SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
แผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
จัดท่าภายใต้
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙
ลิขสิทธิ์ของ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เผยแพร่โดย
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐
จัดท่าโดย
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พิมพ์ที่
บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด
๒๓o๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑o๙oo
ค่าน่า
ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ
กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้
พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า
แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด
การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ
ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง
ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้
ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ
สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์
เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิงหาคม ๒๕๕๙
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ค่าน่า
สารบัญ
บทที่ ๑ บทน่า
บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนา
บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคารบอนต่่า
๓.๑ โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า
๓.๒ โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
๓.๓ โครงการพัฒนาย่านพาณิชยกรรม
๓.๔ โครงการพัฒนาย่านพาณิชยกรรมบนถนนสายหลัก (ถนนกวงเฮง)
บทที่ ๔ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลเมืองศรีสะเกษที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า
๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน
๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ภาคผนวก
๑ - ๑
๒ - ๑
๓ - ๑
๓ - ๒
๓ - ๖
๓ - ๑๑
๓ - ๑๖
๔ - ๑
๔ - ๑
๔ - ๒
๔ - ๕
๔ - ๑๕
บทที่ ๑ บทน่า
๑ - ๑
หลักการและเหตุผล
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์
การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม
คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม
เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด
รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย
สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่
ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ
ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ
วัตถุประสงค์
๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย
แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง
การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม
๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น
แนวคิดในการด่าเนินงาน
สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน
ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ
โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ
ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน
ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน
ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่
ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม
คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง
การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ
มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม
เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่
การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ
เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก
ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ
พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ-
ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ
ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ
ทุกระดับ
การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน
หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา
ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม
คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก
ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ
โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง
อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ
ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม
ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
๑ - ๒
การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม
ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี
เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว
เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน
ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง
(Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง
(Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า
ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง
ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ
หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ
การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม
คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ
แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้
ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน
บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง
การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว
เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up
Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน
สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน
พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ
ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง
วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น
ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง
เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง
แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ
น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง
ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ
เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ
ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้
ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน
เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน
กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ
รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่
การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่
สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ
ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง
สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน
หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น
มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน
การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน
สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า
(๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด
(๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
(๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ
(๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
(๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ
(๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า
(๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก
(๓) การประหยัดพลังงานอาคาร
(๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า
(๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน
(๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน
(๔) การจัดการน้่าในเมือง
บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและ
ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง
อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง
แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง
ดังนี้
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง
กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ
ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม
อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ
มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์
ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น
พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ
ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี
ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ
เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้
ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้
รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน
ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย
เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ
คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี
ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้
๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ
พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี
และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น
ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น
๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable
Development)
๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology)
๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and
Network Development)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ
− กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์
− กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์
− กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ
− กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู
− กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม
๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency
Economy)
จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา
แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด
ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ
กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ
ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์
และพลังงานทดแทน
แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ
พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด
ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ
“ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่”
ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ
แข่งขันได้
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๒ - ๑
ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ
จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ,
๒๖๐๐)
โครงการส่าคัญ ได้แก่
๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก
แบบครบวงจร (Distribution Center)
๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ
และข้าวหอมมะลิอินทรีย์
๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน
๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ
มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร
๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน
ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน
ด้านขนส่ง
๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ
ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน
๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข
๙ และ ๑๒
ประชากรในจังหวัดศรีสะเกษมีรายได้เฉลี่ย ๖๕,๔๐๙ บาทต่อ
คนต่อปี สูงเป็นอันดับ ๑๕ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็น
อันดับที่ ๗๑ ของประเทศ ซึ่งกรุงเทพมหานครมีรายได้เฉลี่ย ๑๙๓,๓๙๕
บาทต่อคนต่อปี (ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๖)
แผนภูมิที่ ๒ - ๑ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดศรีสะเกษ
ที่มา: ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๖
แผนพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ มีการจัดท่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ
ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประตูการค้าและการท่องเที่ยว สู่อารยธรรมขอมโบราณ
ดินแดนเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน” โดยมีพันธกิจ ดังนี้
๑. ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการทองเที่ยวกับกลุ่มประเทศอาเซียน
๒. เสริมสร้างสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเพิ่มมูลค่า
อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร
๓. ส่งเสริมสุขภาวะ การศึกษา การกีฬา และเพิ่มความร่มรื่นของพื้นที่สีเขียว
๔. สร้างความมั่นคง ความเป็นระเบียบ และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
๕. บูรณาการการท่างานของทุกภาคส่วน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด
ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์
สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค
จังหวัดศรีสะเกษเป็นเมืองในระดับที่ ๓ ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเป็นเมืองศูนย์กลางระดับจังหวัด มีความส่าคัญด้าน
การบริหารราชการระดับจังหวัด
ในระดับภาค ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ได้วาง
บทบาทของจังหวัดศรีสะเกษไว้เป็นเมืองการค้า เมืองการท่องเที่ยวชายแดน
และเมืองเกษตรปลอดภัย ซึ่งมีความสอดคล้องกับจังหวัดศรีสะเกษ ที่มีที่ตั้งอยู่
ติดชายแดน มีโบราณสถานและแหล่งวัฒนธรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรม
ขอมโบราณ และมีผลผลิตส่วนใหญ่เป็นผลผลิตทางการเกษตร
นอกจากความส่าคัญที่สอดคล้องกับผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว จังหวัดศรีสะเกษยังมีเส้นทางรถไฟ
สายตะวันออกเฉียงเหนือกรุงเทพ-อุบลราชธานีพาดผ่าน อีกทั้งยังมีถนนสาย
หลักของพื้นที่อีสานใต้ตัดผ่านพื้นที่ ท่าให้จังหวัดศรีสะเกษมีความส่าคัญ
ในแง่ทางผ่านของการคมนาคมขนส่งในระดับภาคอีกด้วย
๒ - ๒
ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ
จังหวัดศรีสะเกษ มีจ่านวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ในปี
๒๕๕๗ จ่านวน ๑,๔๖๕,๒๑๓ คน ซึ่งจัดอยู่ในอันดับ ๘ ของประเทศ
(ไม่รวมกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) (ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๗)
ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ
ภาษาลาว ภาษากูยภาษาเยอ และภาษาเขมรลือ (เขมรบน) ส่วนใหญ่เป็น
พุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิม
จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมด ๘,๘๔๐ ตาราง
กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ ๙ ของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับที่ ๒๑ ของประเทศไทย มีขอบเขตพื้นที่
ติดต่อกับจังหวัดและประเทศต่าง ๆ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และ
จังหวัดร้อยเอ็ด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี
ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดร้อยเอ็ด
ลักษณะภูมิประเทศ
จังหวัดศรีสะเกษ อยู่สูงจากระดับน้่าทะเลปานกลาง ๑๕๐-๒๐๐
เมตร ภูมิประเทศทางตอนใต้ มีเทือกเขาพนมดงรักทอดตัวยาวค่อย ๆ
ลาดต่่าไปทางเหนือ ทางตอนกลางของจังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม
ลอนลาด มีล่าน้่าหลายสายไหลผ่านลงไปยังแม่น้่ามูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ
ของจังหวัด ล่าน้่าสายส่าคัญ ได้แก่ ห้วยทับทัน ห้วยส่าราญ และห้วยขะยุง
จังหวัดศรีสะเกษ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมปี ๒๕๕๖ มูลค่า
๖๘,๕๐๕ ล้านบาท และมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง โดยสาขาที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงสุด ๔ อันดับแรก ได้แก่
๑. ด้านเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ ๒๔,๓๗๔ ล้านบาท
๒. ด้านการศึกษา ๑๓,๔๔๘ ล้านบาท
๓. ด้านการขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์
ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน ๖,๙๗๗ ล้านบาท
๔. ด้านอุตสาหกรรม ๓,๘๖๐ ล้านบาท
การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลเมือง
ศรีสะเกษเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทาง
กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามา
ผนวกกับแนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุม
เมืองใน ๓ มิติ คือ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบด้วย
แนวคิด ๓ ด้าน ดังนี้
๑) เมืองกระชับ
๒) การคมนาคมคาร์บอนต่่า
๓) โครงข่ายสีเขียว
๑) เมืองกระชับ สนับสนุนให้เพิ่มความหนาแน่นในพื้นที่เมือง โดย
คงการจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมไว้บริเวณกลาง
เมือง บริเวณริมทางรถไฟ และขยายเพิ่มเติมตามแนวถนนกวงเฮง
จากสถานีรถไฟสู่สถานีขนส่ง โดยปรับการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท
อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยให้เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง
ครอบคลุมพื้นที่โดยรอบพื้นที่พาณิชยกรรม ซึ่งการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ประเภทสถานที่ราชการ สถานศึกษา และศาสนสถานคงไว้ตามเดิม
พร้อมทั้งควรมีการกระจายศูนย์กลางเมืองออกเป็นศูนย์กลางย่อย
ตามการตั้งถิ่นฐานเดิมและในพื้นที่ที่มีแนวโน้มในการเติบโตของเมือง
ในอนาคต
๓) โครงข่ายสีเขียว สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวเดิม และเพิ่มพื้นที่
สีเขียวใหม่เพื่อช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นการปรับภูมิทัศน์ให้พื้นที่
มีความสวยงามอีกด้วย โดยการปลูกต้นไม้ริมทาง เพิ่มพื้นที่สีเขียวในสถานที่
ราชการ วัด โรงเรียน พื้นที่กึ่งสาธารณะของเอกชน และพื้นที่สีเขียวริมน้่า เป็นต้น
นอกจากนี้ควรสนับสนุนเกษตรคนเมือง โดยการท่าสวนกระถาง เพื่อเป็นการช่วย
ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการขนส่ง และลดการใช้สารเคมี
ร่วมกันอีกด้วย
๒ - ๓
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสูสังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
๒) การคมนาคมคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เช่น การเดินเท้า การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งควรน่า
ร่องให้มีการเดินเท้าและใช้ขนส่งสาธารณะเป็นอันดับแรก ๆ โดยการจัดเตรียมรถ
โดยสารรับส่งจากนอกเมือง ๕ สาย เป็นวงแหวนรอบพื้นที่ และในเส้นทาง
ภายในเมืองซึ่งผ่านสถานที่ส่าคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ยังควรจัดระบบขนส่งมวลชน
สาธารณะให้เป็นระเบียบมากขึ้น พร้อมทั้งควรปรับปรุงทางเท้า และทางจักรยาน
ให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม น่าใช้งาน และปลอดภัย เป็นต้น
ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงผังเสนอแนะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ภาพที่ ๒ – ๓ แสดงผังเสนอแนะพื้นที่สีเขียว เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
ภาพที่ ๒ – ๕ แสดงผังแนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
ภาพที่ ๒ – ๔ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
๒ - ๔
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืนที่เมืองได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมให้บูรณาการไปสู่ความ
เป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า กรอบแนวคิด ๔ ด้านถูกจัดท่าขึ้น ได้แก่
- การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า
- เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
- โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า
- ศูนย์กลางเมืองกระชับ
บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้แก่
การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พัฒนาทางเท้า ระบบ
การสัญจร และจ่ากัดความเร็วของรถยนต์ให้เหมาะต่อการเดินและการใช้จักรยาน รวมถึงสนับสนุนการใช้
จักรยานในชีวิตประจ่าวัน และสนับสนุนการคมนาคมขนส่งสาธารณะเพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้
รถยนต์ส่วนตัว โดยมีพื้นที่น่าร่องในการพัฒนา เช่น บริเวณถนนกวงเฮง ซึ่งควรมีการปรับปรุงถนนด้วยการ
ขยายทางเท้าเพื่อปลูกต้นไม้และท่า bioswale ส่าหรับให้น้่าซึมผ่านลงสู่ใต้ดินเพื่อเติมคืนน้่าใต้ดิน ปรับปรุงรัศมี
วงโค้งของวงเวียนให้มีความเหมาะสม เพื่อจ่ากัดความเร็วของรถและเพื่อความคล่องตัวในการใช้รถใช้ถนน
เป็นต้น
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเพิ่มความเข้มข้นของการใช้พื้นที่ โดยการสนับสนุนให้มีการสร้างอาคาร
ใหม่ที่มีความสูงทดแทนอาคารเดิม และสร้างสิ่งอ่านวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จะส่งผลให้เป็นย่านคาร์บอนต่่าที่มี
ชีวิตชีวา โดยมีพื้นที่น่าร่อง เช่น บริเวณหน้าสถานีรถไฟ เพิ่มกิจกรรมการค้าในส่วนพาณิชยกรรมและการบริการ
พร้อมทั้งสนับสนุนให้มีการเชื่อมต่อกันของพื้นที่ด้านการค้า เช่น บริเวณหน้าสถานีรถไฟ และแยกกวงเฮงให้เป็น
ย่านที่มีกิจกรรมหนาแน่น ส่งเสริมรูปแบบอาคารและกลุ่มอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รักษาเอกลักษณ์ของ
กลุ่มอาคารเดิมเพื่อคงความเป็นสถานที่ และควรมีการส่งเสริมให้มีการก่าจัดขยะและใช้พลังงานอย่างมี
ประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟูพื้นที่สีเขียว พื้นที่ชุ่มน้่า และเพิ่มการเข้าถึงและ
เชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด และครัวเรือน เป็นต้น โดยมีพื้นที่น่าร่องที่ควรอนุรักษ์
ฟื้นฟู ในส่วนพื้นที่ริมน้่า เช่น บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ควรมีการพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับพื้นที่ริมน้่าและเพิ่ม
การเข้าถึงเพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะส่าหรับพักผ่อน รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปรับปรุงพื้นที่ว่างระหว่างอาคาร
และพื้นที่ขนาดเล็กอื่น ๆ ให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะขนาดเล็ก เพื่อเพิ่มพื้นที่สาธารณะในเมือง
ศูนย์กลางเมืองกระชับ สนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง พื้นที่ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่าง
ชาญฉลาด เพิ่มความหนาแน่นในพื้นที่ตัวเมืองและพื้นที่อยู่อาศัย โดยให้มีพื้นที่ท่ากิจกรรมและสิ่งอ่านวยความ
สะดวก เพิ่มความหนาแน่นอาคารเพื่อลดการกระจายตัวของเมืองออกสู่พื้นที่เกษตรกรรมรอบนอก เพิ่มความ
หนาแน่นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยให้มีความกระชับ เพิ่มความหนาแน่นการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ประเภทพาณิชยกรรมเพื่อลดระยะการเดิน ซึ่งสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ เป็นต้น
โครงการน่าร่องการพัฒนาเทศบาลเมืองศรีสะเกษเพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๔
โครงการ ดังนี้
๑) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านการค้าเก่า มีอาณาเขตตั้งแต่ถนนปลัดมณฑล ไปจนถึงถนนวิจิตรนคร
ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศเหนือของทางรถไฟ ไปจรดถนนศรีวิเศษ
๒) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ มีอาณาเขตตั้งแต่ริมห้วยส่าราญ
ฝั่งตะวันตก ไปจนถึงถนนปลัดมณฑล ครอบคลุมพื้นที่ตั้งถนนวันลูกเสือ ไปจรดถนนศรีวิเศษ
๓) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชยกรรม มีอาณาเขตตั้งแต่ตั้งแต่ถนนปลัดมณฑล ไปจนถึงถนน
วิจิตรนคร ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศใต้ของทางรถไฟ ไปจรดถนนวันลูกเสือ
๔) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชยกรรมบนถนนกวงเฮง มีอาณาเขตตั้งแต่ตั้งแต่ถนนรัตนวงษา
ไปจนถึงถนนวิจิตรนคร ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศใต้ของถนนวันลูกเสือ ไปจรดซอยขุขันธ์ ๓
ภาพที่ ๓ – ๑ แสดงผังพื้นที่โครงการน่าร่องในการพัฒนาเทศบาลเมืองศรีสะเกษ
๓ - ๑
๓.๑ โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า บริเวณย่านการค้าเก่า เป็นย่านที่มีตึกแถวที่ยังคงมีวัฒนธรรมดั้งเดิมของจังหวัดศรีสะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งขนส่งทางบกหลักของเมืองทั้งสถานี
รถไฟ และสถานีขนส่ง เป็นต้น จึงมีศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปใช้งานมากขึ้น โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาพื้นที่ทางเดินเท้าและ
จัดสรรพื้นที่บริเวณหน้าร้านค้าให้มีพื้นที่ว่างส่าหรับท่ากิจกรรมและพื้นที่ทางเดิน และเพิ่มพื้นที่สีเขียวริมทางเพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
รวมทั้งเพิ่มความหนาแน่นในส่วนพื้นที่ตัวเมือง
ภาพที่ ๓ - ๕ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ ภาพที่ ๓ - ๖ แสดงการปรับปรุงพื้นที่จอดรถ
ภาพที่ ๓ – ๔ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาพื้นที่ย่านการค้าเก่า
ภาพที่ ๓ – ๒ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ
ภาพที่ ๓ – ๓ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ
๓ - ๒
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๔ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๕ พัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่่า
ภาพที่ ๓ – ๗ แสดงผังพื้นที่ย่านการค้าเก่า
ภาพที่ ๓ – ๙ ต่าแหน่งพื้นที่ย่านการค้าเก่า
A โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า
ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ ๓ – ๑๐ แสดงการปรับปรุงพื้นที่จอดรถภาพที่ ๓ - ๘ (ซ้ายและขวา) แสดงทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ
๓ - ๓
รูปแบบการพัฒนา ย่าน
• ที่พักอาศัยที่มีความหนาแน่นสูง A1 บริเวณซอยเทพา ๑๒ และ
ซอยวิจิตร ๑๕
• โครงการสถานีรับส่งรถสาธารณะ
(ปรับปรุงสถานีขนส่ง)
A2 สถานีรถไฟจังหวัดศรีสะเกษ
• ปรับพื้นที่ให้เป็นถนนคนเดิน A3 วงเวียน
• ปรับปรุงตลาด (การจัดการน้่า ขยะ และ
ระบบบ่าบัดน้่าเสีย
A4 ตลาดเทศบาล ๓
สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า
A โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า
• สถานีจอดรถรับ-สาธารณะ
- ปรับปรุงพื้นที่สถานีขนส่ง
- เพิ่มจุดรอรถประจ่าทาง
A2 สถานีรถไฟจังหวัดศรีสะเกษ
• ที่อยู่อาศัยที่มีความหนาแน่นสูง
- ปรับโครงสร้างเมืองโซนอาคาร พักอาศัยให้เป็นเมือง
กระชับ
A1 บริเวณซอยเทพา ๑๒ และซอยวิจิตร ๑๕
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กรมโยธาธิการและผังเมือง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนสตรีสิริเกศ โรงเรียนอนุบาลวัดพระ-
โต สถานีต่ารวจ กรมที่ดิน ส่านักงานที่ดิน ฯลฯ
แนวทางด่าเนินงาน
๑. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน
- วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมีคณะกรรมการ
โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
- ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน โดยรัฐเข้ามาลงทุนบริหารจัดการเองทั้งหมดตั้งแต่การจัดหาที่ดินโดยเฉพาะอย่างยิ่งการด่าเนินโครงการ
ฟื้นฟูหรือพัฒนาและโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต่อโครงสร้างพื้นฐาน
๒. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
- ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่เฉพาะของการ
พัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
๓. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การเดินทางที่ประหยัดพลังงานและ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง ซึ่งหากมีการเดินทางไกลควรใช้บริการรถสาธารณะ
๔. การกระจายอ่านาจ และเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
- จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองและชุมชนให้ไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประจ่าจังหวัด เพื่อท่าหน้าที่น่าแผนการขับเคลื่อนฯ ไปสู่การ
ปฏิบัติการเชื่อมโยงแผนพัฒนาจังหวัดแผนปฏิบัติราชการประจ่าปี และการขอรับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินประจ่าปีของ
จังหวัด
- วางแผนและผังการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเท้า และเอื้อประโยชน์ต่อระบบการขนส่งที่อนุรักษ์พลังงาน สามารถ
เดินทางได้ในระยะสั้น และสามารถใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้พลังงานหรือใช้พลังงานต่่า
๕. การปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐเพื่อให้เอื้อต่อโครงสร้างพื้นฐานของเมืองคาร์บอนต่่า
- ใช้มาตรการทางการคลังเข้ามาช่วยกระตุ้นให้เกิดโครงการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานคาร์บอนต่่า การประหยัดพลังงาน และ
การเป็นเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๓ - ๔
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง
กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว
วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า
เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย
กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
สถานีรถไฟ โรงแรมศรีสะเกษ โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนสตรีสิริเกศ โรงแรมสันติสุข
สถานธนานุบาล ฯลฯ
• ปรับพื้นที่บริเวณวงเวียนเป็นถนนคนเดิน
- ปรับปรุงพื้นที่ทางเดินเท้า
- ฟื้นฟูและเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณทางเดินเท้า
A3 วงเวียน
• ปรับปรุงตลาดสด
- สนับสนุนการใช้ ๔R
- จัดการขยะ และใช้น้่าหมุนเวียน อย่างมีประสิทธิภาพ
A4 ตลาดเทศบาล ๓
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ส่านักปลัดเทศบาล
หน่วยงานสนับสนุน
กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงพลังงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่
โรงแรมบุญศิริบูติกโฮเทล โรงเรียนอนุบาลวัดพระโต ตลาดสดต้นมะเกลือ โรงเรียนรวมสินวิทยา
ฯลฯ
แนวทางด่าเนินงาน
๑. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน
- วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มี
คุณค่า การแก้ไขปรับปรุงสภาพความเสื่อมโทรมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม
- วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมี
คณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับ
กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
๒. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
- ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่
เฉพาะของการพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
๓. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การเดินทางที่
ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง ซึ่งหากมีการเดินทางไกล
ควรใช้บริการรถสาธารณะ
- สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership, PPP) คือ การท่าสัญญาร่วมลงทุน
ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการให้บริการสาธารณะ
๔. การขับเคลื่อนการปฏิบัติโดยบรรจุเรื่องเมืองคาร์บอนต่่าในแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการขององค์กรระดับต่าง ๆ
- พัฒนาเมืองที่ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าและการใช้จักรยานรวมถึงระบบขนส่งมวลชน ควบคุมลดความเร็ว
ของการจราจรและเรียกคืนพื้นที่เพื่อการเดินเท้า (Traffic Taming) การปิดถนนเพื่อการเดินเท้า การสร้างความ
ร่มรื่นในการเดินเท้าในศูนย์กลางเมือง และการสนับสนุนให้มีการใช้จักรยาน
แนวทางด่าเนินงาน
๑. การสร้างมาตรการจูงใจเพื่อสนับสนุนการเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจที่ปล่อยคาร์บอนต่่า
- การลดหย่อนภาษีส่าหรับภาคธุรกิจเอกชนที่ให้ความส่าคัญด้านการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือด่าเนินกิจการที่มี
ของเสียจากกระบวนการผลิตน้อยที่สุด รวมถึงสร้างแรงจูงใจในการเข้าสู่การแข่งขันเพื่อเป็นร้านค้าสีเขียว เช่น
การรับรองคุณภาพร้านค้าสีเขียว การมอบรางวัลจากการประกวดร้านค้าสีเขียวของเมือง เป็นต้น
๒. การประกอบกิจการที่ให้ความส่าคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า
- รณรงค์ส่งเสริมการประกอบกิจการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยใช้หลักการสีเขียวในการท่าธุรกิจ
- ภาคธุรกิจเอกชนปรับรูปแบบและวิธีการด่าเนินงานที่ให้ความส่าคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ
สังคมคาร์บอนต่่า และด่าเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาร้านให้เป็น “ร้านค้าสีเขียว”
๓. การออกเทศบัญญัติก่าหนดให้สถานประกอบการ ต้องติดตั้งบ่อดักไขมันก่อนปล่อยน้่าเสียลงแหล่งน้่าสาธารณะ
๔. การกระจายอ่านาจการบริหารจัดการลงสู่ท้องถิ่น ในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า
๓ - ๕
๓.๒ โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
พื้นที่ย่านราชการและนันทนาการ เป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการที่ส่าคัญทั้งสถานศึกษา วัด และบ้านพักอาศัยหนาแน่นปานกลาง รวมถึงมีแหล่งทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่าคัญของจังหวัดศรีษะเกษ เช่น ล่าห้วย-
ส่าราญไหลผ่าน มีสวนสาธารณะส่าหรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนและคนทั่วไป ซึ่งมีศักยภาพที่จะน่าไปสู่การออกแบบพื้นที่เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเข้าไปใช้งานและร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟู โดยการออกแบบพัฒนา
พื้นที่ควรให้ความส่าคัญในด้านระบบถนนกับคนเดินเท้าเป็นอันดับแรก รวมถึงการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน การเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงพื้นที่ชุ่มน้่า เพิ่มพื้นที่สีเขียวในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด และครัวเรือน
เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งทรัพยากรเหล่านั้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เสริมสร้างวิถีชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ภาพที่ ๓ – ๑๑ แสดงทัศนียภาพย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
๓ - ๖
ภาพที่ ๓ – ๑๒ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน
บริเวณหอนาฬิกา
ภาพที่ ๓ – ๑๓ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน
บริเวณหอนาฬิกา (ซ้าย)
ภาพที่ ๓ – ๑๔ แสดงสภาพปัจจุบันบริเวณ
หอนาฬิกา (ขวา)
๓ - ๗
ภาพที่ ๓ – ๑๕ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมทางรถไฟ
ภาพที่ ๓ – ๑๗ แสดงสภาพปัจจุบันบริเวณริมห้วยส่าราญ
ภาพที่ ๓ – ๑๘ แสดง
ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่
ริมน้่าเป็นสวนสาธารณะ
ภาพที่ ๓ – ๑๖ แสดงสภาพปัจจุบันย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
๓ - ๘
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๔ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๕ พัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่่า
B โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
ภาพที่ ๓ – ๑๙ แสดงผังพื้นที่ย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
ภาพที่ ๓ – ๒๐ ต่าแหน่งย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ
ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง
๓ - ๙
รูปแบบการพัฒนา ย่าน
• ที่พักอาศัยที่มีความหนาแน่นสูง B1 ย่านราชการ
• พัฒนาที่ว่างสาธารณะ พื้นที่สีเขียวและพื้นที่
ริมน้่า
B5 ริมห้วยส่าราญ
B6 ทางรถไฟ
• โครงการพัฒนาถนน ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน B2 ถนนวันลูกเสือ และถนนเทพา
B3 ถนนอุบล ถนนศรีวิเศษและถนน
หลักเมือง
B4 หอนาฬิกา
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร
Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

More Related Content

More from Singhanat Sangsehanat

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...Singhanat Sangsehanat
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรSinghanat Sangsehanat
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Singhanat Sangsehanat
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญSinghanat Sangsehanat
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...Singhanat Sangsehanat
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...Singhanat Sangsehanat
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...Singhanat Sangsehanat
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...Singhanat Sangsehanat
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...Singhanat Sangsehanat
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Singhanat Sangsehanat
 

More from Singhanat Sangsehanat (10)

BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
BMA แนวคิดการพัฒนาพื้นที่ Placemaking and PlaceMaker ตัวอย่างประสบการณ์จากลูก...
 
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากรภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
 
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
Responsive Environment - บททบทวนทฤษฏีสภาพแวดล้อมที่ตอบสนอง การออกแบบชุมชนเมือ...
 
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

Srisaked urban development - การพัฒนาเมืองศรีสะเกษ เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองที่ยั่งยืน เมืองที่เป็นมิตร

  • 1.
  • 2. เทศบาลเมืองศรีสะเกษ แผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จัดท่าภายใต้ โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ ลิขสิทธิ์ของ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เผยแพร่โดย ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ จัดท่าโดย ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพ์ที่ บริษัท เวิลด์ปริ้น (ประเทศไทย) จ่ากัด ๒๓o๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑o๙oo
  • 3. ค่าน่า ปัจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจ่านวนประชากรและ กิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ท่าให้แนวโน้มปัญหาสิ่งแวดล้อมทวีมากขึ้น เช่น มลพิษน้่า อากาศเสีย ขยะ การใช้ พลังงานเกินความจ่าเป็น รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนได้ให้ความส่าคัญต่อการจัดท่า แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน พื้นที่สีเขียวและนันทนาการเชิงบูรณาการที่สอดคล้องกับแนวคิด การพัฒนาที่ยั่งยืน การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหน่วยงานที่มีภารกิจ ประการหนึ่งในการด่าเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน ได้ตระหนักถึงความส่าคัญในเรื่อง ดังกล่าว จึงได้จัดท่า “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า” เพื่อส่งเสริมและผลักดันให้ ท้องถิ่นจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและผังการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางกายภาพเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าและ สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และเพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมคาร์บอนต่่าและสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนไปสู่การปฏิบัติ ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนและผัง การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนเมือง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลักดันให้เมืองและชุมชนมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สิงหาคม ๒๕๕๙
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า ค่าน่า สารบัญ บทที่ ๑ บทน่า บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนา บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคารบอนต่่า ๓.๑ โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า ๓.๒ โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ๓.๓ โครงการพัฒนาย่านพาณิชยกรรม ๓.๔ โครงการพัฒนาย่านพาณิชยกรรมบนถนนสายหลัก (ถนนกวงเฮง) บทที่ ๔ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๔.๑ ยุทธศาสตร์เทศบาลเมืองศรีสะเกษที่เชื่อมโยงกับการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ๔.๒ การจัดท่าแผนการพัฒนาเมืองและชุมชน ๔.๓ แผนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๔.๔ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ภาคผนวก ๑ - ๑ ๒ - ๑ ๓ - ๑ ๓ - ๒ ๓ - ๖ ๓ - ๑๑ ๓ - ๑๖ ๔ - ๑ ๔ - ๑ ๔ - ๒ ๔ - ๕ ๔ - ๑๕
  • 5. บทที่ ๑ บทน่า ๑ - ๑ หลักการและเหตุผล โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้เริ่มด่าเนินการโดยส่านักงาน นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นับตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ซึ่งได้แผนยุทธศาสตร์ การขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสู่การเป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคม คาร์บอนต่่า แผนยุทธศาสตร์ฯ มีขึ้นเพื่อการเสริมสร้างศักยภาพของเทศบาลในการด่าเนินงานด้าน สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชนสู่สังคมคาร์บอนต่่า การริเริ่มยุทธศาสตร์ความร่วมมืออาเซียนด้านสิ่งแวดล้อม เมืองที่ยั่งยืน การน่าผลการประชุมและแนวทางความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียนมาก่าหนด รูปแบบการด่าเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และการเดินหน้าประเทศไทย สู่การเป็นประเทศเศรษฐกิจสังคมคาร์บอนต่่า ส่านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจึงเห็นความจ่าเป็นในการด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการน่านโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ที่ ได้จัดท่าไว้สู่การปฏิบัติโดยความร่วมมือของหน่วยงานและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และเพื่อน่าแผนฯ สู่การ ปฏิบัติในระดับท้องถิ่นโดยให้มีแผนงาน โครงการ และจัดสรรงบประมาณด่าเนินงานอย่างเหมาะสม โดยมี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นที่ปรึกษาในการด่าเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อให้มีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้ง การด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียนด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีส่วนร่วม ๒) เพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่เมืองสีเขียว เมืองที่ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น แนวคิดในการด่าเนินงาน สังคมคาร์บอนต่่า (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาร่วมมือกัน ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากการด่ารงชีวิตปกติ โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือ ภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคาร์บอนต่่าจึงต้องท่าให้ผู้คน ในสังคมมีความตระหนักถึงคุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีปริมาณคาร์บอนต่่า โดยผู้คน ในสังคมมีความยึดโยงกับการเลือกใช้เทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และที่ ส่าคัญก็คือ จะต้องเป็นสังคมที่มีการวางผังเมืองให้สอดคล้องกับระบบนิเวศที่สมดุลด้วย ดังนั้น สังคม คาร์บอนต่่า จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ต้องช่วยกันลดความต้องการใช้พลังงาน (๒) สังคมที่ต้องหลีกเลี่ยง การใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้่ามัน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ (๓) สังคมต้องมีมาตรการความ มั่นคงทางพลังงานและเป็นสังคมที่มีการพบปะหารือกันในเรื่องความต้องการของคนทุกกลุ่มในสังคม เมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับนานาชาติ นับตั้งแต่ การค้นพบภาวะเรือนกระจก ซึ่งเป็นผลมาจากชั้นบรรยากาศของโลก ที่มีปริมาณก๊าซมากเกินสมดุลทางธรรมชาติ เช่น ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จนส่งผลต่อวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก การประชุมระดับโลก ว่าด้วยเรื่องวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จึงได้ริเริ่มขึ้นตลอดจนการก่าหนดกรอบอนุสัญญาและ พิธีสารต่าง ๆ เพื่อแก้ไขวิกฤตการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและรับมือต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาพ- ภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประชาคมโลกในการช่วยบรรเทาปัญหาจากการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยมุ่งพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมให้มีความสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่างยั่งยืน ควบคู่ไปกับการลดอัตราการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก ที่ไม่ส่งผลกระทบต่ออัตราการเพิ่มขึ้นของ ผลิตภัณฑ์มวลชนในประเทศ และไม่สูญเสียขีดความสามารถในการพัฒนาและการแข่งขันของทุกภาคส่วนและ ทุกระดับ การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า จึงเป็นยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติอัน หลากหลายของเมืองและชุมชน การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมต้องอาศัยนโยบายและแผนการพัฒนา ตลอดจนการปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน เพื่อเตรียมความพร้อมไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคม คาร์บอนต่่าในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสร้างแผนนโยบายความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่า ต้องถูก ด่าเนินการขึ้นในระดับประเทศ เพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจที่ยั่งยืนในระดับ โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชนสังคมคาร์บอนต่่าก็ต้อง อาศัยกลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นเพื่อ ผลักดันให้เป็นเมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และสังคมคาร์บอนต่่าสามารถสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรม ภาพที่ ๑ - ๑ มิติของการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าในท้องถิ่น
  • 6. ๑ - ๒ การด่าเนินงานโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ถูกวางอยู่บนมิติที่ครอบคลุม ภาพกว้างของการพัฒนาเมืองในระดับประเทศโดยการขับเคลื่อนทางสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ เพื่อให้มี เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมต่อการผลักดันการด่าเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร์ ด้านพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า รวมทั้งการด่าเนินงานตามข้อริเริ่มอาเซียน ด้านสิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน ดังนั้น กระบวนการศึกษา การประเมินผล และการวางแผนจากบนลงสู่เบื้องล่าง (Top-Down Process of Development) ถูกน่ามาใช้เพื่อท่าการทบทวนวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ และแผนที่เส้นทาง (Road Map) ของการพัฒนาเมือง/ชุมชนเพื่อมุ่งสู่การเติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นสังคมคาร์บอนต่่า ที่ยั่งยืน เพื่อท่าการประเมิน ปรับปรุง และเสนอแนะกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพและมีความเป็นไปได้จริง ต่อการควบคุมและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ตลอดจนการก่าหนดภาคภาคีที่เกี่ยวข้องและ หน้าที่รับผิดชอบร่วมกัน การด่าเนินงานดังกล่าวนี้ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนเป็นส่าคัญ การมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประกอบด้วยมิติของการพัฒนาดังที่กล่าวถึงซึ่งได้แก่ สภาพแวดล้อม คาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า มิติในเชิงนโยบายและแผนเหล่านั้นได้สร้างกรอบ แนวทางของการวางแผนและการพัฒนาเมืองและชุมชนคาร์บอนต่่า ดังนี้ ภาพที่ ๑ - ๒ กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่ายังได้รับการด่าเนินงาน บนพื้นฐานของการพัฒนาเมืองและชุมชนในระดับพื้นที่โดยการขับเคลื่อนในทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง การบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมเพื่อประสานการน่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองและชุมชนสู่เมืองสีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า กระบวนการวางแผนจากล่างขึ้นสู่ด้านบน (Bottom-Up Process of Development) ถูกน่ามาใช้ควบคู่กันเพื่อการขับเคลื่อนโครงการน่าร่องไปสู่ความเป็นเมืองและชุมชน สังคมคาร์บอนต่่า แนวปฏิบัติด้านการจัดการพื้นที่สีเขียว/ชุมชนอย่างยั่งยืนและลดภาวะโลกร้อนและมาตรฐาน พื้นที่สีเขียวในเมือง ร่วมกับการศึกษาลักษณะเฉพาะของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เช่น ภูมิศาสตร์และ ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสิ่งแวดล้อม เมือง และชุมชน ตลอดจนบริบททาง วัฒนธรรม การเมือง และการมีส่วนร่วมของภาคภาคีที่เกี่ยวข้องในท้องถิ่น ภาพที่ ๑ – ๓ แสดงกรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ซึ่งค่านึงถึงการประยุกต์ใช้แนวคิดการพัฒนาเมืองคาร์บอนต่่าให้เข้ากับบริบทของเมืองและชุมชนในแต่ละแห่ง เครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกน่ามาพิจารณาร่วม เพื่อจัดท่าแผนและผัง แนวคิดของการออกแบบและพัฒนาเมือง ชุมชน กิจกรรม ภายใต้วิสัยทัศน์เฉพาะตัวในแต่ละเทศบาล ซึ่งสามารถ น่าไปใช้ก่าหนดแนวทางการน่าแผนไปปฏิบัติ โครงการ และการจัดสรรงบประมาณ ตลอดจนการด่าเนินงานจริง ในกิจกรรมน่าร่องต่าง ๆ เพื่อพัฒนาไปสู่การเป็นเมืองและชุมชนที่เติบโตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ เป็นสังคมคาร์บอนต่่าที่ยั่งยืน การสร้างเครือข่ายภาคประชาชน เอกชน และภาครัฐในระดับท้องถิ่นต่อการ ด่าเนินงานพัฒนาเมืองและชุมชน คือ กลไกส่าคัญต่อการด่าเนินงานในส่วนนี้ ภาพที่ ๑ – ๓ กรอบแนวคิดการด่าเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า เป็นกลไกส่าคัญของโครงการฯ การเสริมสร้างศักยภาพของภาคภาคีต่าง ๆ เป็นหนึ่งใน กลไกส่าคัญต่อการก่าหนดเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าในระดับประเทศ รวมทั้งการจัดท่าและผลักดันแผนพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองเพื่อมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ การเสริมสร้างศักยภาพการด่าเนินงานของภาคภาคีต่าง ๆ ในการวางแผนและพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่ สังคมคาร์บอนต่่า ถูกด่าเนินการโดยการให้ความรู้ ประสบการณ์ และปรับทัศนคติต่อการพัฒนาเมืองและชุมชน โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า จึงมุ่งเน้นการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการ ในทุกภาคส่วนและทุกระดับ โดยมุ่งหมายให้ภาครัฐ ส่วนกลางที่เกี่ยวเนื่อง เล็งเห็นความส่าคัญของการพัฒนาเมือง สีเขียว เมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมเมืองที่ยั่งยืน และสังคมคาร์บอนต่่า และบูรณาการเข้าเป็นส่วน หนึ่งของยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาในระดับต่าง ๆ ในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนเชิงปฏิบัติการในระดับท้องถิ่น มีขึ้นเพื่อผลักดันให้เกิดการด่าเนินงานโครงการน่าร่อง กิจกรรม การเชื่อมโยงการพัฒนาเมืองและชุมชน ตลอดจน การบรรจุแผนงานเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่า ให้เข้ากับกลไกระดับจังหวัดและระดับชุมชนอย่างยั่งยืน สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า (๑) การเติบโตอย่างชาญฉลาด (๒) การเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (๓) การรักษาและฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพ (๔) การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (๕ )การจัดการความเสี่ยงต่อภัยพิบัติ (๑) เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมคาร์บอนต่่า (๒) การประหยัดพลังงานและการใช้พลังงานทางเลือก (๓) การประหยัดพลังงานอาคาร (๑) วิถีชีวิตคาร์บอนต่่า (๒) การเดินเท้าและการปั่นจักรยาน (๓) การจัดการขยะอย่างยั่งยืน (๔) การจัดการน้่าในเมือง
  • 7. บทที่ ๒ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและ ชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองศรีสะเกษ การศึกษาสภาพทั่วไปในระดับมหภาค การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่่าต้อง อาศัยข้อมูลทั้งในระดับมหภาค และระดับพื้นที่เพื่อให้ได้มาซึ่ง แนวทางการพัฒนาที่ตอบรับกับบริบทการเติบโตของเมืองได้อย่างถูกต้อง ดังนี้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีพื้นที่ประมาณ ๑๖๘,๘๕๔ ตาราง กิโลเมตร หรือ ๑๐๕.๕ ล้านไร่ คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ ประเทศ ประกอบด้วย ๑๙ จังหวัด ได้แก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี หนองบัวล่าภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร อ่านาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี เป็นภาคที่มีพื้นที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เป็น พื้นที่ที่มีประชากรและพื้นที่ทางการเกษตรมากที่สุดเมื่อเทียบกับ ภาคอื่น ๆ ของประเทศ เป็นแหล่งโบราณสถานและมีศิลปวัฒนธรรมอันมี ลักษณะเฉพาะ อีกทั้งที่ตั้งของภาคยังมีความได้เปรียบในด้านการ เชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่าง ไทย ลาว กัมพูชา และจีนตอนใต้ ด้วยลักษณะดังกล่าวของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ท่าให้ รัฐบาลมีนโยบายที่จะพัฒนาให้เป็นสะพานเศรษฐกิจ เชื่อมโยงอินโดจีน ตามแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Economic Corridor)โดย เน้นพัฒนาบทบาทและศักยภาพของพื้นที่ ควบคู่ไปกับการยกระดับ คุณภาพในการด่ารงชีวิตของทรัพยากรมนุษย์ให้สูงขึ้นได้พร้อมกัน โดยมี ยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ ดังนี้ ๑. การกระจายความเจริญ (Decentralization) ยุทธศาสตร์การ พัฒนาโดยการกระจายความเจริญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ ส่งเสริมการพัฒนาไปยังพื้นที่เมืองนครราชสีมา เมืองอุดรธานี และเมืองอุบลราชธานี เพื่อให้มีศูนย์กลางความเจริญเพิ่มขึ้น ในทิศทางอื่น ในปริมณฑลของเมืองศูนย์กลางหลักของขอนแก่น ๒. การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน (Balanced and Sustainable Development) ๓. การส่งเสริมเทคโนโลยี (Technology) ๔. การพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา (Cluster and Network Development) ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบกลุ่มเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รวมระบบกลุ่มเมืองเป็น ๕ กลุ่ม คือ − กลุ่มนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ และสุรินทร์ − กลุ่มขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด และกาฬสินธุ์ − กลุ่มอุบลราชธานี ยโสธร ศรีสะเกษ และอ่านาจเจริญ − กลุ่มอุดรธานี หนองคาย เลย และหนองบัวล่าภู − กลุ่มมุกดาหาร สกลนคร และนครพนม ๕. การพัฒนาภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy) จากผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่มียุทธศาสตร์การพัฒนา แบบการพัฒนาแบบกลุ่มเมืองและเครือข่ายการพัฒนา จังหวัดร้อยเอ็ด ได้ถูกจัดให้ร่วมอยู่ในผังอนุภาค ร่วมกับจังหวัดขอนแก่น มหาสารคาม และ กาฬสินธุ์ ซึ่งถูกก่าหนดแนวทางการพัฒนาไว้ให้เป็นเมืองศูนย์กลางการ ท่องเที่ยว การบริการระดับภาค การศึกษา สาธารณสุข การขนส่ง ปศุสัตว์ และพลังงานทดแทน แผนโครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้องในระดับภาค โดยโครงการ พัฒนาตามกลุ่มจังหวัด ซึ่งได้ก่าหนดกลุ่มจังหวัด ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด ขอนแก่น มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ โดยมีวิสัยทัศน์ของกลุ่มจังหวัด คือ “ศูนย์กลางการค้า การบริการ อุตสาหกรรมเกษตร และสังคมน่าอยู่” ซึ่งกลุ่มจังหวัดได้ตั้งยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนารวม ๓ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยกระดับการผลิต เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจแบบเข้มแข็งและ แข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาทุนมนุษย์และสังคมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน ๒ - ๑ ภาพที่ ๒ - ๑ แสดงผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมียุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบกลุ่มเมือง จังหวัดขอนแก่น อยู่ในกลุ่มพัฒนาร่วมกับ จังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม และกาฬสินธุ์ (ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ๒๖๐๐) โครงการส่าคัญ ได้แก่ ๑) โครงการจัดตั้งศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าบริการ และการส่งออก แบบครบวงจร (Distribution Center) ๒) โครงการพัฒนาและส่งเสริมการผลิตข้าวหอมมะลิปลอดภัยจากสารพิษ และข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ๓) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชพลังงานทดแทน ๔) โครงการส่งเสริมการท่าสัญญาซื้อขายผลผลิตล่วงหน้า เพื่อสร้างความ มั่นใจด้านราคา และรายได้ให้กับเกษตรกร ๕) โครงการก่าหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน ทดแทน (Ethanol) เพื่อให้สอดคล้องกับแหล่งเพาะปลูก และลดต้นทุน ด้านขนส่ง ๖) โครงการพัฒนาระบบขนส่งตามเส้นทางเชื่อมระหว่างตะวันออกกับ ตะวันตก (East & West Economic Corridor) ให้ได้มาตรฐาน ๗) โครงการบ่ารุงรักษาถนนที่มุ่งสู่ประตูการค้าหลัก เช่น เส้นทางหมายเลข ๙ และ ๑๒
  • 8. ประชากรในจังหวัดศรีสะเกษมีรายได้เฉลี่ย ๖๕,๔๐๙ บาทต่อ คนต่อปี สูงเป็นอันดับ ๑๕ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็น อันดับที่ ๗๑ ของประเทศ ซึ่งกรุงเทพมหานครมีรายได้เฉลี่ย ๑๙๓,๓๙๕ บาทต่อคนต่อปี (ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๖) แผนภูมิที่ ๒ - ๑ แสดงผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดศรีสะเกษ ที่มา: ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๖ แผนพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ มีการจัดท่าแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดศรีสะเกษ ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประตูการค้าและการท่องเที่ยว สู่อารยธรรมขอมโบราณ ดินแดนเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน” โดยมีพันธกิจ ดังนี้ ๑. ส่งเสริมการค้า การลงทุน และการทองเที่ยวกับกลุ่มประเทศอาเซียน ๒. เสริมสร้างสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเพิ่มมูลค่า อุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร ๓. ส่งเสริมสุขภาวะ การศึกษา การกีฬา และเพิ่มความร่มรื่นของพื้นที่สีเขียว ๔. สร้างความมั่นคง ความเป็นระเบียบ และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง ๕. บูรณาการการท่างานของทุกภาคส่วน เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จังหวัด ให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ สรุปบทบาทของพื้นที่ศึกษาในระดับมหภาค จังหวัดศรีสะเกษเป็นเมืองในระดับที่ ๓ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเป็นเมืองศูนย์กลางระดับจังหวัด มีความส่าคัญด้าน การบริหารราชการระดับจังหวัด ในระดับภาค ผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ได้วาง บทบาทของจังหวัดศรีสะเกษไว้เป็นเมืองการค้า เมืองการท่องเที่ยวชายแดน และเมืองเกษตรปลอดภัย ซึ่งมีความสอดคล้องกับจังหวัดศรีสะเกษ ที่มีที่ตั้งอยู่ ติดชายแดน มีโบราณสถานและแหล่งวัฒนธรรมเกี่ยวกับวัฒนธรรม ขอมโบราณ และมีผลผลิตส่วนใหญ่เป็นผลผลิตทางการเกษตร นอกจากความส่าคัญที่สอดคล้องกับผังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ. ๒๖๐๐ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว จังหวัดศรีสะเกษยังมีเส้นทางรถไฟ สายตะวันออกเฉียงเหนือกรุงเทพ-อุบลราชธานีพาดผ่าน อีกทั้งยังมีถนนสาย หลักของพื้นที่อีสานใต้ตัดผ่านพื้นที่ ท่าให้จังหวัดศรีสะเกษมีความส่าคัญ ในแง่ทางผ่านของการคมนาคมขนส่งในระดับภาคอีกด้วย ๒ - ๒ ลักษณะทางสังคมและเศรษฐกิจ จังหวัดศรีสะเกษ มีจ่านวนประชากรตามทะเบียนราษฎร์ในปี ๒๕๕๗ จ่านวน ๑,๔๖๕,๒๑๓ คน ซึ่งจัดอยู่ในอันดับ ๘ ของประเทศ (ไม่รวมกรุงเทพมหานครและปริมณฑล) (ส่านักสถิติแห่งชาติ, ๒๕๕๗) ประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลาย ซึ่งพูดภาษาถิ่นต่าง ๆ กัน อาทิ ภาษาลาว ภาษากูยภาษาเยอ และภาษาเขมรลือ (เขมรบน) ส่วนใหญ่เป็น พุทธศาสนิกชนและนับถือผีมาแต่เดิม จังหวัดศรีสะเกษ เป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีพื้นที่ทั้งหมด ๘,๘๔๐ ตาราง กิโลเมตร เป็นจังหวัดที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ ๙ ของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ และอันดับที่ ๒๑ ของประเทศไทย มีขอบเขตพื้นที่ ติดต่อกับจังหวัดและประเทศต่าง ๆ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดยโสธร และ จังหวัดร้อยเอ็ด ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชา ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดร้อยเอ็ด ลักษณะภูมิประเทศ จังหวัดศรีสะเกษ อยู่สูงจากระดับน้่าทะเลปานกลาง ๑๕๐-๒๐๐ เมตร ภูมิประเทศทางตอนใต้ มีเทือกเขาพนมดงรักทอดตัวยาวค่อย ๆ ลาดต่่าไปทางเหนือ ทางตอนกลางของจังหวัดมีลักษณะเป็นที่ราบลุ่ม ลอนลาด มีล่าน้่าหลายสายไหลผ่านลงไปยังแม่น้่ามูลซึ่งอยู่ทางตอนเหนือ ของจังหวัด ล่าน้่าสายส่าคัญ ได้แก่ ห้วยทับทัน ห้วยส่าราญ และห้วยขะยุง จังหวัดศรีสะเกษ มีผลิตภัณฑ์มวลรวมปี ๒๕๕๖ มูลค่า ๖๘,๕๐๕ ล้านบาท และมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยสาขาที่มีผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงสุด ๔ อันดับแรก ได้แก่ ๑. ด้านเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ ๒๔,๓๗๔ ล้านบาท ๒. ด้านการศึกษา ๑๓,๔๔๘ ล้านบาท ๓. ด้านการขายส่ง ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ จักรยานยนต์ ของใช้ส่วนบุคคลและของใช้ในครัวเรือน ๖,๙๗๗ ล้านบาท ๔. ด้านอุตสาหกรรม ๓,๘๖๐ ล้านบาท
  • 9. การจัดท่าแผนผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเทศบาลเมือง ศรีสะเกษเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้มีการวิเคราะห์ลักษณะทาง กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และยุทธศาสตร์เดิมของพื้นที่ พร้อมทั้งน่ามา ผนวกกับแนวคิดสังคมคาร์บอนต่่า เพื่อจัดท่าแผนและผังที่ครอบคลุม เมืองใน ๓ มิติ คือ สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า โดยแนวคิดในการท่าแผนผัง ประกอบด้วย แนวคิด ๓ ด้าน ดังนี้ ๑) เมืองกระชับ ๒) การคมนาคมคาร์บอนต่่า ๓) โครงข่ายสีเขียว ๑) เมืองกระชับ สนับสนุนให้เพิ่มความหนาแน่นในพื้นที่เมือง โดย คงการจัดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทพาณิชยกรรมไว้บริเวณกลาง เมือง บริเวณริมทางรถไฟ และขยายเพิ่มเติมตามแนวถนนกวงเฮง จากสถานีรถไฟสู่สถานีขนส่ง โดยปรับการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยให้เป็นที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง ครอบคลุมพื้นที่โดยรอบพื้นที่พาณิชยกรรม ซึ่งการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเภทสถานที่ราชการ สถานศึกษา และศาสนสถานคงไว้ตามเดิม พร้อมทั้งควรมีการกระจายศูนย์กลางเมืองออกเป็นศูนย์กลางย่อย ตามการตั้งถิ่นฐานเดิมและในพื้นที่ที่มีแนวโน้มในการเติบโตของเมือง ในอนาคต ๓) โครงข่ายสีเขียว สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวเดิม และเพิ่มพื้นที่ สีเขียวใหม่เพื่อช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นการปรับภูมิทัศน์ให้พื้นที่ มีความสวยงามอีกด้วย โดยการปลูกต้นไม้ริมทาง เพิ่มพื้นที่สีเขียวในสถานที่ ราชการ วัด โรงเรียน พื้นที่กึ่งสาธารณะของเอกชน และพื้นที่สีเขียวริมน้่า เป็นต้น นอกจากนี้ควรสนับสนุนเกษตรคนเมือง โดยการท่าสวนกระถาง เพื่อเป็นการช่วย ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการขนส่ง และลดการใช้สารเคมี ร่วมกันอีกด้วย ๒ - ๓ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสูสังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองศรีสะเกษ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ๒) การคมนาคมคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การเดินเท้า การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ เป็นต้น ซึ่งควรน่า ร่องให้มีการเดินเท้าและใช้ขนส่งสาธารณะเป็นอันดับแรก ๆ โดยการจัดเตรียมรถ โดยสารรับส่งจากนอกเมือง ๕ สาย เป็นวงแหวนรอบพื้นที่ และในเส้นทาง ภายในเมืองซึ่งผ่านสถานที่ส่าคัญต่าง ๆ นอกจากนี้ยังควรจัดระบบขนส่งมวลชน สาธารณะให้เป็นระเบียบมากขึ้น พร้อมทั้งควรปรับปรุงทางเท้า และทางจักรยาน ให้มีภูมิทัศน์ที่สวยงาม น่าใช้งาน และปลอดภัย เป็นต้น ภาพที่ ๒ - ๒ แสดงผังเสนอแนะการใช้ประโยชน์ที่ดิน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ภาพที่ ๒ – ๓ แสดงผังเสนอแนะพื้นที่สีเขียว เทศบาลเมืองศรีสะเกษ
  • 10. ภาพที่ ๒ – ๕ แสดงผังแนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ภาพที่ ๒ – ๔ แสดงผังการพัฒนาเมืองและชุมชน เทศบาลเมืองศรีสะเกษ ๒ - ๔ การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าถูกด่าเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ความต้องการ ปัญหา และจุดยืนที่เมืองได้วางไว้ โดยส่งเสริมยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมให้บูรณาการไปสู่ความ เป็นเมืองคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า และวัฒนธรรมคาร์บอนต่่า กรอบแนวคิด ๔ ด้านถูกจัดท่าขึ้น ได้แก่ - การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า - เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า - โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า - ศูนย์กลางเมืองกระชับ
  • 11. บทที่ ๓ ผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า เทศบาลเมืองศรีสะเกษ แนวคิดในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ได้แก่ การคมนาคมขนส่งคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเดินทางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พัฒนาทางเท้า ระบบ การสัญจร และจ่ากัดความเร็วของรถยนต์ให้เหมาะต่อการเดินและการใช้จักรยาน รวมถึงสนับสนุนการใช้ จักรยานในชีวิตประจ่าวัน และสนับสนุนการคมนาคมขนส่งสาธารณะเพื่อลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการใช้ รถยนต์ส่วนตัว โดยมีพื้นที่น่าร่องในการพัฒนา เช่น บริเวณถนนกวงเฮง ซึ่งควรมีการปรับปรุงถนนด้วยการ ขยายทางเท้าเพื่อปลูกต้นไม้และท่า bioswale ส่าหรับให้น้่าซึมผ่านลงสู่ใต้ดินเพื่อเติมคืนน้่าใต้ดิน ปรับปรุงรัศมี วงโค้งของวงเวียนให้มีความเหมาะสม เพื่อจ่ากัดความเร็วของรถและเพื่อความคล่องตัวในการใช้รถใช้ถนน เป็นต้น เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการเพิ่มความเข้มข้นของการใช้พื้นที่ โดยการสนับสนุนให้มีการสร้างอาคาร ใหม่ที่มีความสูงทดแทนอาคารเดิม และสร้างสิ่งอ่านวยความสะดวกต่าง ๆ ที่จะส่งผลให้เป็นย่านคาร์บอนต่่าที่มี ชีวิตชีวา โดยมีพื้นที่น่าร่อง เช่น บริเวณหน้าสถานีรถไฟ เพิ่มกิจกรรมการค้าในส่วนพาณิชยกรรมและการบริการ พร้อมทั้งสนับสนุนให้มีการเชื่อมต่อกันของพื้นที่ด้านการค้า เช่น บริเวณหน้าสถานีรถไฟ และแยกกวงเฮงให้เป็น ย่านที่มีกิจกรรมหนาแน่น ส่งเสริมรูปแบบอาคารและกลุ่มอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รักษาเอกลักษณ์ของ กลุ่มอาคารเดิมเพื่อคงความเป็นสถานที่ และควรมีการส่งเสริมให้มีการก่าจัดขยะและใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โครงข่ายสีเขียวคาร์บอนต่่า สนับสนุนให้มีการอนุรักษ์ ฟื้นฟูพื้นที่สีเขียว พื้นที่ชุ่มน้่า และเพิ่มการเข้าถึงและ เชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด และครัวเรือน เป็นต้น โดยมีพื้นที่น่าร่องที่ควรอนุรักษ์ ฟื้นฟู ในส่วนพื้นที่ริมน้่า เช่น บริเวณสวนเฉลิมพระเกียรติ ควรมีการพัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงกับพื้นที่ริมน้่าและเพิ่ม การเข้าถึงเพื่อเป็นพื้นที่สาธารณะส่าหรับพักผ่อน รวมทั้งสนับสนุนให้มีการปรับปรุงพื้นที่ว่างระหว่างอาคาร และพื้นที่ขนาดเล็กอื่น ๆ ให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะขนาดเล็ก เพื่อเพิ่มพื้นที่สาธารณะในเมือง ศูนย์กลางเมืองกระชับ สนับสนุนให้มีเมืองหลายศูนย์กลาง พื้นที่ศูนย์กลางเมืองสนับสนุนให้มีการเติบโตอย่าง ชาญฉลาด เพิ่มความหนาแน่นในพื้นที่ตัวเมืองและพื้นที่อยู่อาศัย โดยให้มีพื้นที่ท่ากิจกรรมและสิ่งอ่านวยความ สะดวก เพิ่มความหนาแน่นอาคารเพื่อลดการกระจายตัวของเมืองออกสู่พื้นที่เกษตรกรรมรอบนอก เพิ่มความ หนาแน่นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยให้มีความกระชับ เพิ่มความหนาแน่นการใช้ประโยชน์ที่ดิน ประเภทพาณิชยกรรมเพื่อลดระยะการเดิน ซึ่งสามารถช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ เป็นต้น โครงการน่าร่องการพัฒนาเทศบาลเมืองศรีสะเกษเพื่อให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ประกอบด้วย ๔ โครงการ ดังนี้ ๑) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านการค้าเก่า มีอาณาเขตตั้งแต่ถนนปลัดมณฑล ไปจนถึงถนนวิจิตรนคร ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศเหนือของทางรถไฟ ไปจรดถนนศรีวิเศษ ๒) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ มีอาณาเขตตั้งแต่ริมห้วยส่าราญ ฝั่งตะวันตก ไปจนถึงถนนปลัดมณฑล ครอบคลุมพื้นที่ตั้งถนนวันลูกเสือ ไปจรดถนนศรีวิเศษ ๓) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชยกรรม มีอาณาเขตตั้งแต่ตั้งแต่ถนนปลัดมณฑล ไปจนถึงถนน วิจิตรนคร ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศใต้ของทางรถไฟ ไปจรดถนนวันลูกเสือ ๔) โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านพาณิชยกรรมบนถนนกวงเฮง มีอาณาเขตตั้งแต่ตั้งแต่ถนนรัตนวงษา ไปจนถึงถนนวิจิตรนคร ครอบคลุมพื้นที่ด้านทิศใต้ของถนนวันลูกเสือ ไปจรดซอยขุขันธ์ ๓ ภาพที่ ๓ – ๑ แสดงผังพื้นที่โครงการน่าร่องในการพัฒนาเทศบาลเมืองศรีสะเกษ ๓ - ๑
  • 12. ๓.๑ โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า บริเวณย่านการค้าเก่า เป็นย่านที่มีตึกแถวที่ยังคงมีวัฒนธรรมดั้งเดิมของจังหวัดศรีสะเกษ อีกทั้งยังเป็นแหล่งขนส่งทางบกหลักของเมืองทั้งสถานี รถไฟ และสถานีขนส่ง เป็นต้น จึงมีศักยภาพในการพัฒนาพื้นที่เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนเข้าไปใช้งานมากขึ้น โดยส่งเสริมให้มีการพัฒนาพื้นที่ทางเดินเท้าและ จัดสรรพื้นที่บริเวณหน้าร้านค้าให้มีพื้นที่ว่างส่าหรับท่ากิจกรรมและพื้นที่ทางเดิน และเพิ่มพื้นที่สีเขียวริมทางเพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ รวมทั้งเพิ่มความหนาแน่นในส่วนพื้นที่ตัวเมือง ภาพที่ ๓ - ๕ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ ภาพที่ ๓ - ๖ แสดงการปรับปรุงพื้นที่จอดรถ ภาพที่ ๓ – ๔ แสดงทัศนียภาพการพัฒนาพื้นที่ย่านการค้าเก่า ภาพที่ ๓ – ๒ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ ภาพที่ ๓ – ๓ ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ ๓ - ๒
  • 13. ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๔ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๕ พัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่่า ภาพที่ ๓ – ๗ แสดงผังพื้นที่ย่านการค้าเก่า ภาพที่ ๓ – ๙ ต่าแหน่งพื้นที่ย่านการค้าเก่า A โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ ๓ – ๑๐ แสดงการปรับปรุงพื้นที่จอดรถภาพที่ ๓ - ๘ (ซ้ายและขวา) แสดงทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่สถานีจอดรถรับ-ส่งรถโดยสารสาธารณะ ๓ - ๓ รูปแบบการพัฒนา ย่าน • ที่พักอาศัยที่มีความหนาแน่นสูง A1 บริเวณซอยเทพา ๑๒ และ ซอยวิจิตร ๑๕ • โครงการสถานีรับส่งรถสาธารณะ (ปรับปรุงสถานีขนส่ง) A2 สถานีรถไฟจังหวัดศรีสะเกษ • ปรับพื้นที่ให้เป็นถนนคนเดิน A3 วงเวียน • ปรับปรุงตลาด (การจัดการน้่า ขยะ และ ระบบบ่าบัดน้่าเสีย A4 ตลาดเทศบาล ๓
