SlideShare a Scribd company logo
ดาวเทียม
                นำเสนอ
        อ. ปิยวรรณ รัตนภำนุศร
                สมำชิก
น.ส. ธันย์ชนก เจริญภิญโญยิ่ง เลขที่ 25
  น.ส. รวิสรำ สิทธิผกำผล เลขที่ 37
                ม.4/6
ดาวเทียมคืออะไร
ดาวเทียม คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก
โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ใน
ลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวง
อาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การ
สื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการ
สารวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์
ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี
ต่างๆ
ดาวเทียมทางานอย่างไร
ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก
ประมาณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก เมื่อเมื่อ
เปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้า และดาวเทียมจะมี
ระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ในตาแหน่งองศาที่ได้สัปทานเอาไว้ กับ
หน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ IFRB ( International
Frequency Registration Board )
ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวน
สัญญาณ คือจะรับสัญญาณที่ยิงขึ้นมาจากสถานีภาคพื้นดิน เรียก
สัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยายสัญญาณ
พร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกันการรบกวนกัน
ระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทาหน้าที่
รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink )
ส่วนประกอบดาวเทียม
ดาวเทียมเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลายๆ
อย่างประกอบเข้าด้วยกันและสามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ สามารถโคจรรอบ
โลกด้วยความเร็วที่สูงพอที่จะหนีจากแรงดึงดูดของโลกได้ การสร้างดาวเทียม
นั้นมีความพยายามออกแบบให้ชิ้นส่วนต่างๆ ทางานได้อย่างประสิทธิภาพมาก
ที่สุด และราคาไม่แพงมาก ส่วนประกอบแต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมการทางาน
แยกย่อยกันไป และมีอปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่างๆ ทางานร่วมกัน โดย
                      ุ
องค์ประกอบส่วนใหญ่ของดาวเทียมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
- โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก มีน้าหนักประมาณ 15 -
25% ของน้าหนักรวม จาเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา และต้องไม่เกิดการ
สั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่ หรือความสูงของคลื่นมากๆ
- ระบบเครืองยนต์ เรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับ
           ่
เครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบจะทางานได้ดีในสภาพ
สุญญากาศ และต้องพิจารณาถึงน้าหนักบรรทุกของดาวเทียมด้วย
- ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตและกักเก็บพลังงาน เพื่อแจกจ่ายไปยังระบบ
ไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ ไว้รบพลังงานจาก
                                                      ั
แสงอาทิตย์ แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
- ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ท่เก็บรวมรวมข้อมูล และ
                                                ี
ประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอปกรณ์รบส่งสัญญาณ
                                                        ุ       ั
(Radar System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร
- ระบบสือสารและนาทาง มีอปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดยแผงวงจร
        ่                    ุ
ควบคุมอัตโนมัติ
- อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กนระหว่างพื้นโลก
                                                              ั
และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้
- เครืองมือบอกตาแหน่ง กาหนดการเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังมีส่วนย่อยๆ อีก
      ่
บางส่วนที่จะทางานหลังจากได้รับการกระตุ้น เช่น ทางานเมื่อได้รับสัญญาณ
สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทางานเมื่อได้รับลาแสงรังสี ฯลฯ
ส่วนต่างๆ ได้ถูกนามาประกอบเข้าด้วยกัน และทดสอบอย่างละเอียดครั้งภายใต้
สภาวะที่เสมือนอยู่ในอวกาศก่อนที่มันจะถูกปล่อยขึ้นไปในวงโคจร เพราะหาก
ปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรแล้ว เราจะไม่สามารถปรับปรุงอะไรได้ และดาวเทียม
ต้องทางานอีกเป็นระยะเวลานาน ดาวเทียมส่วนมากจะถูกนาขึ้นไปพร้อมกันกับ
จรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหาสมุทรหลังจากที่เชื้อเพลิงหมด
ดาวเทียมสื่อสาร
ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ต้องทางานอยู่ตลอดเวลา เรียกได้ว่า
ทางานตลอด 24 ชม. ไม่มีวนหยุด เพื่อที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสาร
                           ั
ของโลกเข้าไว้ด้วยกัน ดาวเทียมสื่อสารเมื่อถูกส่งเข้าสู่วงโคจร มันก็
พร้อมที่จะทางานได้ทันที มันจุส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน สถานี
ภาคพื้นดินจะรับสัญญาณโดยใช้อุปกรณ์ ที่เรียกว่า "Transponder" ซึ่ง
เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่พักสัญญาณ แล้วกระจายสัญญาณไปยังจุดรับ
สัญญาณต่างๆ บนพื้นโลก ดาวเทียมสื่สารสามารถส่งผ่านสัญญาณ
โทรศัพท์ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงสัญญาณภาพโทรทัศน์ได้ไปยังทุกหนทุก
แห่ง
คาถาม
 1.ดาวเทียมโคจรรอบโลกโดยอาศัยสิ่งใด?
         ตอบ แรงดึงดูดจากโลก
 2. หน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือหน่วยงานใด
          ตอบ IFRB
 3. ระบบเครื่องยนต์ของดาวเทียมมีวิธการทางานคล้ายกับสิ่งใด?
                                    ี
          ตอบ เครื่องอัดอากาศ
4. ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนกับอะไร?
          ตอบ จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ
5.จงยกตัวอย่างดาวเทียมสื่อสาร มา1ชื่อ
        ตอบ ดาวเทียมไทยคม
แหล่งอ้างอิง
• http://www.atom.rmutphysics.com/charud/ol
  dnews/0/286/12/3/sattlelite/index.html

More Related Content

What's hot

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)Miewz Tmioewr
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
T
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
Sukumal Ekayodhin
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ศิริชัย เชียงทอง
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
Muay Muay Somruthai
 
Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)
Fang Haruthai
 
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsat
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsatโครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsat
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsatkornrocker111
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar systemJiraporn
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมNasri Sulaiman
 

What's hot (17)

ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
ระบบส ร ยะจ_กรวาล (2)
 
งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1pageใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
ใบความรู้+ดาวเทียมและยานอวกาศ+ป.6+298+dltvscip6+55t2sci p06 f17-1page
 
เทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศเทคโนโลยีอวกาศ
เทคโนโลยีอวกาศ
 
Stars
StarsStars
Stars
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
 
Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)Satallite (Haruthai)
Satallite (Haruthai)
 
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsat
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsatโครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsat
โครงการสำรวจทรัพยากรโลก Landsat
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
Solar system
Solar systemSolar system
Solar system
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 

Similar to ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406

ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
Watta Poon
 
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402Kamolchanok Santhaweesuk
 
Global Positioning System
Global Positioning System Global Positioning System
Global Positioning System
Prapaporn Boonplord
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
kanjana23
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
seesai
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405Tanakrit Rujirapisit
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายKroo Mngschool
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407Proud Meksumpun
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 

Similar to ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406 (20)

ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
ดาวเทียม กมลชนก รุ่งรวี402
 
Global Positioning System
Global Positioning System Global Positioning System
Global Positioning System
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
น้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลงน้ำขึ้น น้ำลง
น้ำขึ้น น้ำลง
 
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
ดาวเทียม(ปฐวี+ธนกฤต)405
 
ภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลายภูมิศาสตร์มอปลาย
ภูมิศาสตร์มอปลาย
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Astro & space technology
Astro & space technologyAstro & space technology
Astro & space technology
 
ข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะข่าวสุริยะ
ข่าวสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 

