SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
รายงานสรุปสำหรับผูบริหาร
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ำปงบประมาณ๒๕๕๙
CityandCommunityDevelopmentProjecttowardsaLow-CarbonSociety
FiscalYear2016
รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
ปงบประมาณ ๒๕๕๙
รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
จัดทําภายใต
โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ปงบประมาณ ๒๕๕๙
ลิขสิทธิ์ของ
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
เผยแพรโดย
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน
เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐
จัดทําโดย
ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร
พิมพที่
บริษัท เวิลดปริ้น (ประเทศไทย) จํากัด
๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร
กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
คํานํา
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม ไดเล็งเห็นความสําคัญของการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสูการเปนเมืองสีเขียว
เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา จึงไดจัดทําโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม
คารบอนต่ํา เพื่อใหมีเครื่องมือกลไกที่เหมาะสมในการนํานโยบาย แผน และยุทธศาสตร ที่ไดจัดทําไวสูการปฏิบัติ
โดยความรวมมือของหนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของ รวมทั้งประสานการนําแผนฯ สูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น
ใน ๓ เทศบาลนํารอง ไดแก เทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมืองศรีสะเกษ และเทศบาลนครขอนแกน
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณองคการปกครองสวน
ทองถิ่น หนวยงานที่เกี่ยวของ ผูเชี่ยวชาญ และประชาชนที่ใหความรวมมือ สนับสนุนขอมูล ความคิดเห็น และ
ขอเสนอแนะตอการดําเนินโครงการ จนสําเร็จลุลวงดวยดี ทั้งนี้ ทางสํานักงานนโยบายฯ หวังเปนอยางยิ่งวา
รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอทุกภาคสวนในการรวมผลักดันใหเมืองและชุมชนมุงสูสังคมคารบอนต่ําตอไป
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
สิงหาคม ๒๕๕๙
๑. หลักการและเหตุผล
ปจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจํานวนประชากรและ
กิจกรรมตาง ๆ เพิ่มขึ้น ทําใหแนวโนมปญหาสิ่งแวดลอมทวีมากขึ้น เชน มลพิษน้ํา อากาศเสีย ขยะ การใช
พลังงานเกินความจําเปน รวมทั้งการปลอยกาซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งสงผลตอการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดวยเหตุนี้หลายภาคสวนจึงหันมาใหความสําคัญตอการพัฒนาเมืองและชุมชน
เพื่อใหผูคนที่อาศัยในเมืองและชุมชนมีคุณภาพชีวิต พรอมกับคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น มีการใช
ทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม ซึ่งสอดคลองกับกระแสโลกที่ใหความสําคัญกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อบรรเทาและลดปญหาดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะดาน “การพัฒนาเมือง” ที่มุงสรางสิ่งแวดลอมสีเขียว
สะอาด การพัฒนาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสังคมคารบอนต่ํา เนนการบูรณาการความรวมมือระหวาง
ภาคประชาคมและภาครัฐในลักษณะหุนสวนประสานมือกันเพื่อดําเนินนโยบายสาธารณะใหสัมฤทธิ์ผล
ตลอดจน มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองของประเทศไทยที่ใหความสําคัญกับการปรับ
กระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพรอมไปสูการเปนเศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ํา
และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมทั้ง การสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับประชาชนในทุกระดับ
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจประการหนึ่ง
ในการดําเนินงานดานการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน ไดตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว
จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา” เพื่อใหมีเครื่องมือและกลไก
ที่เหมาะสมในการนํานโยบาย แผน ยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืนสูการปฏิบัติ
โดยความรวมมือของหนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของอยางเปนองครวม รวมทั้ง ใหมีการนํานโยบาย แผน
และยุทธศาสตรในดานดังกลาวสูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น โดยใหมีแผนงาน โครงการ การจัดสรรงบประมาณ
และการดําเนินงานใหบังเกิดผลตอไป
๒. วัตถุประสงค
๑) เพื่อใหมีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดําเนินงานตามนโยบาย แผน
ยุทธศาสตร ดานพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา รวมทั้งการ
ดําเนินงานตามขอริเริ่มอาเซียนดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีสวนรวม
๒) เพื่อประสานการนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูเมืองสีเขียว เมืองที่เปนมิตร
กับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามขอริเริ่มอาเซียน
ดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืนสูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น
๓. การพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดําเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร
ดานพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา
การพัฒนาเครื่องมือกลไกในการขับเคลื่อนและผลักดันเมืองสีเขียว เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
และสังคมคารบอนต่ํา เปนผลจากการวิเคราะหและพัฒนารวมกับภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของผานกระบวนการ
๑
มีสวนรวมเปนสําคัญ เพื่อใหไดมาซึ่งกลไกเครื่องมือที่สอดคลองกับจุดแข็งในปจจุบันของการผลักดันนโยบาย
แผน และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของ ตลอดจนการแกไขปญหาอุปสรรคของการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําและ
เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเพื่อระบุถึงเครื่องมือและกลไกในการผลักดันตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตรฯ ใหมี
ความครอบคลุมตอการดําเนินงานของภาคภาคีตาง ๆ เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสู
สังคมคารบอนต่ําจํานวน ๘ ดาน และ มิติในการพัฒนาฯ จํานวน ๓ ดานไดรับการระบุขึ้น ซึ่งสงผลตอการ
พัฒนากลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ําจํานวน
๑๑ ดาน และ กลไกเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานฯ อีกจํานวน ๓ ดาน ดังนี้
๓.๑ เปาประสงคและมิติของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
สังคมคารบอนต่ํา (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผูคนสวนใหญหันมารวมมือกันลดการ
ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดจากการดํารงชีวิตปกติโดยเฉพาะการ
ลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือภาคอุตสาหกรรม
เพื่อจะไดอยูรวมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคารบอนต่ําจึงตองทําใหผูคนในสังคมมีความตระหนักถึง
คุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยูในสภาพแวดลอมที่มีปริมาณคารบอนต่ํา โดยผูคนในสังคมมีความยึดโยงกับการ
เลือกใชเทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และที่สําคัญ ตองเปนสังคมที่มีการวาง
ผังเมืองใหสอดคลองกับระบบนิเวศที่สมดุล ดังนั้น สังคมคารบอนต่ํา จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ตองชวยกัน
ลดความตองการใชพลังงาน (๒) สังคมที่ตองหลีกเลี่ยงการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้ํามัน และลดการปลอย
กาซเรือนกระจก และ (๓) สังคมตองมีมาตรการความมั่นคงทางพลังงานและเปนสังคมที่มีการพบปะหารือกัน
ในเรื่องความตองการของคนทุกกลุมในสังคม
จากการทบทวนถึงแผน นโยบาย และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสู
สังคมคารบอนต่ําในระดับนานาชาติ ประเทศ และรายสาขา สามารถระบุถึงเปาประสงคสําคัญของการพัฒนา
เมืองและชุมชนคารบอนต่ําและเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมได ๘ ดาน ดังนี้
ภาพที่ ๑ เปาประสงคของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา
๒
ตารางที่ ๑ เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
๑) การอนุรักษ ฟนฟู และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน
การอนุรักษและฟนฟูพื้นที่และแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคา โดยการ
สงวนรักษาและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสงเสริมการใชประโยชน
ทรัพยากรธรรมชาติอยางพอเพียง รักษาไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ
ใหสมบูรณ คงอยูอยางมั่นคงและยั่งยืน
๒) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม
การสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอม และการปรับฐานการผลิต การบริการ และการบริโภคใหมี
คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัยโดยไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทาง
ธรรมชาติ
๓) การลดผลกระทบที่สงผลตอการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการ
ปลอยกาซเรือนกระจก
การใชทรัพยากรอยางประหยัดและรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ
ใหดีตอไปในอนาคต และมุงเนนการลดกาซเรือนกระจกในภาคพลังงาน
อุตสาหกรรม การเกษตร การเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่และปาไม และ
การจัดการของเสีย
๔) การรับมือกับผลกระทบจากความ
เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ
การสรางศักยภาพและความพรอมของทุกภาคสวนในการรองรับและปรับตัว
ตอผลกระทบจากภัยธรรมชาติและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ โดยการรับมือกับอุทกภัย วาตภัย และแผนดินไหวที่มีอัตราเพิ่ม
สูงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
๕) การเพิ่มขีดความสามารถในการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการดําเนินงานของหนวยงาน
ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ชุมชน และประชาชนในทุกระดับ ใหมีการ
ดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
๖) การพัฒนาและสงเสริมการวิจัย
เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว
การพัฒนาและสนับสนุนการวิจัยและการนําเทคโนโลยีมาใชในการ
พัฒนา อนุรักษ และฟนฟูสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ สิ่งแวดลอมเมือง
และพื้นที่สีเขียว
๗) การพัฒนาสิ่งแวดลอมและพื้นที่สีเขียว
เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน
ทุกระดับ
การสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับประชาชน โดยการจัดการลด
มลพิษของดิน น้ํา และอากาศ การจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน
และการจัดการสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ
๘) การมีสวนรวมของประชาชนในการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
การสนับสนุนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการดิน น้ํา ปาไม
และความหลากหลายทางชีวภาพ การสงวนรักษาและฟนฟูพื้นที่ทาง
ธรรมชาติ ตลอดจนการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองและชุมชนอยางยั่งยืน
การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําจึงเปนยุทธศาสตรการพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติ
อันหลากหลาย ตลอดจนการปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนเพื่อเตรียมความพรอมไปสูการเปน
เศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ําในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสรางความเปนเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําตองถูก
ดําเนินการขึ้นในระดับประเทศเพื่อตอบสนองตอยุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืนในระดับ
โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสูความเปนเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําก็ตองอาศัย
กลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง และการมีสวนรวมในระดับทองถิ่นเพื่อผลักดันใหเมืองสีเขียว
๓
เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ําสัมฤทธิ์ผลเปนรูปธรรม มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา
จึงประกอบดวยสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา เศรษฐกิจคารบอนต่ํา และวัฒนธรรมคารบอนต่ํา ดังนี้
๑) สภาพแวดลอมคารบอนต่ํา ประกอบดวย เมืองคารบอนต่ํา การคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา
โครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา และอาคารคารบอนต่ํา
๒) เศรษฐกิจคารบอนต่ํา ประกอบดวย อุตสาหกรรมคารบอนต่ํา การเกษตรคารบอนต่ํา และการ
บริการคารบอนต่ํา
๓) วัฒนธรรมคารบอนต่ํา ประกอบดวย ภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา การมีสวนรวม
การศึกษา วิจัย และนวัตกรรมเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
ภาพที่ ๒ มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา
การกําหนดนโยบาย แผน ยุทธศาสตรฯ และการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมในระดับทองถิ่นตองมีความ
เชื่อมโยงตอกัน และตองครอบคลุมความมุงหมายของการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํารวมกัน ดังนั้น
การบูรณาการการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองและชุมชนใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ไมใชการเปลี่ยนแปลง
ภารกิจหนาที่ของภาคีตาง ๆ ในทางกลับกัน เปนการชี้ใหเห็นถึงศักยภาพของภาคีตาง ๆ ในการรวมสรรคสราง
การพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําภายใตบทบาทหนาที่ในปจจุบัน โดยการบูรณการทิศทางการพัฒนาในสาขา
ตาง ๆ ใหมีกรอบการดําเนินงานที่ตรงกันภายใตความมุงหมายของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม
คารบอนต่ํา ซึ่งการจําแนกกลไกการพัฒนาเปนรายสาขาภายใตกรอบการบูรณาการทิศทางการพัฒนาที่มุงสู
๔
สังคมคารบอนต่ํานี้ มีความสําคัญยิ่งตอการดําเนินงานของภาคีที่เกี่ยวของทุกภาคสวน เพื่อใชในการประเมิน
และติดตามผลการดําเนินงานของแตละฝายที่เกี่ยวของ ตลอดจนการปรับกระบวนการดําเนินงาน รวมถึงการ
พิจารณาประสานงานเชื่อมโยงระหวางสาขาการพัฒนาที่แตกตางกัน
ภาพที่ ๓ ความมุงหมายของการพัฒนาในสาขาตาง ๆ เพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
เมือง
คารบอนต่ํา
อุตสาหกรรม
คารบอนต่ํา
การเกษตร
คารบอนต่ํา
ภูมิปญญา
ทองถิ่น
วิถีชีวิต
การบริโภค
คารบอนต่ํา
การมีสวนรวม
(ประชารัฐ)
การศึกษา
วิจัยนวัตกรรม
คมนาคมขนสง
คารบอนต่ํา
โครงสราง
พื้นฐาน
คารบอนต่ํา
อาคาร
คารบอนต่ํา
การบริการ
คารบอนต่ํา
สังคมคารบอนต่ํา
สภาพแวดลอมการตั้งถิ่นฐาน
รูปสัณฐานและรูปทรงของเมือง
ที่ปลอยคารบอนต่ําลดผลกระทบตอ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ลดเกาะความรอนของเมืองและ
ไมทําลายทรัพยากร
ทางธรรมชาติ
ระบบและวิธีในการเดินทาง
ภายในเมืองและระหวางเมือง
ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
ใชพลังงานต่ําไรมลพิษ
มีโครงขายการเดินทาง
ที่กระชับหลากหลาย
และเขาถึงไดจากคน
ทุกเพศทุกวัย
และทุกสถานะ
การจัดเตรียมและบริการ
สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
ที่ทั่วถึงภายในเมืองและมีความ
กระชับในเชิงพื้นที่ใชเทคโนโลยี
ที่สะอาดปลอดภัย
และไรมลพิษตลอดจน
ลดการนําทรัพยากรธรรม
ชาติเขามาใชและลด
การปลอยของเสีย
ออกสูระบบนิเวศ
การกอสรางการใชงานและการ
เปลี่ยนแปลงอาคารสิ่งปลูกสราง
และที่อยูอาศัยอยางชาญฉลาด
ประหยัดพลังงานมีระบบหมุน
เวียนน้ําทิ้งเพื่อใชประโยชน
ดานอื่นลดความรอนและ
ใหแสงสวางและรมเงา
ที่เหมาะสมรวมถึงการใช
วัสดุกอสรางทองถิ่นและ
หมุนเวียนลดขยะ
จากการกอสราง
การรักษาการฟนฟูและการนํา
ภูมิปญญาเฉพาะถิ่นมาใชในการปรับตัว
เพื่ออยูรวมกับธรรมชาติเคารพธรรมชาติ
ไมทําลายธรรมชาติทั้งจากลักษณะของการตั้ง
ถิ่นฐานการอยูอาศัยการเดินทางและการรักษาพื้นที่
ธรรมชาติของชุมชนในรูปแบบตางๆภูมิปญญาทองถิ่นนี้ยัง
หมายถึงมิติของความรวมมือและความเขมแข็งทางสังคม
ของชุมชน
วิถีการอยูอาศัยทํางานและพักผอนที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมเลือกที่จะบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอยาง
พอเพียงและเลือกที่จะไมปลอยของเสียออกสูธรรมชาติซึ่ง
มีขีดจํากัดในการรองรับตลอดจนมีความตระหนักและ
เขาใจถึงความสําคัญของการลดคารบอนไดออกไซดให
ต่ําลงจากชีวิตประจําวันในดานตางๆ
การมีสวนรวม
รวมคิดรวมทํารวมรับผล
กับกลุมทางสังคมมีความรูสึก
เปนสวนรวมมีจิตอาสาในการดําเนินงาน
และมุงมั่นที่จะดําเนินการจัดการอนุรักษ
สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชนของตนเองตลอดจน
พรอมที่จะรวมมือในเครือขายทางสังคมใน
ระดับอื่นๆเพื่อการพัฒนาเมืองและชุมชน
ใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
การคนควาจัดทํา
ฐานขอมูลเทคโนโลยี
และนวัตกรรมที่ชวย
ใหมีการบริโภคคารบอนต่ํา
รักษาฟนฟูทรัพยากร
ธรรมชาติและใชทรัพยากร
ธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ
และพอเพียง
การผลิตในภาคอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ
การคาการทองเที่ยวและอื่นๆมุงเนนการ
ใชเทคโนโลยีสะอาดควบคุมสินคาไมใหกอ
มลพิษเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยใช
พลังงานใหนอยที่สุดตลอดจนเฝาระวังและ
พัฒนาระบบการผลิตที่เปนมิตรกับ
สิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง
การเพาะปลูก
และผลิตในภาคเกษตรที่เปน
มิตรกับสิ่งแวดลอมมุงเนนการใชเทคโนโลยี
สะอาดเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไมทําลาย
ทรัพยากรดินน้ําและอากาศตลอดจน
การใชพลังงานทดแทนในกระบวน
การเกษตรเพื่อใหเกิดความยั่งยืนใน
สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและชุมชน
การทําธุรกิจสรางสรรค
เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ใชแนวคิด4R(Reuse,
ReduceRecycleand
Repair)และธุรกิจสีเขียว
(GreenBusiness)ในการ
ดําเนินงาน
๕
ตารางที่ ๒ มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา
มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา
การพัฒนา
สภาพแวดลอม
คารบอนต่ํา
เมืองคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาและควบคุมการตั้งถิ่นฐาน รูปสัณฐาน และรูปทรง
ของเมืองที่ปลอยคารบอนต่ํา ลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดเกาะความรอน
ของเมือง และไมทําลายทรัพยากรทางธรรมชาติ
การคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาการเดินทางภายในเมืองและ
ระหวางเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใชพลังงานต่ํา ไรมลพิษ มีโครงขายการเดินทางที่กระชับ
หลากหลาย และเขาถึงไดจากคนทุกเพศ ทุกวัย และทุกสถานะ
โครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาจัดเตรียมและบริการสาธารณูปโภค
สาธารณูปการที่ทั่วถึงภายในเมืองและมีความกระชับในเชิงพื้นที่ ใชเทคโนโลยีที่สะอาด ปลอดภัย
และไรมลพิษ ตลอดจนลดการนําเขาทรัพยากรธรรมชาติมาใชและลดการปลอยของเสียออกสู
ระบบนิเวศ
อาคารคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสนับสนุนการกอสราง การใชงาน และการเปลี่ยนแปลง
อาคาร สิ่งปลูกสราง และที่อยูอาศัยอยางชาญฉลาด ประหยัดพลังงาน มีระบบหมุนเวียนน้ําทิ้งเพื่อ
ใชประโยชนดานอื่น ลดความรอน และใหแสงสวางและรมเงาที่เหมาะสมภายในอาคาร รวมถึงการ
ใชวัสดุกอสรางทองถิ่นและหมุนเวียน และลดขยะจากการกอสรางหรือเปลี่ยนแปลง
การพัฒนา
เศรษฐกิจ
คารบอนต่ํา
อุตสาหกรรมคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ
การคา การทองเที่ยว และอื่น ๆ ของเมืองที่มุงเนนการใชเทคโนโลยีสะอาด ควบคุมสินคาที่ไมใหกอ
มลพิษ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยใชพลังงานใหนอยที่สุด ตลอดจนเฝาระวังและพัฒนาระบบ
การผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง
การเกษตรคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการเพาะปลูกและผลิตในภาคเกษตรที่เปน
มิตรกับสิ่งแวดลอม มุงเนนการใชเทคโนโลยีสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ไมทําลาย
ทรัพยากรดิน น้ํา และอากาศ ตลอดจนการใชพลังงานทดแทนในกระบวนการเกษตรเพื่อใหเกิด
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและชุมชน
การบริการคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการทําธุรกิจสรางสรรคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ใชแนวคิด 4R (Reuse, Reduce, Recycle and Repair) และธุรกิจสีเขียว (Green Business) ในการ
ดําเนินงาน ไดแก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางานที่รักษาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ (Green
Company) การพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในทุกขั้นตอนการผลิต (Green Product)
การบริการลูกคาที่เนนการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เชน การลดใชถุงพลาสติกในการบรรจุผลิตภัณฑ
(Green Service) การใหความสําคัญดานการรักษาสภาพแวดลอมที่ดีกับบริษัทคูคา (Green
Purchasing) และการดําเนินการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Green
Procurement)
การพัฒนา
วัฒนธรรม
คารบอนต่ํา
ภูมิปญญาทองถิ่น มีความมุงหมายของการรักษา ฟนฟู และนํามาใชในภูมิปญญาเฉพาะถิ่นของการ
ปรับตัวในการอยูรวมกับธรรมชาติ เคารพธรรมชาติ ไมทําลายธรรมชาติ ทั้งจากลักษณะของการตั้ง
ถิ่นฐาน การอยูอาศัย การเดินทาง และการรักษาพื้นที่ธรรมชาติของชุมชนในรูปแบบตาง ๆ
ภูมิปญญาทองถิ่นนี้ยังหมายถึงมิติของความรวมมือและความเขมแข็งทางสังคมของชุมชนอีกดวย
วิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมวิถีการอยูอาศัย ทํางาน และ
พักผอนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เลือกที่จะบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอยางพอเพียงและเลือกที่จะ
๖
ไมปลอยของเสียออกสูธรรมชาติซึ่งมีขีดจํากัดในการรองรับ ตลอดจนมีความตระหนักและเขาใจถึง
ความสําคัญของการลดคารบอนใหต่ําลงจากชีวิตประจําวันในดานตาง ๆ
การบริหารจัดการและการมีสวนรวม มีความมุงหมายของการสรางการมีสวนรวม รวมคิด รวมทํา
รวมรับผลกับกลุมทางสังคม มีความรูสึกเปนสวนรวม มีจิตอาสาในการดําเนินงาน และมุงมั่นที่จะ
ดําเนินการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชนของตนเอง ตลอดจนพรอมที่จะรวมมือใน
เครือขายทางสังคมในระดับอื่น ๆ เพื่อการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
การศึกษา วิจัย และนวัตกรรมเพื่อมุงสูคารบอนต่ํา มีความมุงหมายในการสนับสนุนการคนควา
จัดทําฐานขอมูล เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ชวยใหมีการบริโภคคารบอนต่ํา รักษาฟนฟู
ทรัพยากรธรรมชาติ และใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและพอเพียง
๓.๒ กลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนและผลักดันการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
การพัฒนากลไกเครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา ครอบคลุมมิติของ
การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําทั้งหมด ไดแก สภาพแวดลอมคารบอนต่ํา
เศรษฐกิจคารบอนต่ํา และวัฒนธรรมคารบอนต่ํา โดยสามารถแบงกลไกเครื่องมือออกไดดังนี้
- กลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
- กลไกเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
ภาพที่ ๔ กลไกการขับเคลื่อนและผลักดันการพัฒนาเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
๓.๒.๑ กลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
การพัฒนากลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํามีขึ้นโดยใช
การศึกษาวิเคราะหบนความสัมพันธสองทาง (Two-Way Directions) ทั้งจากการพัฒนาบนลงลางและ
ลางขึ้นบน (Top-Down and Bottom-Up Processes) ไดแก การรวบรวมและวิเคราะหนโยบาย ยุทธศาสตร
๗
แผน และการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ และการสํารวจความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย การพัฒนา
กลไกเครื่องมือมีขึ้นกับตัวแทนภาคสวนในทองถิ่น (เทศบาลนครขอนแกน เทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมือง
ศรีสะเกษ) เพื่อใหไดประเด็นสําคัญและขอสรุปเบื้องตนของกลไกและเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชน
คารบอนต่ํา จากนั้น การตรวจสอบและประเมินผลมีขึ้นผานการประชุมเชิงปฏิบัติการหลายครั้งรวมกับภาคสวน
ตาง ๆ อนึ่ง กระบวนการวางผังและจัดทําแผนพัฒนาเมืองและชุมชนคารบอนต่ําในเทศบาลนํารองยังถูกใชเปน
เครื่องมือในการตรวจสอบความคิดเห็นของทองถิ่นที่มีตอกลไกและเครื่องมือในการพัฒนาเมืองฯ อีกดวย
การศึกษาถึงนโยบาย ยุทธศาสตร แผน และการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเมืองสีเขียว
เมืองเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมเมืองยั่งยืน และสังคมคารบอนต่ํา พบวา การดําเนินงานของภาคสวน
ตาง ๆ มีความสําคัญและอยูภายใตเปาประสงคและมิติของการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา
อยางไรก็ตาม อางอิงจากผลการศึกษาขอมูลทุติยภูมิและผลจากการหารือรวมกับภาคภาคีตาง ๆ ในหลายครั้ง
พบวา การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํายังขาดการบูรณาการ นโยบาย และแผนงานอยาง
เปนองครวม ซึ่งสงผลใหไมมีการจัดทําแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
ในระดับตาง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ผลกระทบ คือ การขาดแผนที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากร ขาดการสงเสริม
บทบาทผูนําชุมชน และขาดการสรางเครือขายโดยตรงเพื่อการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา การจัดการความรูและ
สรางความตระหนักถึงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ตลอดจนการเผยแพรที่ยังอยู
ในวงจํากัด
เพื่อบูรณการทิศทางการพัฒนาในมิติตาง ๆ ใหมีกรอบการดําเนินงานที่ตรงกันภายใตความมุงหมาย
ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมือง
และชุมชนฯ จึงถูกจัดทําขึ้นในรายสาขาตาง ๆ ของการพัฒนา เพื่อใหสอดคลองกับอํานาจหนาที่โดยเฉพาะ
อยางยิ่งหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงแบงสวนราชการตาง ๆ และเพื่อ
เชื่อมโยงภารกิจและหนาที่ของภาคีตาง ๆ ในแตละสาขาการพัฒนาเพื่อเติมเต็มองครวมของการมุงไปสูสังคม
คารบอนต่ํา ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการดําเนินงานของภาคีที่เกี่ยวของทุกภาคสวนอยางเปนรูปธรรม
๘
ภาพที่ ๕ กลไกการดําเนินงานในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
เมือง
คารบอนต่ํา
อุตสาหกรรม
คารบอนต่ํา
การเกษตร
คารบอนต่ํา
ภูมิปญญา
ทองถิ่น
วิถีชีวิต
การบริโภค
คารบอนต่ํา
การมีสวนรวม
(ประชารัฐ)
การศึกษา
วิจัยนวัตกรรม
คมนาคมขนสง
คารบอนต่ํา
โครงสราง
พื้นฐาน
คารบอนต่ํา
อาคาร
คารบอนต่ํา
การบริการ
คารบอนต่ํา
สังคมคารบอนต่ํา
ภาคี:มท.,ทส.,อก.,ยผ.,พน.,กค.,สมอ.,คพ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,
อกจ.
ภาคี:มท.,กค.,ยผ.,ทส.,พน.,อบก.,อปท.,สนง.ยผจ.,ประชาชน,
ชุมชน
ภาคี:มท.,กค.,ยผ.,สนข.,คค.,อปท.,สนง.ยผจ.,ประชาชน,
เอกชน,สคร.,ชุมชน
กลไกในการพัฒนาเมืองคารบอนต่ํา
๑)การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการ
๒)การบรรจุนโยบายดานสิ่งแวดลอม
๓)การพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
๔)การดําเนินการกลไกทางกฎหมาย
๕)การใชมาตรการจูงใจในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว
๖)การสรางเครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอม
๗)การประเมิน/ชี้วัดการจัดการสิ่งแวดลอม
กลไกในการพัฒนาคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา
๑)การวางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการขนสง
๒)การใชมาตรการทางเศรษฐกิจผลักดันการพัฒนา
๓)การสรางความรวมมือตอการเดินทางที่เปนมิตร
๔)การสรางมาตรการจูงใจตอการเดินทางที่เปนมิตร
กลไกในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา
๑)การสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม
๒)การจัดการเมืองที่กระชับ
๓)การนํานโยบายไปปฏิบัติ
๔)การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเมืองคารบอนต่ํา
๕)การบังคับใชมาตรการทางกฎหมาย
๖)การสงเสริมการจัดการขยะ
กลไกในการพัฒนาอาคารคารบอนต่ํา
๑)การใชกฎหมายควบคุมใหเกิดอาคารที่อนุรักษ
พลังงาน
๒)การสรางมาตรการจูงใจดานการเงิน
๓)การใหความรูอาคารประหยัดพลังงาน
๔)การสนับสนุนใหใชวัสดุและการกอสรางอาคาร
ที่ประหยัดพลังงาน
๕)การใชเทคโนโลยีอาคารประหยัดพลังงาน
กลไกในการพัฒนาอุตสาหกรรมคารบอนต่ํา
๑)การปรับโครงสรางและควบคุมการผลิตและการบริโภค
๒)การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
๓)การจัดทําแผนการจัดการมลพิษ
๔)การผลักดันใหมีการทองเที่ยวคารบอนต่ํา
๕)การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและการบริโภค
ภาคี:มท.,กค.,ทส.,สศช.,สผ.,อบก.,ส.ท.ท.,คพ.,อปท.,สนง.ย
ผจ.,ประชาชน,เอกชน,อพช.,ทสม.
ภาคี:มท.,ยผ.,พน.,อปท.,ประชาชน,เอกชน,
ชุมชน,ศาสนสถาน,สถาบันการศึกษา
ภาคี:มท.,ทส.,อก.,ยผ.,พน.,พด.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,กษจ.,
เกษตรกร,ชุมชน
กลไกในการพัฒนาการเกษตรคารบอนต่ํา
๑)การสงเสริมสินคาเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
๒)การสรางความตระหนักและใหความรูเรื่องการเกษตร
ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
๓)การวางนโยบายดานผังเมืองที่กําหนดการใชที่ดินเพื่อ
สงเสริมสรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน
ภาคี:มท.,ทส.,อก.,กค.,พณ.,กษ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,อกจ.
กลไกในการพัฒนาการบริการคารบอนต่ํา
๑)การกําหนดนโยบายที่เอื้อตอการปรับเปลี่ยน
กระบวนการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
๒)การใชมาตรการจูงใจใหเกิดเศรษฐกิจคารบอนต่ํา
๓)การสงเสริมการประกอบกิจการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ภาคี:มท.,ทส.,อก.,พณ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,สถาบันการศึกษา,
ชุมชน,เยาวชน
ภาคี:มท.,ทส.,อบก.,กค.,ส.ท.ท.,ศธ.,อพช.,พน.,อปท.,เอกชน,
ประชาชน,สถาบันการศึกษา,ชุมชน,ทสจ.,ศาสนสถาน,เยาวชน,สื่อมวลชน
ภาคี:มท.,ทส.,อบก.,กค.,ส.ท.ท.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,ชุมชน
ภาคี:มท.,ทส.,อก.,วช.,ศธ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,สถาบันการศึกษา,
เกษตรกร
กลไกในการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น
๑)การพัฒนาองคความรูชุมชนในการแกไขปญหา
สิ่งแวดลอม
๒)การใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา
เมืองและชุมชน
กลไกในการพัฒนาวิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา
๑)การบรรจุในแผนแมบทและแผนปฏิบัติการระดับตางๆ
๒)การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการจัดการพื้นที่สีเขียว
๓)การสรางจิตสํานึกในการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
๔)การใชมาตรการจูงใจทางสังคม
กลไกในการพัฒนาการมีสวนรวม
๑)การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการพัฒนาเมือง
๒)การพัฒนาความรวมมือในการลดการปลอยมลพิษ
๓)การสรางองคความรูจิตสํานึกในการมีสวนรวมและการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดการพื้นที่สีเขียว
กลไกในการพัฒนาการศึกษาวิจัยและนวัตกรรม
๑)การสนับสนุนการวิจัยในการพัฒนาดานสิ่งแวดลอม
เมืองและพื้นที่สีเขียวและถายทอดเทคโนโลยี
๒)การสรางองคความรูและพัฒนาเทคโนโลยีและ
นวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมคารบอนต่ําในแตละพื้นที่
(ดูตาราง๑ประกอบ)
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจคารบอนต่ํา
การขับเคลื่อนสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา
การขับเคลื่อนวัฒนธรรมคารบอนต่ํา
กลไกการดําเนินงานในการพัฒนาเมือง
และชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
๙
ตารางที่ ๓ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา
กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา
เมืองคารบอนต่ํา ๑) การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการ โดยจัดทําแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ในระดับภาค แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัด จัดทําแผนและโครงการพัฒนา
เมืองที่มีความสําคัญตอการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา
๒) การบรรจุนโยบายดานสิ่งแวดลอม โดยจัดทําขอบัญญัติทองถิ่นโดยองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น เพื่อรับรองคณะกรรมการดานการจัดการที่ดิน สิ่งแวดลอม และทรัพยากรในดาน
ตาง ๆ ใหมีสถานะทางกฎหมาย
๓) การพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยวางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการ
พัฒนาสวนของเมืองจากการอนุรักษบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคา
๔) การดําเนินการกลไกทางกฎหมาย โดยการพัฒนากฎหมายภาษีปาไม ควบคุมใหเปนไปตาม
แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน เพิ่มเติมมาตรการควบคุมการใชที่ดิน
๕) การใชมาตรการจูงใจในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว โดยจายคาตอบแทนการปลูกและการดูแล
รักษาพื้นที่สีเขียว การลดหยอนภาษี ยกเวนภาษีเงินไดแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล
สําหรับคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการเขารวมดําเนินโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว
๖) การสรางเครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอม โดยการสนับสนุนใหผูบริหารทองถิ่น
กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนารวมกับภาคีเครือขาย และจัดตั้งกลไกเพื่อทําหนาที่ในการ
ประสานงานระหวางเทศบาลกับชุมชน
๗) การประเมิน/ชี้วัดการจัดการสิ่งแวดลอม โดยกําหนดเกณฑมาตรฐานในการพัฒนาเมือง
และชุมชนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสังคมคารบอนต่ํา และจัดทํารายงานการวิเคราะห
ผลกระทบสิ่งแวดลอม
การคมนาคมขนสง
คารบอนต่ํา
๑) การวางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการขนสง โดยบูรณาการการผังเมืองและการ
คมนาคมขนสงใหมีทิศทางสอดคลองภายใตเงื่อนไขของเมืองคารบอนต่ํา และวางแผนและผัง
การพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเทาและเอื้อประโยชนตอระบบการขนสง
ที่อนุรักษพลังงาน
๒) การใชมาตรการทางเศรษฐกิจผลักดันการพัฒนา โดยใชมาตรการทางการคลังเขามาชวย
กระตุนใหเกิดโครงการพัฒนาเมือง เชน การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมักนําไปใชกับ
ทองถิ่นที่ตองการปรับปรุงฟนฟูหรือการพัฒนาใหม หรือการยกเวนภาษีอากรตาง ๆ
๓) การสรางความรวมมือตอการเดินทางที่เปนมิตร โดยการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ
และเอกชนในการใหบริการสาธารณะ และจัดตั้งกลุม องคกร สนับสนุนการเดินเทาและการใช
จักรยานในชีวิตประจําวัน รวมถึงการรณรงคการเดินทางที่ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอมในทุกรูปแบบ
๔) การสรางมาตรการจูงใจตอการเดินทางที่เปนมิตร โดยการสรางแรงจูงใจในการใชรถขนสง
มวลชน การเดิน หรือใชจักรยาน โดยมีการมอบรางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ หรือการใช
มาตรการบังคับใช
โครงสรางพื้นฐาน
คารบอนต่ํา
๑) การสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรมที่เสริมสรางประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
๑๐
๒) การจัดการเมืองที่กระชับ โดยวางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
ผานเครื่องมือในรูปของคณะกรรมการการพัฒนาเมือง และเครื่องมือเชิงนโยบาย
๓) การนํานโยบายโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ําไปปฏิบัติ โดยใชมาตรการจูงใจ ทั้งดาน
การเงินการคลัง กฎ ระเบียบ และมาตรฐานตาง ๆ และนํารองการพัฒนาสิ่งแวดลอมเมือง
ที่ยั่งยืนมุงสูสังคมคารบอนต่ําเพื่อเปนตัวอยางที่ดีใหแกชุมชน
๔) การปรับนโยบายลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเมืองคารบอนต่ํา โดยใชมาตรการทางการคลังเขามา
ชวยกระตุนใหเกิดโครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา จัดทําความรวมมือระหวาง
หนวยงาน ขอเงินทุนหมุนเวียนสําหรับการกูยืม และ/หรือรวมลงทุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม
๕) การบังคับใชมาตรการทางกฎหมาย โดยอางอิงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ หรือการออกเทศบัญญัติ
๖) การสงเสริมการจัดการขยะ โดยการรณรงคใหผูประกอบการมีการคัดแยกยะตั้งแตตนทาง
และสงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนมาใชภาชนะบรรจุภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
อาคารคารบอนต่ํา ๑) การใชกฎหมายควบคุมใหเกิดอาคารที่อนุรักษพลังงาน โดยการใชพระราชบัญญัติการ
สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ การใชพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒
และเพิ่มเติมการดําเนินการในดานประหยัดพลังงานอาคาร
๒) การสรางมาตรการจูงใจดานการเงิน โดยการใหกูยืมจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ
พลังงาน การใหการสนับสนุนเงินทุนจากโครงการ ESCO Fund
๓) การใหความรูถายทอดเรื่องอาคารประหยัดพลังงาน โดยหนวยงานทองถิ่นควรสงเสริมให
ประชาชน เล็งเห็นถึงความสําคัญตอสิ่งแวดลอมในทุกกระบวนการกอสรางอาคาร
๔) การสนับสนุนใหใชวัสดุและการกอสรางอาคารที่ประหยัดพลังงาน โดยนํารองการลดการใช
พลังงานในอาคาร โดยดําเนินงานตามความสมัครใจกอนมีการบังคับใชอยางเครงครัด
๕) การใชเทคโนโลยีอาคารประหยัดพลังงาน โดยสนับสนุน และสงเสริม ใหมีการลด
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและลดการใชพลังงานโดยการใหความสําคัญกับการออกแบบ
อาคารเขียว หรืออาคารคารบอนต่ํา
ตารางที่ ๔ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา
กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา
อุตสาหกรรม
คารบอนต่ํา
๑) การปรับโครงสราง และควบคุมการผลิตและการบริโภค โดยควบคุมตามหลักการผูกอ
มลพิษเปนผูรับภาระคาใชจาย ควบคุมมาตรฐานสินคาที่เหมาะสมตามมาตรฐานสากล สงเสริม
กระบวนการผลิตที่ประหยัดพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร
๒) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยการสรางความตระหนักถึงการอยูรวมกันของ
อุตสาหกรรมและชุมชน และควบคุมมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตตาง ๆ กอนปลอยออกสู
ภายนอก
๓) การจัดทําแผนการจัดการมลพิษ โดยจัดทําแผนการจัดการขยะอุตสาหกรรมและการเพิ่ม
มูลคาขยะมูลฝอยและกากของเสีย เชน การแปรรูปขยะใหเปนของใชในชีวิตประจําวัน
๔) การผลักดันใหมีการทองเที่ยวคารบอนต่ํา โดยการสงเสริมกิจกรรมการทองเที่ยว
ที่สอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่และเปนการบริการการทองเที่ยวคารบอนต่ํา เชน การ
ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ
๑๑
การเกษตร
คารบอนต่ํา
๑) การสงเสริมสินคาเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยมีกระบวนการผลิตที่ใชเทคโนโลยี
สะอาด ลดของเสียในขั้นตอนการผลิต รวมทั้งการเลือกใชวัตถุดิบในการผลิตที่ไมทําลาย
สิ่งแวดลอม เชน สินคาเกษตรอินทรีย ผลิตภัณฑจําพวกไมและกระดาษที่นํากลับมาใชใหม
๒) การสรางความตระหนักและใหความรูเรื่องการเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดย
สนับสนุนการใชพลังงานทดแทนมาใชในการทําเกษตร และการพัฒนาระบบการมีสวนรวม
ของประชาชนในการกําหนดขอบเขตของพื้นที่เพื่อการรักษาพื้นที่เกษตรกรรม
๓) การวางนโยบายดานผังเมืองที่กําหนดการใชที่ดินเพื่อสงเสริมสรางความมั่นคงดานอาหาร
และพลังงาน โดยรักษาขอบเขตที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม และที่ดินประเภทที่โลง
เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม
การบริการ
คารบอนต่ํา
๑) การกําหนดนโยบายที่เอื้อตอการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรตอ
สิ่งแวดลอม โดยสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจสรางสรรคตอสิ่งแวดลอมและปลอยคารบอนต่ํา
และพัฒนาเครื่องชี้วัดและระบบขอมูลที่เหมาะสมในการวัดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการ
อุปโภคบริโภคและการผลิต
๒) การใชมาตรการจูงใจใหเกิดเศรษฐกิจคารบอนต่ํา โดยสงเสริมการจดทะเบียน การใช และ
การคุมครองทรัพยสินทางปญญาของธุรกิจการบริการและการบริโภคคารบอนต่ํา การใช
มาตรการจูงใจดานภาษีและสนับสนุนการผลิตพลังงานทดแทน การสรางมาตรการจูงใจโดย
การใหรางวัลสําหรับผูคาคารบอนต่ําในตลาดสด
๓) การสงเสริมการประกอบกิจการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยสรางจิตสํานึกเพื่อ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคไปสูรูปแบบที่ยั่งยืน สงเสริมใหภาคเอกชนเพิ่มศักยภาพการ
ผลิตและใชทรัพยากรอยางคุมคา
ตารางที่ ๕ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาวัฒนธรรมคารบอนต่ํา
กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาวัฒนธรรมคารบอนต่ํา
ภูมิปญญาทองถิ่น ๑) การพัฒนาองคความรูชุมชนในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยพัฒนาบุคลากรที่เปนผูแทน
ของหนวยราชการ ผูนําชุมชน กลุมชมรม สถาบันการศึกษาใหมีความรูในการบริหารจัดการ
ดานสิ่งแวดลอม
๒) การใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเมืองและชุมชน โดยการนอมนําหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปญญาทองถิ่น และวิทยาการสมัยใหมที่เหมาะสมมาใชในการ
ดํารงชีวิต
วิถีชีวิตการบริโภค
คารบอนต่ํา
๑) การบรรจุเรื่องเมืองคารบอนต่ําในแผนแมบทและแผนปฏิบัติการระดับตาง ๆ โดยกําหนด
แผนการลดการเกิดมลพิษ และจัดทําแผนการฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมในพื้นที่ที่มีความสําคัญ
ของชุมชน
๒) การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการจัดการพื้นที่สีเขียว โดยกระจายอํานาจสูทองถิ่น
ในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม จัดกิจกรรมการจัดการความรูและเผยแพรความรู ขาวสาร
อยางตอเนื่องโดยการใชสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ และวารสารตาง ๆ
๓) การสรางจิตสํานึกในการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยสรางคานิยมและความตื่นตัวใน
การอยูอาศัยที่ปลอยคารบอนต่ํา และปลูกฝงความรับผิดชอบดานสิ่งแวดลอมแกเยาวชนใน
โรงเรียน
๑๒
๓.๒.๒ กลไกและเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
แมวากลไกขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ําในภาคสวน
ตาง ๆ เปนแนวทางของการมุงไปสูสังคมคารบอนต่ําอยางเปนองครวม อยางไรก็ตาม การดําเนินงานเพื่อมุงสู
สังคมคารบอนต่ํายังตองอาศัยการผลักดันที่สําคัญ ความคิดเห็นที่ไดรับจากเวทีการระดมความคิดเห็นและการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ประชาชน เอกชน องคกร และผูทรงคุณวุฒิ
รวมกับประสบการณที่ไดรับจากการปฏิบัติจัดทําแผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม
คารบอนต่ําของโครงการศึกษานี้ บงชี้ถึง การผลักดันสําคัญซึ่งจะสงผลใหกลไกขับเคลื่อนฯ เกิดการปฏิบัติ
ไดแก (๑) การผลักดันจากนโยบายแหงชาติ (๒) การผลักดันจากพลังทางสังคม และ (๓) การผลักดันจาก
พันธกิจระหวางประเทศ โดยเปนการหยิบยกหรือนําเอากิจกรรมการดําเนินงานที่มีความสําคัญขึ้นมา
ดําเนินการเพื่อกระตุนใหกลไกการดําเนินงานในสวนที่เหลือทั้งหมดขับเคลื่อนตอไปไดอยางเปนรูปธรรม ดังนี้
๔) การใชมาตรการจูงใจเพื่อใหสังคมประชาชนลดการปลดปลอยคารบอนต่ําในชีวิตประจําวัน
โดยใชมาตรการลดแรงจูงใจสําหรับผูที่ทํากิจกรรมที่ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสูการทํากิจกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
การบริหารจัดการ
และการมีสวนรวม
๑) การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการพัฒนาเมือง โดยการกระจายอํานาจการบริหาร
จัดการลงสูทองถิ่น และจัดทําเครื่องมือวัดผลการดําเนินงานหรือประเมินผลการดําเนินงาน
ขององคกร
๒) การพัฒนาความรวมมือในการลดการปลอยมลพิษ โดยเสริมสรางพลังความรวมมือระหวาง
ภาคภาคีตาง ๆ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และสงเสริม
กิจกรรมชุมชนในการจัดการขยะและมลพิษของชุมชน
๓) การสรางองคความรู จิตสํานึกในการมีสวนรวม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดการพื้นที่
สีเขียว โดยเพิ่มบทบาทของภาครัฐเพื่อสนับสนุนชุมชนและภาคภาคี ใหมีสวนรวมในการ
พัฒนาชุมชน ดูแลรักษา ติดตาม และตรวจสอบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม
การศึกษา วิจัย และ
นวัตกรรม
๑) การสนับสนุนการวิจัยในการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมเมืองและพื้นที่สีเขียวและถายทอด
เทคโนโลยี โดยกําหนดยุทธศาสตรการสนับสนุนการผลิตงานวิจัย สงเสริมและผลักดันงานวิจัย
ชุมชนโดยชุมชน จัดตั้งหนวยวิจัยดานการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อการดําเนินการวิจัย และนํา
งานวิจัยและเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมที่ดําเนินการแลวเสร็จไปใชประโยชน
๒) การสรางองคความรูและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมคารบอนต่ํา
ในแตละพื้นที่ โดยผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เสริมสรางสังคมนวัตกรรม และสนับสนุน
ใหสถาบันการศึกษาเปนหนวยงานหลักในการเปนที่พึ่งของเมืองและชุมชนดานสิ่งแวดลอม
๑๓
ภาพที่ ๖ ปจจัยผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
เมือง
คารบอนต่ํา
อุตสาหกรรม
คารบอนต่ํา
การเกษตร
คารบอนต่ํา
ภูมิปญญา
ทองถิ่น
วิถีชีวิต
การบริโภค
คารบอนต่ํา
การมีสวนรวม
(ประชารัฐ)
การศึกษา
วิจัยนวัตกรรม
คมนาคม
ขนสงคารบอน
ต่ํา
โครงสราง
พื้นฐาน
คารบอนต่ํา
อาคาร
คารบอนต่ํา
การบริการ
คารบอนต่ํา
สังคมคารบอนต่ํา
เจตจํานงทางการเมือง
นโยบายในการพัฒนาประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
แผนปฏิบัติการ๒๑พิธีสารเกียวโต
ถอยแถลงของประเทศตอเวทีนานาชาติ
รางวัลอาเซียนดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืน
ทัศนคติและคานิยมของประชาชน
แรงกดดันทางสังคมขาวสาร
การถอดบทเรียนจากชุมชนสูชุมชน
การผลักดันจากนโยบายแหงชาติ
การผลักดันจากพันธะกิจระหวางประเทศ
การผลักดันจากพลังทางสังคม
กลไกผลักดันใหเกิดการดําเนินงาน
การพัฒนาเมืองและชุมชน
เพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา
๑๔
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ

More Related Content

More from Singhanat Sangsehanat

การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญSinghanat Sangsehanat
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...Singhanat Sangsehanat
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...Singhanat Sangsehanat
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...Singhanat Sangsehanat
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...Singhanat Sangsehanat
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...Singhanat Sangsehanat
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Singhanat Sangsehanat
 

More from Singhanat Sangsehanat (7)

การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญการออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
การออกแบบชุมชนเมือง - อะไร อย่างไร และหัวใจสำคัญ
 
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
แผนแม่บทการจัดการเชิงพื้นที่ของการท่องเที่ยว เมืองเพชรบุรี และเส้นทางเลียบชาย...
 
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
การฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยจากรากฐานความต้องการของชุมชน กรณีศึกษา การวิจัยเชิง...
 
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
องค์ความรู้ด้านการฟื้นฟูเมือง การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาและฟื้นฟูที่อยู่...
 
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
โครงการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงาน โครงการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศั...
 
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
BMA การกำหนดนโยบายการพัฒนาเชิงพื้นที่ กทม - ปัญหาเชิงกระบวนการ ทางออก การออกแ...
 
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
Creative Place Creative City เมืองสร้างสรรค์ ถิ่นที่สร้างสรรค์ ความหมาย ความส...
 

การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ

  • 3. รายงานสรุปสําหรับผูบริหาร โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา จัดทําภายใต โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ปงบประมาณ ๒๕๕๙ ลิขสิทธิ์ของ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เผยแพรโดย สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๖๐/๑ ซอยพิบูลวัฒนา ๗ ถนนพระรามที่ ๖ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ จัดทําโดย ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร พิมพที่ บริษัท เวิลดปริ้น (ประเทศไทย) จํากัด ๒๓๐๘/๑๗ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐
  • 4. คํานํา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ไดเล็งเห็นความสําคัญของการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนสูการเปนเมืองสีเขียว เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา จึงไดจัดทําโครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม คารบอนต่ํา เพื่อใหมีเครื่องมือกลไกที่เหมาะสมในการนํานโยบาย แผน และยุทธศาสตร ที่ไดจัดทําไวสูการปฏิบัติ โดยความรวมมือของหนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของ รวมทั้งประสานการนําแผนฯ สูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น ใน ๓ เทศบาลนํารอง ไดแก เทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมืองศรีสะเกษ และเทศบาลนครขอนแกน สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขอขอบคุณองคการปกครองสวน ทองถิ่น หนวยงานที่เกี่ยวของ ผูเชี่ยวชาญ และประชาชนที่ใหความรวมมือ สนับสนุนขอมูล ความคิดเห็น และ ขอเสนอแนะตอการดําเนินโครงการ จนสําเร็จลุลวงดวยดี ทั้งนี้ ทางสํานักงานนโยบายฯ หวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนตอทุกภาคสวนในการรวมผลักดันใหเมืองและชุมชนมุงสูสังคมคารบอนต่ําตอไป สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สิงหาคม ๒๕๕๙
  • 5. ๑. หลักการและเหตุผล ปจจุบันเมืองและชุมชนในประเทศไทยมีการเติบโตและขยายตัวมากขึ้น มีจํานวนประชากรและ กิจกรรมตาง ๆ เพิ่มขึ้น ทําใหแนวโนมปญหาสิ่งแวดลอมทวีมากขึ้น เชน มลพิษน้ํา อากาศเสีย ขยะ การใช พลังงานเกินความจําเปน รวมทั้งการปลอยกาซเรือนกระจกของกิจกรรมบางประเภทซึ่งสงผลตอการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดวยเหตุนี้หลายภาคสวนจึงหันมาใหความสําคัญตอการพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อใหผูคนที่อาศัยในเมืองและชุมชนมีคุณภาพชีวิต พรอมกับคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีขึ้น มีการใช ทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม ซึ่งสอดคลองกับกระแสโลกที่ใหความสําคัญกับแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อบรรเทาและลดปญหาดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะดาน “การพัฒนาเมือง” ที่มุงสรางสิ่งแวดลอมสีเขียว สะอาด การพัฒนาที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสังคมคารบอนต่ํา เนนการบูรณาการความรวมมือระหวาง ภาคประชาคมและภาครัฐในลักษณะหุนสวนประสานมือกันเพื่อดําเนินนโยบายสาธารณะใหสัมฤทธิ์ผล ตลอดจน มีความสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองของประเทศไทยที่ใหความสําคัญกับการปรับ กระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศเพื่อเตรียมพรอมไปสูการเปนเศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ํา และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมทั้ง การสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับประชาชนในทุกระดับ สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจประการหนึ่ง ในการดําเนินงานดานการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน ไดตระหนักถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา” เพื่อใหมีเครื่องมือและกลไก ที่เหมาะสมในการนํานโยบาย แผน ยุทธศาสตร ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืนสูการปฏิบัติ โดยความรวมมือของหนวยงานและภาคสวนที่เกี่ยวของอยางเปนองครวม รวมทั้ง ใหมีการนํานโยบาย แผน และยุทธศาสตรในดานดังกลาวสูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น โดยใหมีแผนงาน โครงการ การจัดสรรงบประมาณ และการดําเนินงานใหบังเกิดผลตอไป ๒. วัตถุประสงค ๑) เพื่อใหมีเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดําเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร ดานพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา รวมทั้งการ ดําเนินงานตามขอริเริ่มอาเซียนดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืน โดยกระบวนการมีสวนรวม ๒) เพื่อประสานการนําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูเมืองสีเขียว เมืองที่เปนมิตร กับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา ยุทธศาสตรการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามขอริเริ่มอาเซียน ดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืนสูการปฏิบัติในระดับทองถิ่น ๓. การพัฒนาเครื่องมือและกลไกที่เหมาะสมในการผลักดันการดําเนินงานตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตร ดานพื้นที่สีเขียว เมืองสีเขียว เมืองเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา การพัฒนาเครื่องมือกลไกในการขับเคลื่อนและผลักดันเมืองสีเขียว เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ํา เปนผลจากการวิเคราะหและพัฒนารวมกับภาคสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของผานกระบวนการ ๑
  • 6. มีสวนรวมเปนสําคัญ เพื่อใหไดมาซึ่งกลไกเครื่องมือที่สอดคลองกับจุดแข็งในปจจุบันของการผลักดันนโยบาย แผน และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของ ตลอดจนการแกไขปญหาอุปสรรคของการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําและ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และเพื่อระบุถึงเครื่องมือและกลไกในการผลักดันตามนโยบาย แผน ยุทธศาสตรฯ ใหมี ความครอบคลุมตอการดําเนินงานของภาคภาคีตาง ๆ เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสู สังคมคารบอนต่ําจํานวน ๘ ดาน และ มิติในการพัฒนาฯ จํานวน ๓ ดานไดรับการระบุขึ้น ซึ่งสงผลตอการ พัฒนากลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ําจํานวน ๑๑ ดาน และ กลไกเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานฯ อีกจํานวน ๓ ดาน ดังนี้ ๓.๑ เปาประสงคและมิติของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา สังคมคารบอนต่ํา (Low Carbon Society) หมายถึง สังคมที่ผูคนสวนใหญหันมารวมมือกันลดการ ปลอยกาซคารบอนไดออกไซดในทุกรูปแบบหรือในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดจากการดํารงชีวิตปกติโดยเฉพาะการ ลดปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมาจากกระบวนการผลิตของโรงงานหรือภาคอุตสาหกรรม เพื่อจะไดอยูรวมกันในสังคมที่มีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมคารบอนต่ําจึงตองทําใหผูคนในสังคมมีความตระหนักถึง คุณภาพชีวิตที่เกิดจากการอยูในสภาพแวดลอมที่มีปริมาณคารบอนต่ํา โดยผูคนในสังคมมีความยึดโยงกับการ เลือกใชเทคโนโลยีหรือการพัฒนาเทคโนโลยีใหเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และที่สําคัญ ตองเปนสังคมที่มีการวาง ผังเมืองใหสอดคลองกับระบบนิเวศที่สมดุล ดังนั้น สังคมคารบอนต่ํา จึงมีลักษณะดังนี้ (๑) สังคมที่ตองชวยกัน ลดความตองการใชพลังงาน (๒) สังคมที่ตองหลีกเลี่ยงการใชเชื้อเพลิงฟอสซิลหรือน้ํามัน และลดการปลอย กาซเรือนกระจก และ (๓) สังคมตองมีมาตรการความมั่นคงทางพลังงานและเปนสังคมที่มีการพบปะหารือกัน ในเรื่องความตองการของคนทุกกลุมในสังคม จากการทบทวนถึงแผน นโยบาย และยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสู สังคมคารบอนต่ําในระดับนานาชาติ ประเทศ และรายสาขา สามารถระบุถึงเปาประสงคสําคัญของการพัฒนา เมืองและชุมชนคารบอนต่ําและเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมได ๘ ดาน ดังนี้ ภาพที่ ๑ เปาประสงคของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา ๒
  • 7. ตารางที่ ๑ เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา เปาประสงคของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ๑) การอนุรักษ ฟนฟู และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน การอนุรักษและฟนฟูพื้นที่และแหลงทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคา โดยการ สงวนรักษาและอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสงเสริมการใชประโยชน ทรัพยากรธรรมชาติอยางพอเพียง รักษาไวซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพ ใหสมบูรณ คงอยูอยางมั่นคงและยั่งยืน ๒) การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม การสรางความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม และการปรับฐานการผลิต การบริการ และการบริโภคใหมี คุณภาพ มาตรฐาน และปลอดภัยโดยไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ ๓) การลดผลกระทบที่สงผลตอการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและลดการ ปลอยกาซเรือนกระจก การใชทรัพยากรอยางประหยัดและรักษาสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ใหดีตอไปในอนาคต และมุงเนนการลดกาซเรือนกระจกในภาคพลังงาน อุตสาหกรรม การเกษตร การเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่และปาไม และ การจัดการของเสีย ๔) การรับมือกับผลกระทบจากความ เปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ การสรางศักยภาพและความพรอมของทุกภาคสวนในการรองรับและปรับตัว ตอผลกระทบจากภัยธรรมชาติและความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ โดยการรับมือกับอุทกภัย วาตภัย และแผนดินไหวที่มีอัตราเพิ่ม สูงขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก ๕) การเพิ่มขีดความสามารถในการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการดําเนินงานของหนวยงาน ภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน ชุมชน และประชาชนในทุกระดับ ใหมีการ ดําเนินงานดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ๖) การพัฒนาและสงเสริมการวิจัย เทคโนโลยี และนวัตกรรมสีเขียว การพัฒนาและสนับสนุนการวิจัยและการนําเทคโนโลยีมาใชในการ พัฒนา อนุรักษ และฟนฟูสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ สิ่งแวดลอมเมือง และพื้นที่สีเขียว ๗) การพัฒนาสิ่งแวดลอมและพื้นที่สีเขียว เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชน ทุกระดับ การสรางคุณภาพสิ่งแวดลอมที่ดีใหกับประชาชน โดยการจัดการลด มลพิษของดิน น้ํา และอากาศ การจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชน และการจัดการสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ๘) การมีสวนรวมของประชาชนในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน การสนับสนุนการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในการจัดการดิน น้ํา ปาไม และความหลากหลายทางชีวภาพ การสงวนรักษาและฟนฟูพื้นที่ทาง ธรรมชาติ ตลอดจนการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของเมืองและชุมชนอยางยั่งยืน การบรรลุถึงเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําจึงเปนยุทธศาสตรการพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับมิติ อันหลากหลาย ตลอดจนการปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนเพื่อเตรียมความพรอมไปสูการเปน เศรษฐกิจและสังคมคารบอนต่ําในทุกระดับเชื่อมโยงกัน การสรางความเปนเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําตองถูก ดําเนินการขึ้นในระดับประเทศเพื่อตอบสนองตอยุทธศาสตรดานสิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ ที่ยั่งยืนในระดับ โลกและระดับอาเซียน และในขณะเดียวกันการขับเคลื่อนไปสูความเปนเมืองและชุมชนสังคมคารบอนต่ําก็ตองอาศัย กลไกการปฏิบัติในมิติทางวัฒนธรรม การเมือง และการมีสวนรวมในระดับทองถิ่นเพื่อผลักดันใหเมืองสีเขียว ๓
  • 8. เมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และสังคมคารบอนต่ําสัมฤทธิ์ผลเปนรูปธรรม มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา จึงประกอบดวยสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา เศรษฐกิจคารบอนต่ํา และวัฒนธรรมคารบอนต่ํา ดังนี้ ๑) สภาพแวดลอมคารบอนต่ํา ประกอบดวย เมืองคารบอนต่ํา การคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา โครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา และอาคารคารบอนต่ํา ๒) เศรษฐกิจคารบอนต่ํา ประกอบดวย อุตสาหกรรมคารบอนต่ํา การเกษตรคารบอนต่ํา และการ บริการคารบอนต่ํา ๓) วัฒนธรรมคารบอนต่ํา ประกอบดวย ภูมิปญญาทองถิ่น วิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา การมีสวนรวม การศึกษา วิจัย และนวัตกรรมเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ภาพที่ ๒ มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา การกําหนดนโยบาย แผน ยุทธศาสตรฯ และการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมในระดับทองถิ่นตองมีความ เชื่อมโยงตอกัน และตองครอบคลุมความมุงหมายของการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํารวมกัน ดังนั้น การบูรณาการการดําเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเมืองและชุมชนใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ไมใชการเปลี่ยนแปลง ภารกิจหนาที่ของภาคีตาง ๆ ในทางกลับกัน เปนการชี้ใหเห็นถึงศักยภาพของภาคีตาง ๆ ในการรวมสรรคสราง การพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําภายใตบทบาทหนาที่ในปจจุบัน โดยการบูรณการทิศทางการพัฒนาในสาขา ตาง ๆ ใหมีกรอบการดําเนินงานที่ตรงกันภายใตความมุงหมายของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม คารบอนต่ํา ซึ่งการจําแนกกลไกการพัฒนาเปนรายสาขาภายใตกรอบการบูรณาการทิศทางการพัฒนาที่มุงสู ๔
  • 9. สังคมคารบอนต่ํานี้ มีความสําคัญยิ่งตอการดําเนินงานของภาคีที่เกี่ยวของทุกภาคสวน เพื่อใชในการประเมิน และติดตามผลการดําเนินงานของแตละฝายที่เกี่ยวของ ตลอดจนการปรับกระบวนการดําเนินงาน รวมถึงการ พิจารณาประสานงานเชื่อมโยงระหวางสาขาการพัฒนาที่แตกตางกัน ภาพที่ ๓ ความมุงหมายของการพัฒนาในสาขาตาง ๆ เพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา เมือง คารบอนต่ํา อุตสาหกรรม คารบอนต่ํา การเกษตร คารบอนต่ํา ภูมิปญญา ทองถิ่น วิถีชีวิต การบริโภค คารบอนต่ํา การมีสวนรวม (ประชารัฐ) การศึกษา วิจัยนวัตกรรม คมนาคมขนสง คารบอนต่ํา โครงสราง พื้นฐาน คารบอนต่ํา อาคาร คารบอนต่ํา การบริการ คารบอนต่ํา สังคมคารบอนต่ํา สภาพแวดลอมการตั้งถิ่นฐาน รูปสัณฐานและรูปทรงของเมือง ที่ปลอยคารบอนต่ําลดผลกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดเกาะความรอนของเมืองและ ไมทําลายทรัพยากร ทางธรรมชาติ ระบบและวิธีในการเดินทาง ภายในเมืองและระหวางเมือง ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใชพลังงานต่ําไรมลพิษ มีโครงขายการเดินทาง ที่กระชับหลากหลาย และเขาถึงไดจากคน ทุกเพศทุกวัย และทุกสถานะ การจัดเตรียมและบริการ สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ที่ทั่วถึงภายในเมืองและมีความ กระชับในเชิงพื้นที่ใชเทคโนโลยี ที่สะอาดปลอดภัย และไรมลพิษตลอดจน ลดการนําทรัพยากรธรรม ชาติเขามาใชและลด การปลอยของเสีย ออกสูระบบนิเวศ การกอสรางการใชงานและการ เปลี่ยนแปลงอาคารสิ่งปลูกสราง และที่อยูอาศัยอยางชาญฉลาด ประหยัดพลังงานมีระบบหมุน เวียนน้ําทิ้งเพื่อใชประโยชน ดานอื่นลดความรอนและ ใหแสงสวางและรมเงา ที่เหมาะสมรวมถึงการใช วัสดุกอสรางทองถิ่นและ หมุนเวียนลดขยะ จากการกอสราง การรักษาการฟนฟูและการนํา ภูมิปญญาเฉพาะถิ่นมาใชในการปรับตัว เพื่ออยูรวมกับธรรมชาติเคารพธรรมชาติ ไมทําลายธรรมชาติทั้งจากลักษณะของการตั้ง ถิ่นฐานการอยูอาศัยการเดินทางและการรักษาพื้นที่ ธรรมชาติของชุมชนในรูปแบบตางๆภูมิปญญาทองถิ่นนี้ยัง หมายถึงมิติของความรวมมือและความเขมแข็งทางสังคม ของชุมชน วิถีการอยูอาศัยทํางานและพักผอนที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมเลือกที่จะบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอยาง พอเพียงและเลือกที่จะไมปลอยของเสียออกสูธรรมชาติซึ่ง มีขีดจํากัดในการรองรับตลอดจนมีความตระหนักและ เขาใจถึงความสําคัญของการลดคารบอนไดออกไซดให ต่ําลงจากชีวิตประจําวันในดานตางๆ การมีสวนรวม รวมคิดรวมทํารวมรับผล กับกลุมทางสังคมมีความรูสึก เปนสวนรวมมีจิตอาสาในการดําเนินงาน และมุงมั่นที่จะดําเนินการจัดการอนุรักษ สิ่งแวดลอมเมืองและชุมชนของตนเองตลอดจน พรอมที่จะรวมมือในเครือขายทางสังคมใน ระดับอื่นๆเพื่อการพัฒนาเมืองและชุมชน ใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา การคนควาจัดทํา ฐานขอมูลเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ชวย ใหมีการบริโภคคารบอนต่ํา รักษาฟนฟูทรัพยากร ธรรมชาติและใชทรัพยากร ธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ และพอเพียง การผลิตในภาคอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ การคาการทองเที่ยวและอื่นๆมุงเนนการ ใชเทคโนโลยีสะอาดควบคุมสินคาไมใหกอ มลพิษเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยใช พลังงานใหนอยที่สุดตลอดจนเฝาระวังและ พัฒนาระบบการผลิตที่เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง การเพาะปลูก และผลิตในภาคเกษตรที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอมมุงเนนการใชเทคโนโลยี สะอาดเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตไมทําลาย ทรัพยากรดินน้ําและอากาศตลอดจน การใชพลังงานทดแทนในกระบวน การเกษตรเพื่อใหเกิดความยั่งยืนใน สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและชุมชน การทําธุรกิจสรางสรรค เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ใชแนวคิด4R(Reuse, ReduceRecycleand Repair)และธุรกิจสีเขียว (GreenBusiness)ในการ ดําเนินงาน ๕
  • 10. ตารางที่ ๒ มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา มิติของการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา การพัฒนา สภาพแวดลอม คารบอนต่ํา เมืองคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาและควบคุมการตั้งถิ่นฐาน รูปสัณฐาน และรูปทรง ของเมืองที่ปลอยคารบอนต่ํา ลดผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ลดเกาะความรอน ของเมือง และไมทําลายทรัพยากรทางธรรมชาติ การคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาการเดินทางภายในเมืองและ ระหวางเมืองที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ใชพลังงานต่ํา ไรมลพิษ มีโครงขายการเดินทางที่กระชับ หลากหลาย และเขาถึงไดจากคนทุกเพศ ทุกวัย และทุกสถานะ โครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการพัฒนาจัดเตรียมและบริการสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่ทั่วถึงภายในเมืองและมีความกระชับในเชิงพื้นที่ ใชเทคโนโลยีที่สะอาด ปลอดภัย และไรมลพิษ ตลอดจนลดการนําเขาทรัพยากรธรรมชาติมาใชและลดการปลอยของเสียออกสู ระบบนิเวศ อาคารคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสนับสนุนการกอสราง การใชงาน และการเปลี่ยนแปลง อาคาร สิ่งปลูกสราง และที่อยูอาศัยอยางชาญฉลาด ประหยัดพลังงาน มีระบบหมุนเวียนน้ําทิ้งเพื่อ ใชประโยชนดานอื่น ลดความรอน และใหแสงสวางและรมเงาที่เหมาะสมภายในอาคาร รวมถึงการ ใชวัสดุกอสรางทองถิ่นและหมุนเวียน และลดขยะจากการกอสรางหรือเปลี่ยนแปลง การพัฒนา เศรษฐกิจ คารบอนต่ํา อุตสาหกรรมคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการผลิตในภาคอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ การคา การทองเที่ยว และอื่น ๆ ของเมืองที่มุงเนนการใชเทคโนโลยีสะอาด ควบคุมสินคาที่ไมใหกอ มลพิษ เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยใชพลังงานใหนอยที่สุด ตลอดจนเฝาระวังและพัฒนาระบบ การผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมอยางตอเนื่อง การเกษตรคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการเพาะปลูกและผลิตในภาคเกษตรที่เปน มิตรกับสิ่งแวดลอม มุงเนนการใชเทคโนโลยีสะอาด เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ไมทําลาย ทรัพยากรดิน น้ํา และอากาศ ตลอดจนการใชพลังงานทดแทนในกระบวนการเกษตรเพื่อใหเกิด ความยั่งยืนทางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติและชุมชน การบริการคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมการทําธุรกิจสรางสรรคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ใชแนวคิด 4R (Reuse, Reduce, Recycle and Repair) และธุรกิจสีเขียว (Green Business) ในการ ดําเนินงาน ไดแก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทํางานที่รักษาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ (Green Company) การพัฒนาผลิตภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมในทุกขั้นตอนการผลิต (Green Product) การบริการลูกคาที่เนนการเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เชน การลดใชถุงพลาสติกในการบรรจุผลิตภัณฑ (Green Service) การใหความสําคัญดานการรักษาสภาพแวดลอมที่ดีกับบริษัทคูคา (Green Purchasing) และการดําเนินการจัดซื้อจัดจางสินคาและบริการที่ไมสงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (Green Procurement) การพัฒนา วัฒนธรรม คารบอนต่ํา ภูมิปญญาทองถิ่น มีความมุงหมายของการรักษา ฟนฟู และนํามาใชในภูมิปญญาเฉพาะถิ่นของการ ปรับตัวในการอยูรวมกับธรรมชาติ เคารพธรรมชาติ ไมทําลายธรรมชาติ ทั้งจากลักษณะของการตั้ง ถิ่นฐาน การอยูอาศัย การเดินทาง และการรักษาพื้นที่ธรรมชาติของชุมชนในรูปแบบตาง ๆ ภูมิปญญาทองถิ่นนี้ยังหมายถึงมิติของความรวมมือและความเขมแข็งทางสังคมของชุมชนอีกดวย วิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา มีความมุงหมายของการสงเสริมวิถีการอยูอาศัย ทํางาน และ พักผอนที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เลือกที่จะบริโภคทรัพยากรธรรมชาติอยางพอเพียงและเลือกที่จะ ๖
  • 11. ไมปลอยของเสียออกสูธรรมชาติซึ่งมีขีดจํากัดในการรองรับ ตลอดจนมีความตระหนักและเขาใจถึง ความสําคัญของการลดคารบอนใหต่ําลงจากชีวิตประจําวันในดานตาง ๆ การบริหารจัดการและการมีสวนรวม มีความมุงหมายของการสรางการมีสวนรวม รวมคิด รวมทํา รวมรับผลกับกลุมทางสังคม มีความรูสึกเปนสวนรวม มีจิตอาสาในการดําเนินงาน และมุงมั่นที่จะ ดําเนินการจัดการอนุรักษสิ่งแวดลอมเมืองและชุมชนของตนเอง ตลอดจนพรอมที่จะรวมมือใน เครือขายทางสังคมในระดับอื่น ๆ เพื่อการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา การศึกษา วิจัย และนวัตกรรมเพื่อมุงสูคารบอนต่ํา มีความมุงหมายในการสนับสนุนการคนควา จัดทําฐานขอมูล เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่ชวยใหมีการบริโภคคารบอนต่ํา รักษาฟนฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพและพอเพียง ๓.๒ กลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนและผลักดันการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา การพัฒนากลไกเครื่องมือในการขับเคลื่อนเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา ครอบคลุมมิติของ การพัฒนาที่เกี่ยวเนื่องกับการพัฒนาที่มุงสูสังคมคารบอนต่ําทั้งหมด ไดแก สภาพแวดลอมคารบอนต่ํา เศรษฐกิจคารบอนต่ํา และวัฒนธรรมคารบอนต่ํา โดยสามารถแบงกลไกเครื่องมือออกไดดังนี้ - กลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา - กลไกเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ภาพที่ ๔ กลไกการขับเคลื่อนและผลักดันการพัฒนาเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ๓.๒.๑ กลไกและเครื่องมือขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา การพัฒนากลไกเครื่องมือขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํามีขึ้นโดยใช การศึกษาวิเคราะหบนความสัมพันธสองทาง (Two-Way Directions) ทั้งจากการพัฒนาบนลงลางและ ลางขึ้นบน (Top-Down and Bottom-Up Processes) ไดแก การรวบรวมและวิเคราะหนโยบาย ยุทธศาสตร ๗
  • 12. แผน และการปฏิบัติงานของหนวยงานภาครัฐ และการสํารวจความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย การพัฒนา กลไกเครื่องมือมีขึ้นกับตัวแทนภาคสวนในทองถิ่น (เทศบาลนครขอนแกน เทศบาลเมืองรอยเอ็ด เทศบาลเมือง ศรีสะเกษ) เพื่อใหไดประเด็นสําคัญและขอสรุปเบื้องตนของกลไกและเครื่องมือในการพัฒนาเมืองและชุมชน คารบอนต่ํา จากนั้น การตรวจสอบและประเมินผลมีขึ้นผานการประชุมเชิงปฏิบัติการหลายครั้งรวมกับภาคสวน ตาง ๆ อนึ่ง กระบวนการวางผังและจัดทําแผนพัฒนาเมืองและชุมชนคารบอนต่ําในเทศบาลนํารองยังถูกใชเปน เครื่องมือในการตรวจสอบความคิดเห็นของทองถิ่นที่มีตอกลไกและเครื่องมือในการพัฒนาเมืองฯ อีกดวย การศึกษาถึงนโยบาย ยุทธศาสตร แผน และการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเมืองสีเขียว เมืองเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมเมืองยั่งยืน และสังคมคารบอนต่ํา พบวา การดําเนินงานของภาคสวน ตาง ๆ มีความสําคัญและอยูภายใตเปาประสงคและมิติของการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา อยางไรก็ตาม อางอิงจากผลการศึกษาขอมูลทุติยภูมิและผลจากการหารือรวมกับภาคภาคีตาง ๆ ในหลายครั้ง พบวา การพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํายังขาดการบูรณาการ นโยบาย และแผนงานอยาง เปนองครวม ซึ่งสงผลใหไมมีการจัดทําแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ในระดับตาง ๆ ที่เชื่อมโยงกัน ผลกระทบ คือ การขาดแผนที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากร ขาดการสงเสริม บทบาทผูนําชุมชน และขาดการสรางเครือขายโดยตรงเพื่อการพัฒนาสังคมคารบอนต่ํา การจัดการความรูและ สรางความตระหนักถึงการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ตลอดจนการเผยแพรที่ยังอยู ในวงจํากัด เพื่อบูรณการทิศทางการพัฒนาในมิติตาง ๆ ใหมีกรอบการดําเนินงานที่ตรงกันภายใตความมุงหมาย ของการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมือง และชุมชนฯ จึงถูกจัดทําขึ้นในรายสาขาตาง ๆ ของการพัฒนา เพื่อใหสอดคลองกับอํานาจหนาที่โดยเฉพาะ อยางยิ่งหนวยงานของรัฐที่มีอํานาจหนาที่ตามที่กําหนดไวในกฎกระทรวงแบงสวนราชการตาง ๆ และเพื่อ เชื่อมโยงภารกิจและหนาที่ของภาคีตาง ๆ ในแตละสาขาการพัฒนาเพื่อเติมเต็มองครวมของการมุงไปสูสังคม คารบอนต่ํา ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอการดําเนินงานของภาคีที่เกี่ยวของทุกภาคสวนอยางเปนรูปธรรม ๘
  • 13. ภาพที่ ๕ กลไกการดําเนินงานในการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา เมือง คารบอนต่ํา อุตสาหกรรม คารบอนต่ํา การเกษตร คารบอนต่ํา ภูมิปญญา ทองถิ่น วิถีชีวิต การบริโภค คารบอนต่ํา การมีสวนรวม (ประชารัฐ) การศึกษา วิจัยนวัตกรรม คมนาคมขนสง คารบอนต่ํา โครงสราง พื้นฐาน คารบอนต่ํา อาคาร คารบอนต่ํา การบริการ คารบอนต่ํา สังคมคารบอนต่ํา ภาคี:มท.,ทส.,อก.,ยผ.,พน.,กค.,สมอ.,คพ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน, อกจ. ภาคี:มท.,กค.,ยผ.,ทส.,พน.,อบก.,อปท.,สนง.ยผจ.,ประชาชน, ชุมชน ภาคี:มท.,กค.,ยผ.,สนข.,คค.,อปท.,สนง.ยผจ.,ประชาชน, เอกชน,สคร.,ชุมชน กลไกในการพัฒนาเมืองคารบอนต่ํา ๑)การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการ ๒)การบรรจุนโยบายดานสิ่งแวดลอม ๓)การพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ๔)การดําเนินการกลไกทางกฎหมาย ๕)การใชมาตรการจูงใจในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว ๖)การสรางเครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอม ๗)การประเมิน/ชี้วัดการจัดการสิ่งแวดลอม กลไกในการพัฒนาคมนาคมขนสงคารบอนต่ํา ๑)การวางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการขนสง ๒)การใชมาตรการทางเศรษฐกิจผลักดันการพัฒนา ๓)การสรางความรวมมือตอการเดินทางที่เปนมิตร ๔)การสรางมาตรการจูงใจตอการเดินทางที่เปนมิตร กลไกในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา ๑)การสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม ๒)การจัดการเมืองที่กระชับ ๓)การนํานโยบายไปปฏิบัติ ๔)การลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเมืองคารบอนต่ํา ๕)การบังคับใชมาตรการทางกฎหมาย ๖)การสงเสริมการจัดการขยะ กลไกในการพัฒนาอาคารคารบอนต่ํา ๑)การใชกฎหมายควบคุมใหเกิดอาคารที่อนุรักษ พลังงาน ๒)การสรางมาตรการจูงใจดานการเงิน ๓)การใหความรูอาคารประหยัดพลังงาน ๔)การสนับสนุนใหใชวัสดุและการกอสรางอาคาร ที่ประหยัดพลังงาน ๕)การใชเทคโนโลยีอาคารประหยัดพลังงาน กลไกในการพัฒนาอุตสาหกรรมคารบอนต่ํา ๑)การปรับโครงสรางและควบคุมการผลิตและการบริโภค ๒)การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๓)การจัดทําแผนการจัดการมลพิษ ๔)การผลักดันใหมีการทองเที่ยวคารบอนต่ํา ๕)การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและการบริโภค ภาคี:มท.,กค.,ทส.,สศช.,สผ.,อบก.,ส.ท.ท.,คพ.,อปท.,สนง.ย ผจ.,ประชาชน,เอกชน,อพช.,ทสม. ภาคี:มท.,ยผ.,พน.,อปท.,ประชาชน,เอกชน, ชุมชน,ศาสนสถาน,สถาบันการศึกษา ภาคี:มท.,ทส.,อก.,ยผ.,พน.,พด.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,กษจ., เกษตรกร,ชุมชน กลไกในการพัฒนาการเกษตรคารบอนต่ํา ๑)การสงเสริมสินคาเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ๒)การสรางความตระหนักและใหความรูเรื่องการเกษตร ที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ๓)การวางนโยบายดานผังเมืองที่กําหนดการใชที่ดินเพื่อ สงเสริมสรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน ภาคี:มท.,ทส.,อก.,กค.,พณ.,กษ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,อกจ. กลไกในการพัฒนาการบริการคารบอนต่ํา ๑)การกําหนดนโยบายที่เอื้อตอการปรับเปลี่ยน กระบวนการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ๒)การใชมาตรการจูงใจใหเกิดเศรษฐกิจคารบอนต่ํา ๓)การสงเสริมการประกอบกิจการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ภาคี:มท.,ทส.,อก.,พณ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,สถาบันการศึกษา, ชุมชน,เยาวชน ภาคี:มท.,ทส.,อบก.,กค.,ส.ท.ท.,ศธ.,อพช.,พน.,อปท.,เอกชน, ประชาชน,สถาบันการศึกษา,ชุมชน,ทสจ.,ศาสนสถาน,เยาวชน,สื่อมวลชน ภาคี:มท.,ทส.,อบก.,กค.,ส.ท.ท.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,ชุมชน ภาคี:มท.,ทส.,อก.,วช.,ศธ.,อปท.,เอกชน,ประชาชน,สถาบันการศึกษา, เกษตรกร กลไกในการพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่น ๑)การพัฒนาองคความรูชุมชนในการแกไขปญหา สิ่งแวดลอม ๒)การใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนา เมืองและชุมชน กลไกในการพัฒนาวิถีชีวิตการบริโภคคารบอนต่ํา ๑)การบรรจุในแผนแมบทและแผนปฏิบัติการระดับตางๆ ๒)การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการจัดการพื้นที่สีเขียว ๓)การสรางจิตสํานึกในการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ๔)การใชมาตรการจูงใจทางสังคม กลไกในการพัฒนาการมีสวนรวม ๑)การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการพัฒนาเมือง ๒)การพัฒนาความรวมมือในการลดการปลอยมลพิษ ๓)การสรางองคความรูจิตสํานึกในการมีสวนรวมและการ แลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดการพื้นที่สีเขียว กลไกในการพัฒนาการศึกษาวิจัยและนวัตกรรม ๑)การสนับสนุนการวิจัยในการพัฒนาดานสิ่งแวดลอม เมืองและพื้นที่สีเขียวและถายทอดเทคโนโลยี ๒)การสรางองคความรูและพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมคารบอนต่ําในแตละพื้นที่ (ดูตาราง๑ประกอบ) การขับเคลื่อนเศรษฐกิจคารบอนต่ํา การขับเคลื่อนสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา การขับเคลื่อนวัฒนธรรมคารบอนต่ํา กลไกการดําเนินงานในการพัฒนาเมือง และชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ๙
  • 14. ตารางที่ ๓ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาสภาพแวดลอมคารบอนต่ํา เมืองคารบอนต่ํา ๑) การจัดทําแผนแมบทการบริหารจัดการ โดยจัดทําแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ในระดับภาค แผนพัฒนากลุมจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัด จัดทําแผนและโครงการพัฒนา เมืองที่มีความสําคัญตอการพัฒนาเมืองและชุมชนที่มุงสูสังคมคารบอนต่ํา ๒) การบรรจุนโยบายดานสิ่งแวดลอม โดยจัดทําขอบัญญัติทองถิ่นโดยองคกรปกครอง สวนทองถิ่น เพื่อรับรองคณะกรรมการดานการจัดการที่ดิน สิ่งแวดลอม และทรัพยากรในดาน ตาง ๆ ใหมีสถานะทางกฎหมาย ๓) การพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยวางแผนและพัฒนาพื้นที่เฉพาะเพื่อการ พัฒนาสวนของเมืองจากการอนุรักษบํารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่มีคุณคา ๔) การดําเนินการกลไกทางกฎหมาย โดยการพัฒนากฎหมายภาษีปาไม ควบคุมใหเปนไปตาม แผนผังกําหนดการใชประโยชนที่ดิน เพิ่มเติมมาตรการควบคุมการใชที่ดิน ๕) การใชมาตรการจูงใจในการอนุรักษพื้นที่สีเขียว โดยจายคาตอบแทนการปลูกและการดูแล รักษาพื้นที่สีเขียว การลดหยอนภาษี ยกเวนภาษีเงินไดแกบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคล สําหรับคาใชจายที่เกิดขึ้นจากการเขารวมดําเนินโครงการเพิ่มพื้นที่สีเขียว ๖) การสรางเครือขายความรวมมือดานสิ่งแวดลอม โดยการสนับสนุนใหผูบริหารทองถิ่น กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนารวมกับภาคีเครือขาย และจัดตั้งกลไกเพื่อทําหนาที่ในการ ประสานงานระหวางเทศบาลกับชุมชน ๗) การประเมิน/ชี้วัดการจัดการสิ่งแวดลอม โดยกําหนดเกณฑมาตรฐานในการพัฒนาเมือง และชุมชนที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสังคมคารบอนต่ํา และจัดทํารายงานการวิเคราะห ผลกระทบสิ่งแวดลอม การคมนาคมขนสง คารบอนต่ํา ๑) การวางแผนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานการขนสง โดยบูรณาการการผังเมืองและการ คมนาคมขนสงใหมีทิศทางสอดคลองภายใตเงื่อนไขของเมืองคารบอนต่ํา และวางแผนและผัง การพัฒนาพื้นที่สาธารณะที่สนับสนุนการเดินเทาและเอื้อประโยชนตอระบบการขนสง ที่อนุรักษพลังงาน ๒) การใชมาตรการทางเศรษฐกิจผลักดันการพัฒนา โดยใชมาตรการทางการคลังเขามาชวย กระตุนใหเกิดโครงการพัฒนาเมือง เชน การลงทุนพัฒนาโครงสรางพื้นฐานมักนําไปใชกับ ทองถิ่นที่ตองการปรับปรุงฟนฟูหรือการพัฒนาใหม หรือการยกเวนภาษีอากรตาง ๆ ๓) การสรางความรวมมือตอการเดินทางที่เปนมิตร โดยการสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ และเอกชนในการใหบริการสาธารณะ และจัดตั้งกลุม องคกร สนับสนุนการเดินเทาและการใช จักรยานในชีวิตประจําวัน รวมถึงการรณรงคการเดินทางที่ประหยัดพลังงานและเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมในทุกรูปแบบ ๔) การสรางมาตรการจูงใจตอการเดินทางที่เปนมิตร โดยการสรางแรงจูงใจในการใชรถขนสง มวลชน การเดิน หรือใชจักรยาน โดยมีการมอบรางวัล ใบประกาศเกียรติคุณ หรือการใช มาตรการบังคับใช โครงสรางพื้นฐาน คารบอนต่ํา ๑) การสงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เสริมสรางประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๑๐
  • 15. ๒) การจัดการเมืองที่กระชับ โดยวางแผนและผังพัฒนาเมืองที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ผานเครื่องมือในรูปของคณะกรรมการการพัฒนาเมือง และเครื่องมือเชิงนโยบาย ๓) การนํานโยบายโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ําไปปฏิบัติ โดยใชมาตรการจูงใจ ทั้งดาน การเงินการคลัง กฎ ระเบียบ และมาตรฐานตาง ๆ และนํารองการพัฒนาสิ่งแวดลอมเมือง ที่ยั่งยืนมุงสูสังคมคารบอนต่ําเพื่อเปนตัวอยางที่ดีใหแกชุมชน ๔) การปรับนโยบายลงทุนในโครงสรางพื้นฐานเมืองคารบอนต่ํา โดยใชมาตรการทางการคลังเขามา ชวยกระตุนใหเกิดโครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานคารบอนต่ํา จัดทําความรวมมือระหวาง หนวยงาน ขอเงินทุนหมุนเวียนสําหรับการกูยืม และ/หรือรวมลงทุนจากกองทุนสิ่งแวดลอม ๕) การบังคับใชมาตรการทางกฎหมาย โดยอางอิงพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ หรือการออกเทศบัญญัติ ๖) การสงเสริมการจัดการขยะ โดยการรณรงคใหผูประกอบการมีการคัดแยกยะตั้งแตตนทาง และสงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนมาใชภาชนะบรรจุภัณฑที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม อาคารคารบอนต่ํา ๑) การใชกฎหมายควบคุมใหเกิดอาคารที่อนุรักษพลังงาน โดยการใชพระราชบัญญัติการ สงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ การใชพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ และเพิ่มเติมการดําเนินการในดานประหยัดพลังงานอาคาร ๒) การสรางมาตรการจูงใจดานการเงิน โดยการใหกูยืมจากกองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ พลังงาน การใหการสนับสนุนเงินทุนจากโครงการ ESCO Fund ๓) การใหความรูถายทอดเรื่องอาคารประหยัดพลังงาน โดยหนวยงานทองถิ่นควรสงเสริมให ประชาชน เล็งเห็นถึงความสําคัญตอสิ่งแวดลอมในทุกกระบวนการกอสรางอาคาร ๔) การสนับสนุนใหใชวัสดุและการกอสรางอาคารที่ประหยัดพลังงาน โดยนํารองการลดการใช พลังงานในอาคาร โดยดําเนินงานตามความสมัครใจกอนมีการบังคับใชอยางเครงครัด ๕) การใชเทคโนโลยีอาคารประหยัดพลังงาน โดยสนับสนุน และสงเสริม ใหมีการลด ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและลดการใชพลังงานโดยการใหความสําคัญกับการออกแบบ อาคารเขียว หรืออาคารคารบอนต่ํา ตารางที่ ๔ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจคารบอนต่ํา อุตสาหกรรม คารบอนต่ํา ๑) การปรับโครงสราง และควบคุมการผลิตและการบริโภค โดยควบคุมตามหลักการผูกอ มลพิษเปนผูรับภาระคาใชจาย ควบคุมมาตรฐานสินคาที่เหมาะสมตามมาตรฐานสากล สงเสริม กระบวนการผลิตที่ประหยัดพลังงานและเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักร ๒) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยการสรางความตระหนักถึงการอยูรวมกันของ อุตสาหกรรมและชุมชน และควบคุมมลพิษที่เกิดจากกระบวนการผลิตตาง ๆ กอนปลอยออกสู ภายนอก ๓) การจัดทําแผนการจัดการมลพิษ โดยจัดทําแผนการจัดการขยะอุตสาหกรรมและการเพิ่ม มูลคาขยะมูลฝอยและกากของเสีย เชน การแปรรูปขยะใหเปนของใชในชีวิตประจําวัน ๔) การผลักดันใหมีการทองเที่ยวคารบอนต่ํา โดยการสงเสริมกิจกรรมการทองเที่ยว ที่สอดคลองกับศักยภาพของพื้นที่และเปนการบริการการทองเที่ยวคารบอนต่ํา เชน การ ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ การทองเที่ยวเชิงนิเวศ ๑๑
  • 16. การเกษตร คารบอนต่ํา ๑) การสงเสริมสินคาเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยมีกระบวนการผลิตที่ใชเทคโนโลยี สะอาด ลดของเสียในขั้นตอนการผลิต รวมทั้งการเลือกใชวัตถุดิบในการผลิตที่ไมทําลาย สิ่งแวดลอม เชน สินคาเกษตรอินทรีย ผลิตภัณฑจําพวกไมและกระดาษที่นํากลับมาใชใหม ๒) การสรางความตระหนักและใหความรูเรื่องการเกษตรที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดย สนับสนุนการใชพลังงานทดแทนมาใชในการทําเกษตร และการพัฒนาระบบการมีสวนรวม ของประชาชนในการกําหนดขอบเขตของพื้นที่เพื่อการรักษาพื้นที่เกษตรกรรม ๓) การวางนโยบายดานผังเมืองที่กําหนดการใชที่ดินเพื่อสงเสริมสรางความมั่นคงดานอาหาร และพลังงาน โดยรักษาขอบเขตที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม และที่ดินประเภทที่โลง เพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม การบริการ คารบอนต่ํา ๑) การกําหนดนโยบายที่เอื้อตอการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตและบริโภคที่เปนมิตรตอ สิ่งแวดลอม โดยสนับสนุนการพัฒนาธุรกิจสรางสรรคตอสิ่งแวดลอมและปลอยคารบอนต่ํา และพัฒนาเครื่องชี้วัดและระบบขอมูลที่เหมาะสมในการวัดการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการ อุปโภคบริโภคและการผลิต ๒) การใชมาตรการจูงใจใหเกิดเศรษฐกิจคารบอนต่ํา โดยสงเสริมการจดทะเบียน การใช และ การคุมครองทรัพยสินทางปญญาของธุรกิจการบริการและการบริโภคคารบอนต่ํา การใช มาตรการจูงใจดานภาษีและสนับสนุนการผลิตพลังงานทดแทน การสรางมาตรการจูงใจโดย การใหรางวัลสําหรับผูคาคารบอนต่ําในตลาดสด ๓) การสงเสริมการประกอบกิจการที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยสรางจิตสํานึกเพื่อ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคไปสูรูปแบบที่ยั่งยืน สงเสริมใหภาคเอกชนเพิ่มศักยภาพการ ผลิตและใชทรัพยากรอยางคุมคา ตารางที่ ๕ กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาวัฒนธรรมคารบอนต่ํา กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาวัฒนธรรมคารบอนต่ํา ภูมิปญญาทองถิ่น ๑) การพัฒนาองคความรูชุมชนในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอม โดยพัฒนาบุคลากรที่เปนผูแทน ของหนวยราชการ ผูนําชุมชน กลุมชมรม สถาบันการศึกษาใหมีความรูในการบริหารจัดการ ดานสิ่งแวดลอม ๒) การใชหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาเมืองและชุมชน โดยการนอมนําหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปญญาทองถิ่น และวิทยาการสมัยใหมที่เหมาะสมมาใชในการ ดํารงชีวิต วิถีชีวิตการบริโภค คารบอนต่ํา ๑) การบรรจุเรื่องเมืองคารบอนต่ําในแผนแมบทและแผนปฏิบัติการระดับตาง ๆ โดยกําหนด แผนการลดการเกิดมลพิษ และจัดทําแผนการฟนฟูคุณภาพสิ่งแวดลอมในพื้นที่ที่มีความสําคัญ ของชุมชน ๒) การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการจัดการพื้นที่สีเขียว โดยกระจายอํานาจสูทองถิ่น ในการจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม จัดกิจกรรมการจัดการความรูและเผยแพรความรู ขาวสาร อยางตอเนื่องโดยการใชสื่อทั้งทางวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ และวารสารตาง ๆ ๓) การสรางจิตสํานึกในการจัดการสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยสรางคานิยมและความตื่นตัวใน การอยูอาศัยที่ปลอยคารบอนต่ํา และปลูกฝงความรับผิดชอบดานสิ่งแวดลอมแกเยาวชนใน โรงเรียน ๑๒
  • 17. ๓.๒.๒ กลไกและเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนใหมุงสูสังคมคารบอนต่ํา แมวากลไกขับเคลื่อนการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ําในภาคสวน ตาง ๆ เปนแนวทางของการมุงไปสูสังคมคารบอนต่ําอยางเปนองครวม อยางไรก็ตาม การดําเนินงานเพื่อมุงสู สังคมคารบอนต่ํายังตองอาศัยการผลักดันที่สําคัญ ความคิดเห็นที่ไดรับจากเวทีการระดมความคิดเห็นและการ ประชุมเชิงปฏิบัติการรวมกับภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ประชาชน เอกชน องคกร และผูทรงคุณวุฒิ รวมกับประสบการณที่ไดรับจากการปฏิบัติจัดทําแผนและผังการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคม คารบอนต่ําของโครงการศึกษานี้ บงชี้ถึง การผลักดันสําคัญซึ่งจะสงผลใหกลไกขับเคลื่อนฯ เกิดการปฏิบัติ ไดแก (๑) การผลักดันจากนโยบายแหงชาติ (๒) การผลักดันจากพลังทางสังคม และ (๓) การผลักดันจาก พันธกิจระหวางประเทศ โดยเปนการหยิบยกหรือนําเอากิจกรรมการดําเนินงานที่มีความสําคัญขึ้นมา ดําเนินการเพื่อกระตุนใหกลไกการดําเนินงานในสวนที่เหลือทั้งหมดขับเคลื่อนตอไปไดอยางเปนรูปธรรม ดังนี้ ๔) การใชมาตรการจูงใจเพื่อใหสังคมประชาชนลดการปลดปลอยคารบอนต่ําในชีวิตประจําวัน โดยใชมาตรการลดแรงจูงใจสําหรับผูที่ทํากิจกรรมที่ไมเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปสูการทํากิจกรรมที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม การบริหารจัดการ และการมีสวนรวม ๑) การเพิ่มศักยภาพของหนวยงานในการพัฒนาเมือง โดยการกระจายอํานาจการบริหาร จัดการลงสูทองถิ่น และจัดทําเครื่องมือวัดผลการดําเนินงานหรือประเมินผลการดําเนินงาน ขององคกร ๒) การพัฒนาความรวมมือในการลดการปลอยมลพิษ โดยเสริมสรางพลังความรวมมือระหวาง ภาคภาคีตาง ๆ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และสงเสริม กิจกรรมชุมชนในการจัดการขยะและมลพิษของชุมชน ๓) การสรางองคความรู จิตสํานึกในการมีสวนรวม และการแลกเปลี่ยนเรียนรูการจัดการพื้นที่ สีเขียว โดยเพิ่มบทบาทของภาครัฐเพื่อสนับสนุนชุมชนและภาคภาคี ใหมีสวนรวมในการ พัฒนาชุมชน ดูแลรักษา ติดตาม และตรวจสอบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม การศึกษา วิจัย และ นวัตกรรม ๑) การสนับสนุนการวิจัยในการพัฒนาดานสิ่งแวดลอมเมืองและพื้นที่สีเขียวและถายทอด เทคโนโลยี โดยกําหนดยุทธศาสตรการสนับสนุนการผลิตงานวิจัย สงเสริมและผลักดันงานวิจัย ชุมชนโดยชุมชน จัดตั้งหนวยวิจัยดานการจัดการสิ่งแวดลอมเพื่อการดําเนินการวิจัย และนํา งานวิจัยและเทคโนโลยีดานสิ่งแวดลอมที่ดําเนินการแลวเสร็จไปใชประโยชน ๒) การสรางองคความรูและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมกับสังคมคารบอนต่ํา ในแตละพื้นที่ โดยผลิตกําลังคนในสาขาที่ขาดแคลน เสริมสรางสังคมนวัตกรรม และสนับสนุน ใหสถาบันการศึกษาเปนหนวยงานหลักในการเปนที่พึ่งของเมืองและชุมชนดานสิ่งแวดลอม ๑๓
  • 18. ภาพที่ ๖ ปจจัยผลักดันใหเกิดการดําเนินงานการพัฒนาเมืองและชุมชนเพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา เมือง คารบอนต่ํา อุตสาหกรรม คารบอนต่ํา การเกษตร คารบอนต่ํา ภูมิปญญา ทองถิ่น วิถีชีวิต การบริโภค คารบอนต่ํา การมีสวนรวม (ประชารัฐ) การศึกษา วิจัยนวัตกรรม คมนาคม ขนสงคารบอน ต่ํา โครงสราง พื้นฐาน คารบอนต่ํา อาคาร คารบอนต่ํา การบริการ คารบอนต่ํา สังคมคารบอนต่ํา เจตจํานงทางการเมือง นโยบายในการพัฒนาประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนปฏิบัติการ๒๑พิธีสารเกียวโต ถอยแถลงของประเทศตอเวทีนานาชาติ รางวัลอาเซียนดานสิ่งแวดลอมเมืองที่ยั่งยืน ทัศนคติและคานิยมของประชาชน แรงกดดันทางสังคมขาวสาร การถอดบทเรียนจากชุมชนสูชุมชน การผลักดันจากนโยบายแหงชาติ การผลักดันจากพันธะกิจระหวางประเทศ การผลักดันจากพลังทางสังคม กลไกผลักดันใหเกิดการดําเนินงาน การพัฒนาเมืองและชุมชน เพื่อมุงสูสังคมคารบอนต่ํา ๑๔