SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
วิธีดําเนินการวิจัย

       งานวิจยนีใชหลักการวิเคราะหการไหลของสาร (Material Flow Analysis : MFA) เปนหลักการ
              ั ้
สมดุลมวลสารซึ่งประกอบไปดวยขั้นตอนหลาย ๆ ขั้นตอน โดยมีขนตอนดังแสดงตามรูปที่ 1
                                                        ั้




                 รูปที่ 1 ขั้นตอนการดําเนินงานโดยใชหลักการวิเคราะหการไหลของสาร

ที่มา: ดัดแปลงจาก Brunner and Rechberger
           การวิเคราะหการไหลของสาร สามารถใชอธิบายถึงเสนทางผานเขา-ออกของสาร จากจุดที่
สารนั้นเริ่มตน ผานขั้นตอนทั้งหมดของกระบวนการผลิต นําไปใชเปนสวนผสม หรือสวนประกอบใน
ผลิตภัณฑ สินคาและบริการตาง ๆ เพื่ออุปโภคบริโภค จนถึงขั้นตอนการกําจัด รวมถึง การปลอยสาร
นั้นออกสูสิ่งแวดลอม ในรูปของมลพิษทางอากาศ ทางน้ํา และขยะ ของเสีย หลักในการวิเคราะห จะ
ใชหลักการทํา สมดุลมวลสาร (Mass balance) ซึ่งเปนหลักการพื้นฐาน ของกฎการอนุรักษมวลวา มวล
สารไมสูญหาย หรือถูกทําลายไป ถาพิจารณาระบบที่มีมวลสารไหลผานเขา-ออก สมการทั่วไปของ
สมดุลมวลสาร ในแตกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวมคือ

               สารที่สะสมในระบบ = สารที่เขาสูระบบ – สารที่ออกจากระบบ                     (1)

        การไหลของสารมีการคํานวณจากสมการดังตอไปนี้ (Brunner and Rechberger, 2004)
                                  X ij  M ij  Cij                                        (2)

       เมื่อ   X = การไหลของสสาร (ตัน/ป หรือ กิโลกรัม/ป)
               M = การไหลของมวลสินคา
               C = ความเขมขนของสารในสินคา
               i =1,…,k บอกชนิดสินคา
               j = 1,…,k บอกชนิดของสาร

        การไหลของสารออกจากกระบวนการที่มีความซับซอน และมีคาสัมประสิทธิ์ที่เกี่ยวของกับ
ลัก ษณะของกระบวนการมาเกี่ยวขอ ง สามารถคํา นวณได โดยสมการดัง ตอไปนี้ (Brunner and
Rechberger ,2004)
                                   X output  X input  TC                          (2)

          เมื่อ Xoutput = การไหลของสารที่ออกจากกระบวนการ
                Xinput = การไหลของสารทีเ่ ขาสูกระบวนการ
                TC = คาสัมประสิทธิ์การเคลื่อนที่

       ซึงงานวิจัยนี้ไดใชหลักการของ MFA มาใชในการดําเนินงานวิจัย ดังแสดงตามแผนผัง ในรูปที่ 2
         ่
กําหนดขอบเขตของระบบ
                                 -    ขอบเขตพื้นที่การศึกษา
                                                                                 ขอมูลทุติยภูมิ
                                 -    ระยะเวลาที่เก็บขอมูล
                                                                                 - สํานักงานเกษตรจังหวัดพะเยา
                                 -    กระบวนการที่เกี่ยวของ
                                                                                 - สํานักงานสถิติจังหวัดพะเยา
ขอมูลจากการสัมภาษณ             -    ชนิดของสาร(สินคา)เขาและออกจากแตละระบบ
                                                                                 - สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพะเยา
ภาคสนาม
                                                                                 - การใชที่ดิน GIS จากกรมพัฒนาที่ดิน
- ปริมาณผลผลิต
                                     หาปริมาณสาร(สินคา)เขาและออกแตละระบบ      - ปริมาณ OM และ OC ในดินจากกรมพัฒนาที่ดิน
- การใชประโยชนชีวมวล
- การจัดการเกษตรในปจจุบัน
                                                                                                             เก็บตัวอยางภาคสนาม
                                         วิเคราะหหาความเขมขนของ C และ P
                                                                                                             - น้ํา
                                                  ในสารเขาและออก                วิเคราะหตัวอยาง
                                                                                                             - กาซ
                                                                                 ในหองปฏิบัติการ
                                                                                                             - พืช
                                          การวิเคราะหการไหลของ C และ P                                      - ชีวมวลเหลือทิ้ง
                                      ดวยหลักการ MFA โดยใช Software STAN2                                  - ดิน
ขอมูลจากการทบทวน
วรรณกรรม
                                                                                 ประมาณจากการคํานวณ
- Thesis                                     แสดงขอมูลในแผนภาพ MFA
                                                                                 - IPCC
- Journal Article
- Research report                                                                - GHG Inventory
- Text Book                          วิเคราะหและประเมินผลขอมูลเพื่อหามาตรการ   - คา Transfer coefficient (TC)
                                               บริหารจัดการที่เหมาะสม



                             รูปที่ 2 แผนผังขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย

More Related Content

More from Mate Soul-All

รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนMate Soul-All
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานMate Soul-All
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยMate Soul-All
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนMate Soul-All
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารMate Soul-All
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาMate Soul-All
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวMate Soul-All
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการMate Soul-All
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยMate Soul-All
 

More from Mate Soul-All (16)

รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอนสมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
สมาการในการคำนวณการไหลของคาร์บอน
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรม
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทย
 
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตรก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดิน
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 

วิธีดำเนินการวิจัย

  • 1. วิธีดําเนินการวิจัย งานวิจยนีใชหลักการวิเคราะหการไหลของสาร (Material Flow Analysis : MFA) เปนหลักการ ั ้ สมดุลมวลสารซึ่งประกอบไปดวยขั้นตอนหลาย ๆ ขั้นตอน โดยมีขนตอนดังแสดงตามรูปที่ 1 ั้ รูปที่ 1 ขั้นตอนการดําเนินงานโดยใชหลักการวิเคราะหการไหลของสาร ที่มา: ดัดแปลงจาก Brunner and Rechberger การวิเคราะหการไหลของสาร สามารถใชอธิบายถึงเสนทางผานเขา-ออกของสาร จากจุดที่ สารนั้นเริ่มตน ผานขั้นตอนทั้งหมดของกระบวนการผลิต นําไปใชเปนสวนผสม หรือสวนประกอบใน ผลิตภัณฑ สินคาและบริการตาง ๆ เพื่ออุปโภคบริโภค จนถึงขั้นตอนการกําจัด รวมถึง การปลอยสาร
  • 2. นั้นออกสูสิ่งแวดลอม ในรูปของมลพิษทางอากาศ ทางน้ํา และขยะ ของเสีย หลักในการวิเคราะห จะ ใชหลักการทํา สมดุลมวลสาร (Mass balance) ซึ่งเปนหลักการพื้นฐาน ของกฎการอนุรักษมวลวา มวล สารไมสูญหาย หรือถูกทําลายไป ถาพิจารณาระบบที่มีมวลสารไหลผานเขา-ออก สมการทั่วไปของ สมดุลมวลสาร ในแตกระบวนการ (หนวย) ยอย และระบบรวมคือ สารที่สะสมในระบบ = สารที่เขาสูระบบ – สารที่ออกจากระบบ (1) การไหลของสารมีการคํานวณจากสมการดังตอไปนี้ (Brunner and Rechberger, 2004) X ij  M ij  Cij (2) เมื่อ X = การไหลของสสาร (ตัน/ป หรือ กิโลกรัม/ป) M = การไหลของมวลสินคา C = ความเขมขนของสารในสินคา i =1,…,k บอกชนิดสินคา j = 1,…,k บอกชนิดของสาร การไหลของสารออกจากกระบวนการที่มีความซับซอน และมีคาสัมประสิทธิ์ที่เกี่ยวของกับ ลัก ษณะของกระบวนการมาเกี่ยวขอ ง สามารถคํา นวณได โดยสมการดัง ตอไปนี้ (Brunner and Rechberger ,2004) X output  X input  TC (2) เมื่อ Xoutput = การไหลของสารที่ออกจากกระบวนการ Xinput = การไหลของสารทีเ่ ขาสูกระบวนการ TC = คาสัมประสิทธิ์การเคลื่อนที่ ซึงงานวิจัยนี้ไดใชหลักการของ MFA มาใชในการดําเนินงานวิจัย ดังแสดงตามแผนผัง ในรูปที่ 2 ่
  • 3. กําหนดขอบเขตของระบบ - ขอบเขตพื้นที่การศึกษา ขอมูลทุติยภูมิ - ระยะเวลาที่เก็บขอมูล - สํานักงานเกษตรจังหวัดพะเยา - กระบวนการที่เกี่ยวของ - สํานักงานสถิติจังหวัดพะเยา ขอมูลจากการสัมภาษณ - ชนิดของสาร(สินคา)เขาและออกจากแตละระบบ - สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดพะเยา ภาคสนาม - การใชที่ดิน GIS จากกรมพัฒนาที่ดิน - ปริมาณผลผลิต หาปริมาณสาร(สินคา)เขาและออกแตละระบบ - ปริมาณ OM และ OC ในดินจากกรมพัฒนาที่ดิน - การใชประโยชนชีวมวล - การจัดการเกษตรในปจจุบัน เก็บตัวอยางภาคสนาม วิเคราะหหาความเขมขนของ C และ P - น้ํา ในสารเขาและออก วิเคราะหตัวอยาง - กาซ ในหองปฏิบัติการ - พืช การวิเคราะหการไหลของ C และ P - ชีวมวลเหลือทิ้ง ดวยหลักการ MFA โดยใช Software STAN2 - ดิน ขอมูลจากการทบทวน วรรณกรรม ประมาณจากการคํานวณ - Thesis แสดงขอมูลในแผนภาพ MFA - IPCC - Journal Article - Research report - GHG Inventory - Text Book วิเคราะหและประเมินผลขอมูลเพื่อหามาตรการ - คา Transfer coefficient (TC) บริหารจัดการที่เหมาะสม รูปที่ 2 แผนผังขั้นตอนการดําเนินงานวิจัย