  • 14. สภาพแวดล้อมคาร์บอนต่่า A โครงการพัฒนาย่านการค้าเก่า • สถานีจอดรถรับ-สาธารณะ - ปรับปรุงพื้นที่สถานีขนส่ง - เพิ่มจุดรอรถประจ่าทาง A2 สถานีรถไฟจังหวัดศรีสะเกษ • ที่อยู่อาศัยที่มีความหนาแน่นสูง - ปรับโครงสร้างเมืองโซนอาคาร พักอาศัยให้เป็นเมือง กระชับ A1 บริเวณซอยเทพา ๑๒ และซอยวิจิตร ๑๕ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานสนับสนุน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงพลังงาน กระทรวงคมนาคม กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนสตรีสิริเกศ โรงเรียนอนุบาลวัดพระ- โต สถานีต่ารวจ กรมที่ดิน ส่านักงานที่ดิน ฯลฯ แนวทางด่าเนินงาน ๑. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน - วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมีคณะกรรมการ โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น - ลงทุนในโครงสร้างพื้นฐาน โดยรัฐเข้ามาลงทุนบริหารจัดการเองทั้งหมดตั้งแต่การจัดหาที่ดินโดยเฉพาะอย่างยิ่งการด่าเนินโครงการ ฟื้นฟูหรือพัฒนาและโครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐต่อโครงสร้างพื้นฐาน ๒. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง - ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่เฉพาะของการ พัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๓. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การเดินทางที่ประหยัดพลังงานและ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง ซึ่งหากมีการเดินทางไกลควรใช้บริการรถสาธารณะ ๔. การกระจายอ่านาจ และเพิ่มศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า - จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองและชุมชนให้ไปสู่สังคมคาร์บอนต่่าประจ่าจังหวัด เพื่อท่าหน้าที่น่าแผนการขับเคลื่อนฯ ไปสู่การ ปฏิบัติการเชื่อมโยงแผนพัฒนาจังหวัดแผนปฏิบัติราชการประจ่าปี และการขอรับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดินประจ่าปีของ จังหวัด - วางแผนและผังการพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเท้า และเอื้อประโยชน์ต่อระบบการขนส่งที่อนุรักษ์พลังงาน สามารถ เดินทางได้ในระยะสั้น และสามารถใช้ยานพาหนะที่ไม่ใช้พลังงานหรือใช้พลังงานต่่า ๕. การปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐเพื่อให้เอื้อต่อโครงสร้างพื้นฐานของเมืองคาร์บอนต่่า - ใช้มาตรการทางการคลังเข้ามาช่วยกระตุ้นให้เกิดโครงการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานคาร์บอนต่่า การประหยัดพลังงาน และ การเป็นเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ๓ - ๔ กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะสั้น กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะกลาง กิจกรรมน่าร่องที่ด่าเนินการได้ในระยะยาว
  • 15. วัฒนธรรมคาร์บอนต่่า เศรษฐกิจคาร์บอนต่่า หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่านักการช่าง ส่านักการคลัง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยงานสนับสนุน กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย กรมโยธาธิการและผังเมือง ส่านักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ สถานีรถไฟ โรงแรมศรีสะเกษ โรงเรียนวัดมหาพุทธาราม โรงเรียนสตรีสิริเกศ โรงแรมสันติสุข สถานธนานุบาล ฯลฯ • ปรับพื้นที่บริเวณวงเวียนเป็นถนนคนเดิน - ปรับปรุงพื้นที่ทางเดินเท้า - ฟื้นฟูและเพิ่มพื้นที่สีเขียวบริเวณทางเดินเท้า A3 วงเวียน • ปรับปรุงตลาดสด - สนับสนุนการใช้ ๔R - จัดการขยะ และใช้น้่าหมุนเวียน อย่างมีประสิทธิภาพ A4 ตลาดเทศบาล ๓ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ส่านักปลัดเทศบาล หน่วยงานสนับสนุน กระทรวงคมนาคม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงพลังงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ โรงแรมบุญศิริบูติกโฮเทล โรงเรียนอนุบาลวัดพระโต ตลาดสดต้นมะเกลือ โรงเรียนรวมสินวิทยา ฯลฯ แนวทางด่าเนินงาน ๑. การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม และระบบนิเวศเข้าด้วยกัน - วางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการพัฒนาส่วนของเมืองจากการอนุรักษ์บ่ารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มี คุณค่า การแก้ไขปรับปรุงสภาพความเสื่อมโทรมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อม - วางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้โครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมือง โดยมี คณะกรรมการโครงการพันธมิตรเพื่อการพัฒนาตามผังเมืองระดับจังหวัดเป็นองค์กรขับเคลื่อน ร่วมกับ กรมโยธาธิการและผังเมือง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ๒. การปรับปรุงและด่าเนินการกลไกทางกฎหมาย กฎ/ระเบียบ เกณฑ์มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง - ควบคุมให้เป็นไปตามแผนผังก่าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน โครงข่ายคมนาคมและขนส่งในเขตผังเมืองและพื้นที่ เฉพาะของการพัฒนา โดยพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๓. การส่งเสริมและสร้างความร่วมมือในการเดินทางที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม - จัดตั้งกลุ่ม องค์กร สนับสนุนการเดินเท้าและการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน รวมถึงการรณรงค์การเดินทางที่ ประหยัดพลังงานและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมในทุกรูปแบบ สร้างทัศนคติในการเดินทาง ซึ่งหากมีการเดินทางไกล ควรใช้บริการรถสาธารณะ - สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership, PPP) คือ การท่าสัญญาร่วมลงทุน ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการให้บริการสาธารณะ ๔. การขับเคลื่อนการปฏิบัติโดยบรรจุเรื่องเมืองคาร์บอนต่่าในแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการขององค์กรระดับต่าง ๆ - พัฒนาเมืองที่ให้ความส่าคัญกับการเดินเท้าและการใช้จักรยานรวมถึงระบบขนส่งมวลชน ควบคุมลดความเร็ว ของการจราจรและเรียกคืนพื้นที่เพื่อการเดินเท้า (Traffic Taming) การปิดถนนเพื่อการเดินเท้า การสร้างความ ร่มรื่นในการเดินเท้าในศูนย์กลางเมือง และการสนับสนุนให้มีการใช้จักรยาน แนวทางด่าเนินงาน ๑. การสร้างมาตรการจูงใจเพื่อสนับสนุนการเติบโตทางสังคมและเศรษฐกิจที่ปล่อยคาร์บอนต่่า - การลดหย่อนภาษีส่าหรับภาคธุรกิจเอกชนที่ให้ความส่าคัญด้านการเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือด่าเนินกิจการที่มี ของเสียจากกระบวนการผลิตน้อยที่สุด รวมถึงสร้างแรงจูงใจในการเข้าสู่การแข่งขันเพื่อเป็นร้านค้าสีเขียว เช่น การรับรองคุณภาพร้านค้าสีเขียว การมอบรางวัลจากการประกวดร้านค้าสีเขียวของเมือง เป็นต้น ๒. การประกอบกิจการที่ให้ความส่าคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสังคมคาร์บอนต่่า - รณรงค์ส่งเสริมการประกอบกิจการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยใช้หลักการสีเขียวในการท่าธุรกิจ - ภาคธุรกิจเอกชนปรับรูปแบบและวิธีการด่าเนินงานที่ให้ความส่าคัญกับการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและ สังคมคาร์บอนต่่า และด่าเนินการปรับปรุงหรือพัฒนาร้านให้เป็น “ร้านค้าสีเขียว” ๓. การออกเทศบัญญัติก่าหนดให้สถานประกอบการ ต้องติดตั้งบ่อดักไขมันก่อนปล่อยน้่าเสียลงแหล่งน้่าสาธารณะ ๔. การกระจายอ่านาจการบริหารจัดการลงสู่ท้องถิ่น ในการพัฒนาเมืองและชุมชนให้มุ่งไปสู่สังคมคาร์บอนต่่า ๓ - ๕
  • 16. ๓.๒ โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ พื้นที่ย่านราชการและนันทนาการ เป็นที่ตั้งของสถานที่ราชการที่ส่าคัญทั้งสถานศึกษา วัด และบ้านพักอาศัยหนาแน่นปานกลาง รวมถึงมีแหล่งทรัพยากรด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่าคัญของจังหวัดศรีษะเกษ เช่น ล่าห้วย- ส่าราญไหลผ่าน มีสวนสาธารณะส่าหรับเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนและคนทั่วไป ซึ่งมีศักยภาพที่จะน่าไปสู่การออกแบบพื้นที่เพื่อให้คนในชุมชนสามารถเข้าไปใช้งานและร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟู โดยการออกแบบพัฒนา พื้นที่ควรให้ความส่าคัญในด้านระบบถนนกับคนเดินเท้าเป็นอันดับแรก รวมถึงการใช้จักรยานในชีวิตประจ่าวัน การเชื่อมโยงพื้นที่สีเขียว ปรับปรุงพื้นที่ชุ่มน้่า เพิ่มพื้นที่สีเขียวในสถานที่ราชการ สถานศึกษา วัด และครัวเรือน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งทรัพยากรเหล่านั้นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เสริมสร้างวิถีชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ภาพที่ ๓ – ๑๑ แสดงทัศนียภาพย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ๓ - ๖
  • 17. ภาพที่ ๓ – ๑๒ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน บริเวณหอนาฬิกา ภาพที่ ๓ – ๑๓ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน บริเวณหอนาฬิกา (ซ้าย) ภาพที่ ๓ – ๑๔ แสดงสภาพปัจจุบันบริเวณ หอนาฬิกา (ขวา) ๓ - ๗
  • 18. ภาพที่ ๓ – ๑๕ แสดงการปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณริมทางรถไฟ ภาพที่ ๓ – ๑๗ แสดงสภาพปัจจุบันบริเวณริมห้วยส่าราญ ภาพที่ ๓ – ๑๘ แสดง ทัศนียภาพการปรับปรุงพื้นที่ ริมน้่าเป็นสวนสาธารณะ ภาพที่ ๓ – ๑๖ แสดงสภาพปัจจุบันย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ๓ - ๘
  • 19. ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๔ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ ๕ พัฒนาสู่เมืองคาร์บอนต่่า B โครงการพัฒนาย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ภาพที่ ๓ – ๑๙ แสดงผังพื้นที่ย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ภาพที่ ๓ – ๒๐ ต่าแหน่งย่านสถานที่ราชการและนันทนาการ ยุทธศาสตร์ของเทศบาลที่เกี่ยวข้อง ๓ - ๙ รูปแบบการพัฒนา ย่าน • ที่พักอาศัยที่มีความหนาแน่นสูง B1 ย่านราชการ • พัฒนาที่ว่างสาธารณะ พื้นที่สีเขียวและพื้นที่ ริมน้่า B5 ริมห้วยส่าราญ B6 ทางรถไฟ • โครงการพัฒนาถนน ปรับปรุงภูมิทัศน์ถนน B2 ถนนวันลูกเสือ และถนนเทพา B3 ถนนอุบล ถนนศรีวิเศษและถนน หลักเมือง B4 หอนาฬิกา