลางด้านการค้า สถานที่ ราชการ เป็นต้น ส่งเสริมกิจกรรม Car Pool ที่เทศบาลได้ด่าเนินการอยู่แล้ว ให้มีการเผยแพร่อย่างแพร่หลาย สนับสนุนโครงการจอดแล้วจร (Park Ride) เพื่อแก้ไขปัญหารถติดในเมือง และจัดการระบบไหลเวียนของรถให้มี ประสิทธิภาพ ให้เกิดความคล่องตัว รวมไปถึงการปรับปรุงพื้นผิวทางเท้าเพิ่ม ทัศนียภาพให้สวยงาม ให้มีความน่าเดินและปลอดภัย ศูนย์กลำงกำรประชุมคำร์บอนต่ำ ควรน่าร่องในพื้นที่บริเวณถนน ศรีจันทร์-ถนนหน้าเมือง เนื่องจากมีศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นเมืองแห่ง การประชุม (MICE CITY) ส่งเสริมให้มีอาคารราชการที่ประหยัดพลังงาน หลังคาเขียว (GREEN ROOF) ส่งเสริมการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการเดินเท้า การใช้จักรยานในเขตย่านกลางเมืองร่วมกับโครงข่าย BRTและรถโดยสารขนาดเล็ก ตลอดจนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ในศูนย์กลางทางธุรกิจของเมือง ศูนย์กลำงเมืองกระชับสนับสนุนให้มีเมืองหลำยศูนย์กลำง พื้นที่ศูนย์กลาง เมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่างชาญฉลาด มีความกระชับใช้ที่ดินแบบ ผสมผสาน โดยมีถนนวงแหวนของเมืองที่จะถูกใช้เป็นขอบเขตในการควบคุม การกระจายตัวของเมือง และควรสนับสนุนให้มีการรักษาพื้นที่เกษตร และ พื้นที่สีเขียวรอบเมือง (บริเวณพื้นที่วงแหวนรอบนอก) พร้อมทั้งควรมีการ เชื่อมโยงระบบคมนาคมและขนส่งสาธารณะ สนับสนุนให้มีการเดินเท้าและ การใช้จักรยานเพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กำรท่องเที่ยวคำร์บอนต่ำ ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชีวภาพและพื้นที่สีเขียวในเมืองซึ่งพื้นที่ที่มีศักยภาพ ในการพัฒนาเพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคาร์บอนต่่า เช่น พื้นที่ บริเวณถนนหลังเมือง ควรปรับปรุงให้เป็นถนนคนเดิน ฟื้นฟู เศรษฐกิจให้ดีขึ้นด้วยการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์อาคารเก่า สร้างอัตลักษณ์ให้ชัดเจนมากขึ้น ปรับปรุงสภาพสิ่งแวดล้อมให้ดีขึ้น และน่าเดินเพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่ดีให้กับพื้นที่ และยังเป็นการส่งเสริมธุรกิจภายในชุมชน โดยโครงการน่าร่องการพัฒนาเทศบาลนครขอนแก่น เพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๖ โครงการ ดังนี้ โครงการพัฒนาย่านราชการ โครงการพัฒนาถนนคนเดินบนถนนหลังเมือง โครงการปรับปรุงตลาดกลางที่ยั่งยืน โครงการพัฒนาย่านศูนย์กลางธุรกิจ โครงการพัฒนาย่านบึงแก่นนคร โครงการพัฒนาย่านมหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 13. ๓ - ๒ ภาพที่ ๓ - ๑ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนา พื้นที่บริเวณย่านราชการ ๓.๑ โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านราชการ เป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่บริเวณหน้าอาคารศูนย์ราชการ เพื่อสร้างความเป็นเอกลักษณ์และส่งเสริม การเดินเท้า การใช้งานพื้นที่สาธารณะ จากบริเวณอนุสรณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ผ่านตลาดลานคนเมือง มุ่งหน้าสู่ศาลากลาง มีโครงข่าย Green Network เชื่อมโยงทั้งศูนย์ราชการ ซึ่งพื้นที่โดยรอบค่านึงถึงการจัดระเบียบพื้นที่จอดรถ จุดจอด BRT จุดจอดจักรยาน เพิ่มพื้นที่ลานจอดรถ ใต้ดินบริเวณลานคนเมือง ให้มีร้านค้า และปรับปรุงอาคาร บขส. เป็นพื้นที่การค้า
  • 14. ๓ - ๓ ภาพที่ ๓ – ๒ แสดงทัศนียภาพตามแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านราชการ ภาพที่ ๓ – ๓ แสดงสภาพก่อนการพัฒนาพื้นที่บริเวณย่านราชการ