ดาวเทียม(ธันย์ชนก+รวิสรา)406

  • 1. ดาวเทียม นำเสนอ อ. ปิยวรรณ รัตนภำนุศร สมำชิก น.ส. ธันย์ชนก เจริญภิญโญยิ่ง เลขที่ 25 น.ส. รวิสรำ สิทธิผกำผล เลขที่ 37 ม.4/6
  • 2. ดาวเทียมคืออะไร ดาวเทียม คือ สิ่งประดิษฐ์ที่มนุษย์คิดค้นขึ้น ที่สามารถโคจรรอบโลก โดยอาศัยแรงดึงดูดของโลก ส่งผลให้สามารถโคจรรอบโลกได้ใน ลักษณะเดียวกันกับที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก และโลกโคจรรอบดวง อาทิตย์ วัตถุประสงค์ของสิ่งประดิษฐ์นี้เพื่อใช้ ทางการทหาร การ สื่อสาร การรายงานสภาพอากาศ การวิจัยทางวิทยาศาสตร์เช่นการ สารวจทางธรณีวิทยาสังเกตการณ์สภาพของอวกาศ โลก ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และดาวอื่นๆ รวมถึงการสังเกตวัตถุ และดวงดาว กาแล็กซี ต่างๆ
  • 3. ดาวเทียมทางานอย่างไร ดาวเทียมจะถูกส่งขึ้นไปลอยอยู่ในตาแหน่ง วงโคจรค้างฟ้า ซึ่งมีระยะห่างจากพื้นโลก ประมาณ 36000 - 38000 กิโลเมตร และโคจรตามการหมุนของโลก เมื่อเมื่อ เปรียบเทียบกับพื้นโลกจะเสมือนว่าดาวเทียมลอยนิ่งอยู่บนท้องฟ้า และดาวเทียมจะมี ระบบเชื้อเพลิงเพื่อควบคุมตาแหน่งให้อยู่ในตาแหน่งองศาที่ได้สัปทานเอาไว้ กับ หน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือ IFRB ( International Frequency Registration Board )
  • 4. ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวน สัญญาณ คือจะรับสัญญาณที่ยิงขึ้นมาจากสถานีภาคพื้นดิน เรียก สัญญาณนี้ว่าสัญญาณขาขึ้นหรือ ( Uplink ) รับและขยายสัญญาณ พร้อมทั้งแปลงสัญญาณให้มีความถี่ต่าลงเพื่อป้องกันการรบกวนกัน ระหว่างสัญญาณขาขึ้นและส่งลงมา โดยมีจานสายอากาศทาหน้าที่ รับและส่งสัญญาณ ส่วนสัญญาณในขาลงเรียกว่า ( Downlink )
  • 5. ส่วนประกอบดาวเทียม ดาวเทียมเป็นเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน มีส่วนประกอบหลายๆ อย่างประกอบเข้าด้วยกันและสามารถทางานได้โดยอัตโนมัติ สามารถโคจรรอบ โลกด้วยความเร็วที่สูงพอที่จะหนีจากแรงดึงดูดของโลกได้ การสร้างดาวเทียม นั้นมีความพยายามออกแบบให้ชิ้นส่วนต่างๆ ทางานได้อย่างประสิทธิภาพมาก ที่สุด และราคาไม่แพงมาก ส่วนประกอบแต่ละส่วนจะมีระบบควบคุมการทางาน แยกย่อยกันไป และมีอปกรณ์เพื่อควบคุมให้ระบบต่างๆ ทางานร่วมกัน โดย ุ องค์ประกอบส่วนใหญ่ของดาวเทียมประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
  • 6. - โครงสร้างดาวเทียม เป็นส่วนประกอบที่สาคัญมาก มีน้าหนักประมาณ 15 - 25% ของน้าหนักรวม จาเป็นต้องเลือกวัสดุที่มีน้าหนักเบา และต้องไม่เกิดการ สั่นมากเกินที่กาหนด หากได้รับสัญญาณที่มีความถี่ หรือความสูงของคลื่นมากๆ - ระบบเครืองยนต์ เรียกว่า "aerospike" อาศัยหลักการทางานคล้ายกับ ่ เครื่องอัดอากาศ และปล่อยออกทางปลายท่อ ซึ่งระบบจะทางานได้ดีในสภาพ สุญญากาศ และต้องพิจารณาถึงน้าหนักบรรทุกของดาวเทียมด้วย - ระบบพลังงาน ทาหน้าที่ผลิตและกักเก็บพลังงาน เพื่อแจกจ่ายไปยังระบบ ไฟฟ้าของดาวเทียม โดยมีแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ ไว้รบพลังงานจาก ั แสงอาทิตย์ แต่ในบางกรณีอาจใช้พลังงานนิวเคลียร์แทน
