SlideShare a Scribd company logo
ดาวเทียม นาเสนอ
 อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร
         สมาชิก
   1. กันต์ มหาเปารยะ
 2. นาเพชร นาเมืองรักษ์
ดาวเทียม คือ
• ดาวเทียม ( Satellite) คือ สิงประดิษฐ์ทมนุษย์คิดค้นขึน ที่
                                ่          ี่
  สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้
  สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์
  โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของ
  สิ่งประดิษฐ์นีเพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงาน
  สภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทาง
  ธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวง
  อาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และ
  ดวงดาว ดาราจักร ต่างๆ
ดาวเทียมสือสาร
                            ่
• ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ใช้ประโยชน์ในการสื่อสารภายใน
  และระหว่างประเทศ โดยดาวเทียมของประเทศใดประเทศหนึ่ง
  มักอยู่สูงในระดับประมาณ 36,000 กิโลเมตรเหนือประเทศนัน ๆ
  ดาวเทียมสื่อสารจึงเป็นดาวเทียมค้างฟ้า ที่อยู่คงทีบนฟ้าของ
                                                   ่
  ประเทศใดประเทศหนึ่งตลอดเวลา นับว่าสะดวกต่อการรับ
  สัญญาณจากดาวเทียมเป็นอย่างยิ่ง
• ปัจจุบันมีดาวเทียมสื่อสารระหว่างประเทศของบริษัทอินเทลแซท
  ซึ่งส่งดาวเทียมอิสเทลแซทขึนไปอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดียดวง
  หนึ่ง เหนือมหาสมุทรแปซิฟิคดวงหนึ่งและเหนือมหาสมุทรแอ
  ตแลนติคอีกดวงหนึ่ง ทาให้สามารถสื่อสารติดต่อระหว่างประเทศ
  ได้ทั่วโลกตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
ส่วนประกอบดาวเทียม

1. โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก โครงจะมีนาหนัก
ประมาณ 15 - 25% ของนาหนักรวม ดังนัน จึงจาเป็นต้องเลือกวัสดุ
ที่มีนาหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับ
สัญญาณที่มีความถี่ หรือความสูงของคลื่นมากๆ (amptitude)
   2. ระบบเครืองยนต์ ซึ่งเรียกว่า “aerospike” อาศัยหลักการทางาน
              ่
คล้ายกับเครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบ
ดังกล่าวจะทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้องพิจารณาถึงนาหนัก
บรรทุกของดาวเทียมด้วย
 3. ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไป
ยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar
Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ให้
ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
4. ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่
เก็บรวมรวมข้อมูล และประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจาก
ส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอปกรณ์รับส่งสัญญาณ (Radar
                          ุ
System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร
 5. ระบบสือสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่ง
            ่
จะทางาน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ
 6. อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้
สัมพันธ์กันระหว่างพืนโลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษา
ระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้
 7. เครืองมือบอกตาแหน่ง เพื่อกาหนดการเคลื่อนที่
        ่
นอกจากนียังมีส่วนย่อยๆ อีกบางส่วนที่จะทางานหลังจาก
ได้รับการกระตุ้นบางอย่าง เช่น ทางานเมื่อได้รบสัญญาณ
                                            ั
สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทางานเมื่อได้รับลาแสงรังสี
ฯลฯ
วงโคจรของดาวเทียม

• วงโคจรต่าของโลก
     คือระยะสูงจากพืนโลกไม่เกิน 2,000 กม. ใช้ในการ
  สังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม, ถ่ายภาพ ไม่สามารถ
  ใช้งานครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา
  เพราะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูง แต่จะสามารถ
  บันทึกภาพคลุมพืนที่ตามเส้นทางวงโคจรที่ผานไป ตามที่
                                           ่
  สถานีภาคพืนดินจะกาหนดเส้นทางโคจรอยู่ในแนวขัวโลก
  (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต่าขนาดใหญ่บาง
  ดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลาค่า หรือก่อน
  สว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผ่าน
  ในแนวนอนอย่างรวดเร็ว
• วงโคจรระยะปานกลาง
   อยู่ที่ระยะความสูงตังแต่ 10,000 กม. ขึนไป ส่วน
  ใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ
  ติดต่อสื่อสารเฉพาะพืนที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้
  ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงในการ
  ส่งผ่าน
• วงโคจรประจาที่
     เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจาก
  พืนโลก 35,786 กม. เส้นทางโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์
  สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลก
  ด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองทาให้ดู
  เหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา
  (เรียกทั่ว ๆ ไปว่า "ดาวเทียมค้างฟ้า")
ข้อดีของดาวเทียม
1. ส่งสัญญาณครอบคลุมไปยังทุกจุดของโลกได้
2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบ
ดาวเทียมไม่ขึนอยู่กับ
       ระยะทีห่างกันของสถานีพืนดิน
              ่
ข้อเสียของดาวเทียม
1. มีเวลาหน่วงในการส่งสัญญาณ
2. ดาวเทียมมีราคาแพง และระบบที่ซับซ้อน
3. อาจมีความผิดพลาด หรือล่าช้าในการส่งสัญญาณ
   เนื่องจากสภาพ อากาส ปริมาณก้อนเมฆบนท้องฟ้า
4. ทาให้เกิดสภาวะโลกร้อน
คาถาม
1. ถ้ามนุษย์ไม่มีดาวเทียมจะเป็นอย่างไร?
  ตอบ ถ้ามนุษย์ไม่มดาวเทียม มนุษย์จะไม่สามารถ
                    ี
   ติดต่อสื่อสารกันได้ อย่างสะดวก ไม่มีโทรศัพท์ ไม่มี
   อินเทอร์เน็ตไม่มีระบบ GPS หรือถ้าหากมีก็จะเชื่อมต่อช้า
2.
ตอบ
3.
4.
5.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406Thunchanok Charoenpinyoying
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
Pa'rig Prig
 
Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)
Fang Haruthai
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
Sukumal Ekayodhin
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
T
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
maitree khanrattaban
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Pinutchaya Nakchumroon
 
Satellitess
SatellitessSatellitess
Satellitess
Panapol Mungthin
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
supatthra1111
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
Muay Muay Somruthai
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (17)

ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
 
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5งานpowerpoind กลุ่ม5
งานpowerpoind กลุ่ม5
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
Satellitess
SatellitessSatellitess
Satellitess
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-4page
 

Similar to ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407Proud Meksumpun
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
Wichai Likitponrak
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
ชัญญานุช นิลประดับ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
seesai
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
tanakit pintong
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมNasri Sulaiman
 

Similar to ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ (20)

ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑

  • 1. ดาวเทียม นาเสนอ อ.ปิยวรรณ รัตนภานุศร สมาชิก 1. กันต์ มหาเปารยะ 2. นาเพชร นาเมืองรักษ์
  • 2. ดาวเทียม คือ • ดาวเทียม ( Satellite) คือ สิงประดิษฐ์ทมนุษย์คิดค้นขึน ที่ ่ ี่ สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้ สามารถโคจรรอบโลกได้ในลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์ โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ วัตถุประสงค์ของ สิ่งประดิษฐ์นีเพื่อใช้ ทางการทหาร การสื่อสาร การรายงาน สภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการสารวจทาง ธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวง อาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และ ดวงดาว ดาราจักร ต่างๆ
  • 3. ดาวเทียมสือสาร ่ • ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ใช้ประโยชน์ในการสื่อสารภายใน และระหว่างประเทศ โดยดาวเทียมของประเทศใดประเทศหนึ่ง มักอยู่สูงในระดับประมาณ 36,000 กิโลเมตรเหนือประเทศนัน ๆ ดาวเทียมสื่อสารจึงเป็นดาวเทียมค้างฟ้า ที่อยู่คงทีบนฟ้าของ ่ ประเทศใดประเทศหนึ่งตลอดเวลา นับว่าสะดวกต่อการรับ สัญญาณจากดาวเทียมเป็นอย่างยิ่ง • ปัจจุบันมีดาวเทียมสื่อสารระหว่างประเทศของบริษัทอินเทลแซท ซึ่งส่งดาวเทียมอิสเทลแซทขึนไปอยู่เหนือมหาสมุทรอินเดียดวง หนึ่ง เหนือมหาสมุทรแปซิฟิคดวงหนึ่งและเหนือมหาสมุทรแอ ตแลนติคอีกดวงหนึ่ง ทาให้สามารถสื่อสารติดต่อระหว่างประเทศ ได้ทั่วโลกตลอดเวลา 24 ชั่วโมง
  • 4. ส่วนประกอบดาวเทียม 1. โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก โครงจะมีนาหนัก ประมาณ 15 - 25% ของนาหนักรวม ดังนัน จึงจาเป็นต้องเลือกวัสดุ ที่มีนาหนักเบา และต้องไม่เกิดการสั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับ สัญญาณที่มีความถี่ หรือความสูงของคลื่นมากๆ (amptitude) 2. ระบบเครืองยนต์ ซึ่งเรียกว่า “aerospike” อาศัยหลักการทางาน ่ คล้ายกับเครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบ ดังกล่าวจะทางานได้ดีในสภาพสุญญากาศ ซึ่งต้องพิจารณาถึงนาหนัก บรรทุกของดาวเทียมด้วย 3. ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตพลังงาน และกักเก็บไว้เพื่อแจกจ่ายไป ยังระบบไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) ไว้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์เพื่อเปลี่ยนเป็นพลังงานไฟฟ้า ให้ ดาวเทียม แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
  • 5. 4. ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ที่ เก็บรวมรวมข้อมูล และประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจาก ส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอปกรณ์รับส่งสัญญาณ (Radar ุ System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร 5. ระบบสือสารและนาทาง มีอุปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่ง ่ จะทางาน โดยแผงวงจรควบคุมอัตโนมัติ 6. อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้ สัมพันธ์กันระหว่างพืนโลก และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษา ระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ 7. เครืองมือบอกตาแหน่ง เพื่อกาหนดการเคลื่อนที่ ่ นอกจากนียังมีส่วนย่อยๆ อีกบางส่วนที่จะทางานหลังจาก ได้รับการกระตุ้นบางอย่าง เช่น ทางานเมื่อได้รบสัญญาณ ั สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทางานเมื่อได้รับลาแสงรังสี ฯลฯ
  • 6. วงโคจรของดาวเทียม • วงโคจรต่าของโลก คือระยะสูงจากพืนโลกไม่เกิน 2,000 กม. ใช้ในการ สังเกตการณ์ สารวจสภาวะแวดล้อม, ถ่ายภาพ ไม่สามารถ ใช้งานครอบคลุมบริเวณใดบริเวณหนึ่งได้ตลอดเวลา เพราะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูง แต่จะสามารถ บันทึกภาพคลุมพืนที่ตามเส้นทางวงโคจรที่ผานไป ตามที่ ่ สถานีภาคพืนดินจะกาหนดเส้นทางโคจรอยู่ในแนวขัวโลก (Polar Orbit) ดาวเทียมวงโคจรระยะต่าขนาดใหญ่บาง ดวงสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าในเวลาค่า หรือก่อน สว่าง เพราะดาวเทียมจะสว่างเป็นจุดเล็ก ๆ เคลื่อนที่ผ่าน ในแนวนอนอย่างรวดเร็ว
  • 7. • วงโคจรระยะปานกลาง อยู่ที่ระยะความสูงตังแต่ 10,000 กม. ขึนไป ส่วน ใหญ่ใช้ในด้านอุตุนิยมวิทยา และสามารถใช้ในการ ติดต่อสื่อสารเฉพาะพืนที่ได้ แต่หากจะติดต่อให้ ครอบคลุมทั่วโลกจะต้องใช้ดาวเทียมหลายดวงในการ ส่งผ่าน • วงโคจรประจาที่ เป็นดาวเทียมเพื่อการสื่อสารเป็นส่วนใหญ่ อยู่สูงจาก พืนโลก 35,786 กม. เส้นทางโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์ สูตร (Equatorial Orbit) ดาวเทียมจะหมุนรอบโลก ด้วยความเร็วเชิงมุมเท่ากับโลกหมุนรอบตัวเองทาให้ดู เหมือนลอยนิ่งอยู่เหนือ จุดจุดหนึ่งบนโลกตลอดเวลา (เรียกทั่ว ๆ ไปว่า "ดาวเทียมค้างฟ้า")
  • 9. ข้อเสียของดาวเทียม 1. มีเวลาหน่วงในการส่งสัญญาณ 2. ดาวเทียมมีราคาแพง และระบบที่ซับซ้อน 3. อาจมีความผิดพลาด หรือล่าช้าในการส่งสัญญาณ เนื่องจากสภาพ อากาส ปริมาณก้อนเมฆบนท้องฟ้า 4. ทาให้เกิดสภาวะโลกร้อน
  • 10. คาถาม 1. ถ้ามนุษย์ไม่มีดาวเทียมจะเป็นอย่างไร? ตอบ ถ้ามนุษย์ไม่มดาวเทียม มนุษย์จะไม่สามารถ ี ติดต่อสื่อสารกันได้ อย่างสะดวก ไม่มีโทรศัพท์ ไม่มี อินเทอร์เน็ตไม่มีระบบ GPS หรือถ้าหากมีก็จะเชื่อมต่อช้า 2. ตอบ 3. 4. 5.