SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
กาซเรือนกระจกในภาคการเกษตร
การปลอยกาซเรือนกระจกของโลกจากภาคการเกษตรกรรม คิดเปน 13.80 เปอรเซ็นต จาก
การปลอยทั้งหมด(ดังแสดงในภาพ) ซึ่งในภาคการเกษตรกรรมจะมีการปลอยมากที่สุด คือการใชที่ดิน
และการจัดการดิน รองลงมาคือ การเลี้ยงปศุสัตว การตัดไมทําลายปา(เผา ถางเพื่อยึดครอง) การทํา
นาขาว(การจัดการมูลสัตว) และอื่นๆ ตามลําดับ(แสดงตามรูปที่ 1 และรูปที่ 2)
รูปที่ 1 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของโลก
ที่มา: Center for Climate and Energy Solutions, 2005
รูปที่ 2 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคการเกษตรของโลก
ที่มา: Environmental Knowledge for Change, 2005
โดยในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเทศไทยเองปลอยนอยเปนอันดับที่ 4 รองจากประเทศ
สิงคโปร ประเทศเวียดนาม และประเทศฟลิปปนสตามลําดับ (แสดงในรูปที่ 3)
รูปที่ 3 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต
ที่มา: Oxford GB Blogs, 2009
การปลอยกาซเรือนกระจกในประเทศไทย การปลอยที่มากที่สุดคือ การปลอยจากกลุม
พลังงาน รองลงมาคือ การปลอยจากการทําเกษตรกรรม การปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรม การ
ปลอยจากจากการใชที่ดิน การเปลี่ยนรูปแบบการใชที่ดิน รวมจากพื้นที่ที่เปนปาไม และการปลอยจาก
ของเสียตาง ๆ (แสดงในรูปที่ 4 และรูปที่ 5)
รูปที่ 4 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2543
ที่มา: รายงานแหงชาติฉบับที่ 2 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม,
2553
รูปที่ 5 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2553
ที่มา:Climate Connect, 2010
สถานการณการปลอยกาซเรือนกระจกในประเทศไทย จากการคํานวณปริมาณโดยใชการที่
กําหนดในคูมือการคํานวณกาซเรือนกระจกที่จัดทําโดย คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ประเทศไทยมีการปลอยกาซเรือนกระจกสุทธิ ในป พ.ศ.2546
เทากับ 344.2 ลานตัน (รัตนาวรรณ มั่งคั่งและคณะ, 2553) ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากภาคพลังงาน 56.1
เปอรเซ็นตภาคการเกษตร 24.1 เปอรเซ็นตและอื่น ๆ (แสดงในรูปที่ 6)
รูปที่ 6 สัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2546
ที่มา: รัตนาวรรณ มั่งคั่งและคณะ, 2553

More Related Content

Viewers also liked

Tariffe 4 webconsulting 2016
Tariffe 4 webconsulting 2016Tariffe 4 webconsulting 2016
Tariffe 4 webconsulting 2016ALAN RIZZELLO
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจMate Soul-All
 
IDEA 2009: Fiber Optics for High Def “Game Day” Sports Production
IDEA 2009: Fiber Optics for  High Def “Game Day” Sports ProductionIDEA 2009: Fiber Optics for  High Def “Game Day” Sports Production
IDEA 2009: Fiber Optics for High Def “Game Day” Sports Productionjimhurwitz
 
Roadshow milano SLIDE
Roadshow milano SLIDERoadshow milano SLIDE
Roadshow milano SLIDEALAN RIZZELLO
 
Presentazione sfondo linkedin
Presentazione sfondo linkedinPresentazione sfondo linkedin
Presentazione sfondo linkedinALAN RIZZELLO
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการMate Soul-All
 

Viewers also liked (9)

Yourprezi
YourpreziYourprezi
Yourprezi
 
Tariffe 4 webconsulting 2016
Tariffe 4 webconsulting 2016Tariffe 4 webconsulting 2016
Tariffe 4 webconsulting 2016
 
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทยการศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
การศึกษาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวในประเทศไทย
 
File di prova
File di provaFile di prova
File di prova
 
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจรางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
 
IDEA 2009: Fiber Optics for High Def “Game Day” Sports Production
IDEA 2009: Fiber Optics for  High Def “Game Day” Sports ProductionIDEA 2009: Fiber Optics for  High Def “Game Day” Sports Production
IDEA 2009: Fiber Optics for High Def “Game Day” Sports Production
 
Roadshow milano SLIDE
Roadshow milano SLIDERoadshow milano SLIDE
Roadshow milano SLIDE
 
Presentazione sfondo linkedin
Presentazione sfondo linkedinPresentazione sfondo linkedin
Presentazione sfondo linkedin
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการวัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
วัฏจักรการหมุนเวียนของฟอสฟอรัสและการจัดการ
 

More from Mate Soul-All

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.PptMate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558Mate Soul-All
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานMate Soul-All
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยMate Soul-All
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมMate Soul-All
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนMate Soul-All
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารMate Soul-All
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาMate Soul-All
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยMate Soul-All
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวMate Soul-All
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินMate Soul-All
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัยMate Soul-All
 

More from Mate Soul-All (14)

การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Pptการพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
การพัฒนาเมืองเก่าลำพูน.Ppt
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
รายละเอียดงาน ประกวดภาพถ่ายสลากย้อมเมืองลำพูน 2558
 
คู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งานคู่มือการใช้งาน
คู่มือการใช้งาน
 
ขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัยขอบเขตของการวิจัย
ขอบเขตของการวิจัย
 
หลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรมหลักการในการเขียนโปรแกรม
หลักการในการเขียนโปรแกรม
 
Abstract
AbstractAbstract
Abstract
 
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอนวัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
วัฏจักรการหมุนเวียนของคาร์บอน
 
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสารทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
ทฤษฎีการวิเคราะห์การไหลของสาร
 
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษาขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
 
การปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทยการปลูกข้าวในประเทศไทย
การปลูกข้าวในประเทศไทย
 
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าวก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
ก๊าซเรือนกระจกจากนาข้าว
 
การใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดินการใช้ที่ดิน
การใช้ที่ดิน
 
โครงการวิจัย
โครงการวิจัยโครงการวิจัย
โครงการวิจัย
 

ก๊าซเรือนกระจกในภาคการเกษตร

  • 1. กาซเรือนกระจกในภาคการเกษตร การปลอยกาซเรือนกระจกของโลกจากภาคการเกษตรกรรม คิดเปน 13.80 เปอรเซ็นต จาก การปลอยทั้งหมด(ดังแสดงในภาพ) ซึ่งในภาคการเกษตรกรรมจะมีการปลอยมากที่สุด คือการใชที่ดิน และการจัดการดิน รองลงมาคือ การเลี้ยงปศุสัตว การตัดไมทําลายปา(เผา ถางเพื่อยึดครอง) การทํา นาขาว(การจัดการมูลสัตว) และอื่นๆ ตามลําดับ(แสดงตามรูปที่ 1 และรูปที่ 2) รูปที่ 1 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของโลก ที่มา: Center for Climate and Energy Solutions, 2005 รูปที่ 2 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในภาคการเกษตรของโลก
  • 2. ที่มา: Environmental Knowledge for Change, 2005 โดยในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประเทศไทยเองปลอยนอยเปนอันดับที่ 4 รองจากประเทศ สิงคโปร ประเทศเวียดนาม และประเทศฟลิปปนสตามลําดับ (แสดงในรูปที่ 3) รูปที่ 3 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต ที่มา: Oxford GB Blogs, 2009 การปลอยกาซเรือนกระจกในประเทศไทย การปลอยที่มากที่สุดคือ การปลอยจากกลุม พลังงาน รองลงมาคือ การปลอยจากการทําเกษตรกรรม การปลอยจากโรงงานอุตสาหกรรม การ ปลอยจากจากการใชที่ดิน การเปลี่ยนรูปแบบการใชที่ดิน รวมจากพื้นที่ที่เปนปาไม และการปลอยจาก ของเสียตาง ๆ (แสดงในรูปที่ 4 และรูปที่ 5) รูปที่ 4 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2543 ที่มา: รายงานแหงชาติฉบับที่ 2 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2553
  • 3. รูปที่ 5 ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2553 ที่มา:Climate Connect, 2010 สถานการณการปลอยกาซเรือนกระจกในประเทศไทย จากการคํานวณปริมาณโดยใชการที่ กําหนดในคูมือการคํานวณกาซเรือนกระจกที่จัดทําโดย คณะกรรมการระหวางรัฐบาลวาดวยการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ประเทศไทยมีการปลอยกาซเรือนกระจกสุทธิ ในป พ.ศ.2546 เทากับ 344.2 ลานตัน (รัตนาวรรณ มั่งคั่งและคณะ, 2553) ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากภาคพลังงาน 56.1 เปอรเซ็นตภาคการเกษตร 24.1 เปอรเซ็นตและอื่น ๆ (แสดงในรูปที่ 6) รูปที่ 6 สัดสวนการปลอยกาซเรือนกระจกของประเทศไทยในป พ.ศ. 2546 ที่มา: รัตนาวรรณ มั่งคั่งและคณะ, 2553