  • 15. ภาพที่ ๓ – ๕ ต่าแหน่งโครงการการพัฒนาย่านราชการ A7 A7 A8 A1 A4 A3 ศำลแขวง A6 A5 A2 โรงเรียน ศำลแขวง ลำนคนเมือง A9 A9 ศำลำกลำงจังหวัด ภาพที่ ๓ - ๔ ผังแสดงพื้นที่โครงการในการพัฒนาย่านราชการ  โครงข่ำยสีเขียว A1 หลังศูนย์ราชการ (ถนนคนเดิน) A2 อนุสรณ์แห่งความเสียสละและข้าง ๆ ที่จอดรถสถานีต่ารวจ A3 ด้านหลังศาลแขวงติดกับบ้านพักหัวหน้าศาล A4 ส่านักงานจัดการปาไม้ที่ ๗ และส่านักงานทางหลวงชนบท A โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร  ส่งเสริมกำรเดินเท้ำ และปรับปรุงภูมิทัศน์น่ำเดิน A5 อนุสรณ์จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชน์ และสวนสาธารณะรัชดานุสรณ์ A6 ลานคนเมือง (เพิ่มลานจอดรถใต้ดิน)  จัดระเบียบพื้นที่จอดรถ และจัดเตรียมที่จอดรถ A7 อนุสรณ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์ A8 ที่จอดรถต่ารวจภูธรจังหวัดขอนแก่น  อำคำรประหยัดพลังงำน A9 อาคารพาณิชย์บริเวณอาคาร บขส. ยุทธศำสตร์ที่ ๔. พัฒนาระบบ Logistic ระบบขนส่งมวลชนและโครงสร้าง พื้นฐานให้เป็นนครแห่งการลงทุนและนครแห่งการอยู่อาศัย ยุทธศำสตร์ที่ ๕. พัฒนาและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในระดับ มาตรฐานสากล สรุปโครงกำรพัฒนำ ๓ - ๔ ยุทธศำสตร์ของเทศบำลที่เกี่ยวข้อง
  • 16. ๓ - ๕ • สร้ำงโครงข่ำยสีเขียว (เชื่อมโยงทั้งศูนย์รำชกำร - รักษา ปกป้อง ฟื้นฟู และพัฒนาพื้นที่สีเขียวเดิม - ปลูกต้นไม้ริมถนนและทางเดิน พื้นที่เปิดโล่งสาธารณะ ตลอดจนส่งเสริม อาคารเขียว เป็นต้น A1 หลังศูนย์ราชการ (ถนนคนเดิน) A2 อนุสรณ์แห่งความเสียสละและข้าง ๆ ที่จอดรถสถานีต่ารวจ A3 ด้านหลังศาลแขวงติดกับบ้านพักหัวหน้าศาล A4 ส่านักงานจัดการปาไม้ที่ ๗ และส่านักงานทางหลวงชนบท แนวทำงกำรดำเนินงำน ๑. การบรรจุนโยบายด้านการพัฒนาเมืองและชุมชนไปสู่การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่าเข้าสู่แผนยุทธศาสตร์ ของการพัฒนาและสร้างต้นแบบโครงการเมืองและชุมชนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนต่่า - จัดท่าข้อบัญญัติท้องถิ่นโดยองค์กรปกครองบริหารส่วนท้องถิ่น โดยอาศัยอ่านาจตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๙ มาตรา ๖๐ ถึง ๙๕ - น่าร่องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและพันธุ์ไม้ท้องถิ่นในแปลงที่ดินของรัฐ รวมทั้งจัดท่าฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียว และฐานข้อมูล ทะเบียนพันธุ์ไม้ใหญ่ทรงคุณค่าในเมือง ๒. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน - วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมี คณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับกรมโยธาธิการและ ผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณค่า ๓. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เหมาะสมต่อการพัฒนาเมืองและ ชุมชนคาร์บอนต่่า - ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่เฉพาะของ การพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๔. การส่งเสริมและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อม - ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการผลิตอย่างต่อเนื่อง เช่น ริมถนน ลานจอดรถ สวนหย่อม ทางเชื่อมจุดต่าง ๆ เป็นต้น โดยเลือกปลูกพันธุ์ไม้ให้เหมาะกับการจัดการปัญหามลพิษ ๕. การใช้วัสดุและการก่อสร้างอาคารที่ประหยัดพลังงาน รวมทั้งพัฒนาเทคโนโลยีผนัง หลังคา รูปทรงอาคาร ให้มีความเหมาะสมกับ ภูมิอากาศเมืองร้อน - น่าร่องการลดการใช้พลังงานในอาคาร เช่น การปรับปรุงเทคโนโลยีผนังอาคารและรูปทรงอาคารให้มีความเหมาะสมกับ ภูมิอากาศเมืองร้อน การเพิ่มประสิทธิภาพของการท่าความเย็นในอาคาร การเพิ่มประสิทธิภาพของการส่องสว่างในอาคาร การเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานในการประกอบอาหารจากแหล่งพลังงานหมุนเวียนให้สูงขึ้น การส่งเสริมการผลิตความร้อน เป็นต้น หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม กองวิชาการและ แผนงาน หน่วยงำนสนับสนุน กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ส่านักงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด ส่านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ ไปรษณีย์เทพารักษ์ บขส.ขอนแก่น ศาลแขวง ศาลจ.ขอนแก่น Café De’Forest สภำพแวดล้อมคำร์บอนต่ำ A โครงกำรพัฒนำย่ำนรำชกำร กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว