SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ขอบเขตของการวิจัย
พื้นที่การศึกษานี้คือพื้นที่ในลุมน้ํากวานพะเยาครอบคลุมพื้นที่อําเภอเมืองอําเภอแมใจ อําเภอภู
กามยาว และอําเภอดอกคําใต ดังแสดงในภาพ 21 พื้นที่ดังกลาวมีพื้นที่ประมาณ 475,450 ไร คิดเปน
76,072 เฮกตาร มีประชากรอาศัยอยูทั้งสิ้น 255,623 คน คิดเปน 91,871 ครัวเรือน ประชากรสวน
ใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมอาชีพหลัก คือ การปลูกขาวและปลูก ขาวโพด ลิ้นจี่ และลําไย แตใน
งานวิจัยนี้จะทําการศึกษาเฉพาะในสวนของการปลูกขาว
โดยพื้นที่จะมีลักษณะเปนที่ราบอยูตอนกลางและลอมรอบไปดวยภูเขา ดินมีสภาพความอุดม
สมบูรณปานกลาง จะเห็นไดวาพื้นที่ที่เหมาะสําหรับการปลูกขาวคือพื้นที่ในสวนของอําเภอเมือง และ
อําเภอดอกคําใตเปนสวนใหญ ปริมาณฝนเฉลี่ยตอปประมาณ 1,100 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ
25.5 องศาเซลเซียสโดยระยะเวลาการเก็บขอมูลคือ 1 ป คือในป 2553โดยมีขอบเขตพื้นที่ศึกษาและ
แผนที่แสดงการใชที่ดินในพื้นที่ศึกษา
รูปที่ 1 ขอบเขตของงานวิจัย
นาขาวในพื้นที่ศึกษาดังแสดงในรูปที่ 2 สวนใหญกวารอยละ 90 จะเปนนาปเกษตรกรสวนใหญ
จะทําการผลิตขาวเจาหอมมะลิเพื่อการจําหนายและขาวเหนียวจะผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปน
สวนใหญและจําหนายหากเหลือจากการบริโภค ขาวหอมมะลิของจังหวัดพะเยาจัดวาเปนขาวหอมมะลิ
ที่มีคุณภาพดีพันธุขาวหอมมะลิที่นิยมปลูกไดแกพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15และขาวเหนียว
พันธุ กข 6
รูปที่ 2 พื้นที่การศึกษาของงานวิจัย
ลักษณะการใชที่ดินตลอดทั้งปในพื้นที่การศึกษา ชวงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน เปนชวง
พักนา ชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายน เปนชวงการปลูกขาวนาป และชวงเดือนธันวาคมเปน
ชวงพักนา
กระบวนการที่เกี่ยวของและชนิดของสารเขาและออกจากแตละระบบ
กระบวนการตางๆ ที่เกี่ยวของ ในพื้นที่การศึกษาของงานวิจัยนี้ จะประกอบไปดวยกระบวนการ
และกิจกรรมตางๆที่เกี่ยวของกับระบบการปลูกขาว ดิน การแปรรูปผลผลิตขาว ไดแกการสีขาว รวมถึง
กระบวนการที่นําวัสดุเหลือทิ้งจากขาวไปใช เชน การผลิตปุยหมักและการผลิตอาหารสัตว การเลี้ยง
สัตว โดยกระบวนการตางๆ นี้ มีรายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 2 ขอบเขตการไหลของสารในระบบผลิต
ขาวลุมน้ํากวานพะเยาและในตารางที่ 1
รูปที่ 3 ขอบเขตการไหลของสารในระบบผลิตขาวลุมน้ํากวานพะเยา
ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ
กระบวนก
าร
ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก
การปลูก
ขาว
และดินใน
พื้นที่นา
ขาว
เกษตรกรสวนใหญจะทําการผลิตขาวเจาหอมมะลิเพื่อการจําหนายและขาวเหนียว
จะผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปนสวนใหญและจําหนายหากเหลือจากการบริโภค
ขาวหอมมะลิของจังหวัดพะเยาจัดวาเปนขาวหอมมะลิที่มีคุณภาพดี พันธุขาวหอมมะลิที่
นิยมปลูก ไดแก พันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15และขาวเหนียวพันธุ กข 6 โดย
การทํานาปลูกขาวสวนใหญเปนนาป จะมีบางพื้นที่ที่ทํานาปรังไดเนื่องจากอยูใกลแหลง
น้ํา
กระบวนการปลูกขาวมีสารที่เขาสูระบบประกอบไปดวย เมล็ดพันธุขาวและปุย สาร
ที่ออกจากระบบไดแก ผลผลิตขาวเปลือก (ซึ่งจะถูกสงตอไปยังโรงสีในพื้นที่) ฟางขาว
คารบอนไดออกไซดที่เกิดจากการเผาตอซังขาว ซึ่งคิดเปนสวนนอยจากพื้นที่ทั้งหมด
สวนใหญในพื้นที่จะใชวิธีไถกลบในพื้นที่นาขาว เนื่องจากมีการรณรงคลดการเผาตอซัง
อยางตอเนื่อง สารที่ออกจากระบบอีกสวนหนึ่งคือการปลอยกาซมีเทนจากนาขาว จาก
การยอยสลายแบบไรอากาศของตอซังหรือเศษหญาที่ถูกไถกลบในนาขาว
ดินในพื้นที่ศึกษาเปนดินที่มีชุดดินหลากหลายในแตละพื้นที่อยางไรก็ตาม มี3 ชุด
ดินที่ครองพื้นที่สวนใหญในพื้นที่นาขาวในพื้นที่ศึกษาซึ่งไดแก ชุดดินพาน ชุดดินหางดง
และชุดดินเชียงราย โดยจากการสํารวจขอมูลในพื้นที่ทั้งหมดพบวาคาคารบอนอินทรีย
เฉลี่ยคอนขางต่ําคือเพียงแครอยละ 0.97
การจัดการ
ฟางขาว
ฟางขาว คือสวนที่เกี่ยวออกมาพรอมกับผลผลิตขาวในพื้นที่ศึกษามีการเกี่ยว
ออกมาทั้งสองแบบคือใชแรงงานคนและใชรถเกี่ยวขาว ซึ่งโดยสวนมากจะใชรถเกี่ยวขาว
การเกี่ยวดวยแรงงานคนฟางจะถูกนําไปมัดรวมกันไวเปนกองเพื่อนําไปใชประโยชน
ตอไป แตการเกี่ยวดวยรถเกี่ยวขาว ฟางขาวจะถูกพนออกมาที่ทายเครื่องและกระจาย
อยูทั่วนา และสวนมากจะถูกไถกลบลงดิน ฟางในพื้นที่นี้จะไมถูกเผาแตจะถูกนําไปใช
ประโยชนในหลายดาน ไดแก เปนวัสดุคลุมดินเพื่อปลูกพืชอื่น เชน หอม กระเทียม, การ
นําไปเปนอาหารสัตว ทําปุยอินทรีย และบางสวนที่ไมไดใชประโยชนก็จะปลอยทิ้งไวใน
นาขาวหรือไถกลบในนาขาว
ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ (ตอ)
กระบวนการ ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก
การสีขาว จากการสํารวจโรงสีขาวในพื้นที่ศึกษาพบวา ในการสีขาวเปลือกจะ
ไดขาวสาร ปลายขาว รําขาว และแกลบ สวนมากขาวสารและปลายขาวจะ
นําไปขาย สวนรําขาวก็จะขายเปนอาหารของสัตวในราคา 8-10 บาท สวน
แกลบที่มีสัดสวนเหลือทิ้งจากกระบวนการสีขาวจํานวน 21 % ซึ่งในปจจุบัน
การใชประโยชนการแกลบมีจํานวนมากและยังมีราคา 0.80-1.20 บาท/
กิโลกรัม แตยังมีโรงสีขาวที่มีขนาดเล็กจะไมนําไปขายแตจะแจกใหชาวบาน
บริเวณชุมชนนําไปใชประโยชนทั้งหมด จากการสํารวจแกลบจากโรงสีขาว
จะนําไปใชประโยชนหลักๆ คือ
โรงสีขาวที่มีขนาดใหญ
- ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงสีขาวเอง โดยนําไปเผาเปนเชื้อเพลิงในหมอไอน้ํา
ของโรงสีมีจํานวน 15 แหง
- โรงสีขาวแมใจธนะโชติ นําไปขายเปนเชื้อเพลิงใหกับโรงงานปูนซีเมนต ใน
จังหวัดลําปาง
- โรงสีสหกรณตางๆ นําไปขายใหกับโรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัด
เชียงรายและโรงอบลําไยในจังหวัด
โรงสีขนาดกลาง
- ขายใหกับโรงงานอิฐในจังหวัด
- ขายใหกับโรงเผาถานในจังหวัด
โรงสีขนาดเล็ก
- นําไปปรับสภาพดิน
- ผสมอาหารสัตว
ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ (ตอ)
กระบวน
การ
ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก
การเลี้ยง
สัตว
การเลี้ยงสัตวในจังหวัดพะเยา สวนใหญเปนการเลี้ยงเพื่อการบริโภคในครัวเรือน
และเพื่อใชแรงงานการทําฟารมขนาดใหญเพื่อการคามีไมมากนัก สวนใหญจะเปนกิจการ
ขนาดเล็ก และเปนการเลี้ยงแบบรายยอยกระจายอยูในทุกพื้นที่ทั่วไป สัตวที่นิยมเลี้ยงกัน
มาก ไดแก โคเนื้อ กระบือ สุกร ไกพื้นเมือง ไกเนื้อ ไกไข เปดเนื้อ เปดไข และเปดเทศ
อาหารสัตวคือสารขาเขาหลักที่เขามาในระบบ โดยสวนมากจะมาจากชีวมวล
เหลือทิ้งจากหวงโซการผลิตขาว ไดแก ฟางขาวเปนอาหารหยาบสําหรับโคและกระบือ
รําและปลายขาว เปนอาหารสําหรับสุกร ขาวเปลือกและแกลบเปนอาหารสําหรับเปด
และไก นอกจากนั้น แกลบยังใชเปนวัสดุรองพื้นคอกของสัตวตางๆในพื้นที่อีกดวย
การผลิต
อิฐดินเผา
ในพื้นที่ศึกษามีโรงอิฐขนาดใหญอยู3โรงที่บานแมใสตําบลแมนาเรือ 2 โรง และที่
บานจําปาหวาย ตําบลจําปาหวาย อําเภอเมือง โดยมีกําลังการผลิตประมาณ11กอนตอป
ใชวัตถุดิบที่เปนดินดําและมีสารขาเขาคือแกลบที่ไดจากโรงสีขาวขนาดกลาง
การผลิต
ปุยหมัก
(โดยใช
ฟางขาว
เปน
วัตถุดิบ)
ในพื้นที่ศึกษามีโรงผลิตปุยอินทรียขนาดใหญอยู1โรงที่อําเภอดอกคําใต โดยมี
กําลังการผลิตประมาณ 500 ตันตอป ใชวัตถุดิบที่เปนสารขาเขาคือฟางขาวและมูลโค
กระบือบริเวณใกลเคียง ผลผลิตที่ไดสวนมากจะถูกใชภายในพื้นที่ใกลเคียง ในสวนของ
การผลิตปุยคอกและปุยหมักใชเองในพื้นที่นาของตัวเองมีคอนขางนอยมาก
*ขอบเขตเชิงพื้นที่ คือ พื้นที่ 4 อําเภอที่อยูในจังหวัดพะเยา ไดแก อําเภอเมือง อําเภอดอกคําใต
อําเภอภูกามยาว และอําเภอแมใจ(ซึ่งเปนอําเภอที่อยูในเขตพื้นที่ลุมน้ํากวานพะเยา) แสดงตามรูปที่ 1

More Related Content

What's hot

มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผันbigiga
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6TataNitchakan
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์Jirathorn Buenglee
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์Thaksin Sopapiya
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนPrachyanun Nilsook
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15Utai Sukviwatsirikul
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 

What's hot (20)

มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้งเฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
เฉลยพื้นที่ใต้โค้ง
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
การแปรผัน
การแปรผันการแปรผัน
การแปรผัน
 
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6ชีววิทยา ม.6
ชีววิทยา ม.6
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
2 ข้อสอบการตั้งและแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์
 
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของระบบนิวเมติกส์
 
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียนการตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
การตั้งชื่อหัวข้อวิจัยชั้นเรียน
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
Key pat2 bio_61
Key pat2 bio_61Key pat2 bio_61
Key pat2 bio_61
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
คู่มือร้านยาคุณภาพทำได้ง่ายนิดเดียว 20 july15
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 

More from Mate Soul-All

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจMate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนMate Soul-All
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานMate Soul-All
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมMate Soul-All
 
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยวิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนMate Soul-All
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารMate Soul-All
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาMate Soul-All
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวMate Soul-All
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการMate Soul-All
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยMate Soul-All
 

More from Mate Soul-All (19)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรม
 
วิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัยวิธีดำเนินการวิจัย
วิธีดำเนินการวิจัย
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทย
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดิน
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 

ขอบเขตของการวิจัย

  • 1. ขอบเขตของการวิจัย พื้นที่การศึกษานี้คือพื้นที่ในลุมน้ํากวานพะเยาครอบคลุมพื้นที่อําเภอเมืองอําเภอแมใจ อําเภอภู กามยาว และอําเภอดอกคําใต ดังแสดงในภาพ 21 พื้นที่ดังกลาวมีพื้นที่ประมาณ 475,450 ไร คิดเปน 76,072 เฮกตาร มีประชากรอาศัยอยูทั้งสิ้น 255,623 คน คิดเปน 91,871 ครัวเรือน ประชากรสวน ใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรมอาชีพหลัก คือ การปลูกขาวและปลูก ขาวโพด ลิ้นจี่ และลําไย แตใน งานวิจัยนี้จะทําการศึกษาเฉพาะในสวนของการปลูกขาว โดยพื้นที่จะมีลักษณะเปนที่ราบอยูตอนกลางและลอมรอบไปดวยภูเขา ดินมีสภาพความอุดม สมบูรณปานกลาง จะเห็นไดวาพื้นที่ที่เหมาะสําหรับการปลูกขาวคือพื้นที่ในสวนของอําเภอเมือง และ อําเภอดอกคําใตเปนสวนใหญ ปริมาณฝนเฉลี่ยตอปประมาณ 1,100 มิลลิเมตร อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25.5 องศาเซลเซียสโดยระยะเวลาการเก็บขอมูลคือ 1 ป คือในป 2553โดยมีขอบเขตพื้นที่ศึกษาและ แผนที่แสดงการใชที่ดินในพื้นที่ศึกษา รูปที่ 1 ขอบเขตของงานวิจัย
  • 2. นาขาวในพื้นที่ศึกษาดังแสดงในรูปที่ 2 สวนใหญกวารอยละ 90 จะเปนนาปเกษตรกรสวนใหญ จะทําการผลิตขาวเจาหอมมะลิเพื่อการจําหนายและขาวเหนียวจะผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปน สวนใหญและจําหนายหากเหลือจากการบริโภค ขาวหอมมะลิของจังหวัดพะเยาจัดวาเปนขาวหอมมะลิ ที่มีคุณภาพดีพันธุขาวหอมมะลิที่นิยมปลูกไดแกพันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15และขาวเหนียว พันธุ กข 6 รูปที่ 2 พื้นที่การศึกษาของงานวิจัย ลักษณะการใชที่ดินตลอดทั้งปในพื้นที่การศึกษา ชวงเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน เปนชวง พักนา ชวงเดือนกรกฎาคมถึงเดือนพฤศจิกายน เปนชวงการปลูกขาวนาป และชวงเดือนธันวาคมเปน ชวงพักนา กระบวนการที่เกี่ยวของและชนิดของสารเขาและออกจากแตละระบบ กระบวนการตางๆ ที่เกี่ยวของ ในพื้นที่การศึกษาของงานวิจัยนี้ จะประกอบไปดวยกระบวนการ และกิจกรรมตางๆที่เกี่ยวของกับระบบการปลูกขาว ดิน การแปรรูปผลผลิตขาว ไดแกการสีขาว รวมถึง กระบวนการที่นําวัสดุเหลือทิ้งจากขาวไปใช เชน การผลิตปุยหมักและการผลิตอาหารสัตว การเลี้ยง สัตว โดยกระบวนการตางๆ นี้ มีรายละเอียดดังแสดงในรูปที่ 2 ขอบเขตการไหลของสารในระบบผลิต ขาวลุมน้ํากวานพะเยาและในตารางที่ 1
  • 4. ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ กระบวนก าร ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก การปลูก ขาว และดินใน พื้นที่นา ขาว เกษตรกรสวนใหญจะทําการผลิตขาวเจาหอมมะลิเพื่อการจําหนายและขาวเหนียว จะผลิตเพื่อการบริโภคในครัวเรือนเปนสวนใหญและจําหนายหากเหลือจากการบริโภค ขาวหอมมะลิของจังหวัดพะเยาจัดวาเปนขาวหอมมะลิที่มีคุณภาพดี พันธุขาวหอมมะลิที่ นิยมปลูก ไดแก พันธุขาวขาวดอกมะลิ 105 และ กข 15และขาวเหนียวพันธุ กข 6 โดย การทํานาปลูกขาวสวนใหญเปนนาป จะมีบางพื้นที่ที่ทํานาปรังไดเนื่องจากอยูใกลแหลง น้ํา กระบวนการปลูกขาวมีสารที่เขาสูระบบประกอบไปดวย เมล็ดพันธุขาวและปุย สาร ที่ออกจากระบบไดแก ผลผลิตขาวเปลือก (ซึ่งจะถูกสงตอไปยังโรงสีในพื้นที่) ฟางขาว คารบอนไดออกไซดที่เกิดจากการเผาตอซังขาว ซึ่งคิดเปนสวนนอยจากพื้นที่ทั้งหมด สวนใหญในพื้นที่จะใชวิธีไถกลบในพื้นที่นาขาว เนื่องจากมีการรณรงคลดการเผาตอซัง อยางตอเนื่อง สารที่ออกจากระบบอีกสวนหนึ่งคือการปลอยกาซมีเทนจากนาขาว จาก การยอยสลายแบบไรอากาศของตอซังหรือเศษหญาที่ถูกไถกลบในนาขาว ดินในพื้นที่ศึกษาเปนดินที่มีชุดดินหลากหลายในแตละพื้นที่อยางไรก็ตาม มี3 ชุด ดินที่ครองพื้นที่สวนใหญในพื้นที่นาขาวในพื้นที่ศึกษาซึ่งไดแก ชุดดินพาน ชุดดินหางดง และชุดดินเชียงราย โดยจากการสํารวจขอมูลในพื้นที่ทั้งหมดพบวาคาคารบอนอินทรีย เฉลี่ยคอนขางต่ําคือเพียงแครอยละ 0.97 การจัดการ ฟางขาว ฟางขาว คือสวนที่เกี่ยวออกมาพรอมกับผลผลิตขาวในพื้นที่ศึกษามีการเกี่ยว ออกมาทั้งสองแบบคือใชแรงงานคนและใชรถเกี่ยวขาว ซึ่งโดยสวนมากจะใชรถเกี่ยวขาว การเกี่ยวดวยแรงงานคนฟางจะถูกนําไปมัดรวมกันไวเปนกองเพื่อนําไปใชประโยชน ตอไป แตการเกี่ยวดวยรถเกี่ยวขาว ฟางขาวจะถูกพนออกมาที่ทายเครื่องและกระจาย อยูทั่วนา และสวนมากจะถูกไถกลบลงดิน ฟางในพื้นที่นี้จะไมถูกเผาแตจะถูกนําไปใช ประโยชนในหลายดาน ไดแก เปนวัสดุคลุมดินเพื่อปลูกพืชอื่น เชน หอม กระเทียม, การ นําไปเปนอาหารสัตว ทําปุยอินทรีย และบางสวนที่ไมไดใชประโยชนก็จะปลอยทิ้งไวใน นาขาวหรือไถกลบในนาขาว
  • 5. ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ (ตอ) กระบวนการ ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก การสีขาว จากการสํารวจโรงสีขาวในพื้นที่ศึกษาพบวา ในการสีขาวเปลือกจะ ไดขาวสาร ปลายขาว รําขาว และแกลบ สวนมากขาวสารและปลายขาวจะ นําไปขาย สวนรําขาวก็จะขายเปนอาหารของสัตวในราคา 8-10 บาท สวน แกลบที่มีสัดสวนเหลือทิ้งจากกระบวนการสีขาวจํานวน 21 % ซึ่งในปจจุบัน การใชประโยชนการแกลบมีจํานวนมากและยังมีราคา 0.80-1.20 บาท/ กิโลกรัม แตยังมีโรงสีขาวที่มีขนาดเล็กจะไมนําไปขายแตจะแจกใหชาวบาน บริเวณชุมชนนําไปใชประโยชนทั้งหมด จากการสํารวจแกลบจากโรงสีขาว จะนําไปใชประโยชนหลักๆ คือ โรงสีขาวที่มีขนาดใหญ - ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงสีขาวเอง โดยนําไปเผาเปนเชื้อเพลิงในหมอไอน้ํา ของโรงสีมีจํานวน 15 แหง - โรงสีขาวแมใจธนะโชติ นําไปขายเปนเชื้อเพลิงใหกับโรงงานปูนซีเมนต ใน จังหวัดลําปาง - โรงสีสหกรณตางๆ นําไปขายใหกับโรงงานอุตสาหกรรม ในจังหวัด เชียงรายและโรงอบลําไยในจังหวัด โรงสีขนาดกลาง - ขายใหกับโรงงานอิฐในจังหวัด - ขายใหกับโรงเผาถานในจังหวัด โรงสีขนาดเล็ก - นําไปปรับสภาพดิน - ผสมอาหารสัตว
  • 6. ตารางที่ 1 แสดงกระบวนการของระบบและสารเขาและสารออกที่เกี่ยวของ (ตอ) กระบวน การ ลักษณะของกิจกรรม สารเขาและสารออก การเลี้ยง สัตว การเลี้ยงสัตวในจังหวัดพะเยา สวนใหญเปนการเลี้ยงเพื่อการบริโภคในครัวเรือน และเพื่อใชแรงงานการทําฟารมขนาดใหญเพื่อการคามีไมมากนัก สวนใหญจะเปนกิจการ ขนาดเล็ก และเปนการเลี้ยงแบบรายยอยกระจายอยูในทุกพื้นที่ทั่วไป สัตวที่นิยมเลี้ยงกัน มาก ไดแก โคเนื้อ กระบือ สุกร ไกพื้นเมือง ไกเนื้อ ไกไข เปดเนื้อ เปดไข และเปดเทศ อาหารสัตวคือสารขาเขาหลักที่เขามาในระบบ โดยสวนมากจะมาจากชีวมวล เหลือทิ้งจากหวงโซการผลิตขาว ไดแก ฟางขาวเปนอาหารหยาบสําหรับโคและกระบือ รําและปลายขาว เปนอาหารสําหรับสุกร ขาวเปลือกและแกลบเปนอาหารสําหรับเปด และไก นอกจากนั้น แกลบยังใชเปนวัสดุรองพื้นคอกของสัตวตางๆในพื้นที่อีกดวย การผลิต อิฐดินเผา ในพื้นที่ศึกษามีโรงอิฐขนาดใหญอยู3โรงที่บานแมใสตําบลแมนาเรือ 2 โรง และที่ บานจําปาหวาย ตําบลจําปาหวาย อําเภอเมือง โดยมีกําลังการผลิตประมาณ11กอนตอป ใชวัตถุดิบที่เปนดินดําและมีสารขาเขาคือแกลบที่ไดจากโรงสีขาวขนาดกลาง การผลิต ปุยหมัก (โดยใช ฟางขาว เปน วัตถุดิบ) ในพื้นที่ศึกษามีโรงผลิตปุยอินทรียขนาดใหญอยู1โรงที่อําเภอดอกคําใต โดยมี กําลังการผลิตประมาณ 500 ตันตอป ใชวัตถุดิบที่เปนสารขาเขาคือฟางขาวและมูลโค กระบือบริเวณใกลเคียง ผลผลิตที่ไดสวนมากจะถูกใชภายในพื้นที่ใกลเคียง ในสวนของ การผลิตปุยคอกและปุยหมักใชเองในพื้นที่นาของตัวเองมีคอนขางนอยมาก *ขอบเขตเชิงพื้นที่ คือ พื้นที่ 4 อําเภอที่อยูในจังหวัดพะเยา ไดแก อําเภอเมือง อําเภอดอกคําใต อําเภอภูกามยาว และอําเภอแมใจ(ซึ่งเปนอําเภอที่อยูในเขตพื้นที่ลุมน้ํากวานพะเยา) แสดงตามรูปที่ 1