  • 7. - ระบบควบคุมและบังคับ ประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ท่เก็บรวมรวมข้อมูล และ ี ประมวลผลคาสั่งต่างๆ ที่ได้รับจากส่วนควบคุมบนโลก โดยมีอปกรณ์รบส่งสัญญาณ ุ ั (Radar System) เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสาร - ระบบสือสารและนาทาง มีอปกรณ์ตรวจจับความร้อน ซึ่งจะทางาน โดยแผงวงจร ่ ุ ควบคุมอัตโนมัติ - อุปกรณ์ควบคุมระดับความสูง เพื่อรักษาระดับความสูงให้สัมพันธ์กนระหว่างพื้นโลก ั และดวงอาทิตย์ หรือเพื่อรักษาระดับให้ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้
  • 8. - เครืองมือบอกตาแหน่ง กาหนดการเคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังมีส่วนย่อยๆ อีก ่ บางส่วนที่จะทางานหลังจากได้รับการกระตุ้น เช่น ทางานเมื่อได้รับสัญญาณ สะท้อนจากวัตถุบางชนิด หรือทางานเมื่อได้รับลาแสงรังสี ฯลฯ ส่วนต่างๆ ได้ถูกนามาประกอบเข้าด้วยกัน และทดสอบอย่างละเอียดครั้งภายใต้ สภาวะที่เสมือนอยู่ในอวกาศก่อนที่มันจะถูกปล่อยขึ้นไปในวงโคจร เพราะหาก ปล่อยดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรแล้ว เราจะไม่สามารถปรับปรุงอะไรได้ และดาวเทียม ต้องทางานอีกเป็นระยะเวลานาน ดาวเทียมส่วนมากจะถูกนาขึ้นไปพร้อมกันกับ จรวด ซึ่งตัวจรวดจะตกลงสู่มหาสมุทรหลังจากที่เชื้อเพลิงหมด
  • 9. ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารเป็นดาวเทียมที่ต้องทางานอยู่ตลอดเวลา เรียกได้ว่า ทางานตลอด 24 ชม. ไม่มีวนหยุด เพื่อที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายการสื่อสาร ั ของโลกเข้าไว้ด้วยกัน ดาวเทียมสื่อสารเมื่อถูกส่งเข้าสู่วงโคจร มันก็ พร้อมที่จะทางานได้ทันที มันจุส่งสัญญาณไปยังสถานีภาคพื้นดิน สถานี ภาคพื้นดินจะรับสัญญาณโดยใช้อุปกรณ์ ที่เรียกว่า "Transponder" ซึ่ง เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่พักสัญญาณ แล้วกระจายสัญญาณไปยังจุดรับ สัญญาณต่างๆ บนพื้นโลก ดาวเทียมสื่สารสามารถส่งผ่านสัญญาณ โทรศัพท์ ข้อมูลต่างๆ รวมถึงสัญญาณภาพโทรทัศน์ได้ไปยังทุกหนทุก แห่ง
  • 10. คาถาม 1.ดาวเทียมโคจรรอบโลกโดยอาศัยสิ่งใด? ตอบ แรงดึงดูดจากโลก 2. หน่วยงานที่ดูแลเรื่องตาแหน่งวงโคจรของดาวเทียมคือหน่วยงานใด ตอบ IFRB 3. ระบบเครื่องยนต์ของดาวเทียมมีวิธการทางานคล้ายกับสิ่งใด? ี ตอบ เครื่องอัดอากาศ 4. ดาวเทียมที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า จะทาหน้าที่เหมือนกับอะไร? ตอบ จะทาหน้าที่เหมือนสถานีทวนสัญญาณ 5.จงยกตัวอย่างดาวเทียมสื่อสาร มา1ชื่อ ตอบ ดาวเทียมไทยคม