SlideShare a Scribd company logo
อาชีพด้านการสือสารมวลชน
              ่
ตามแบบจำาลองของเบอร์โล
  (The Berlo’s Model)
การสื่อสารมวลชน มีลักษณะ
สำาคัญดังนี้
      1. เป็นการสื่อสารที่มุ่งไปยังผู้รับ
จำานวนค่อนข้างมาก
     2. ส่วนใหญ่จะกำาหนดเวลาให้ถึง
กลุ่มผู้รับพร้อมๆ กัน
     3. มักจะเป็นการสื่อสารในองค์การที่
ซับซ้อน โดยมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก
อาชีพทีเกี่ยวเนื่อง
          ่
      อาชีพด้านสือสารมวลชนทุกรูป
                    ่
แบบ
      เช่น ผูสอข่าว ผูเขียนข่าว
             ้ ื่     ้
บรรณาธิการ นักเขียนสารคดี เขียนบท
ละครโทรทัศน์ บรรณาธิการกิจ และ
พิสจน์อักษร ผูสร้างสรรค์งานด้าน
    ู             ้
สือมวลชน ฯลฯ
  ่
เดวิด เบอร์โล (David Berlo, 1960) นำา
เสนอว่า กระบวนการสื่อสาร
มีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการ ได้แก่ ผู้ส่ง
สาร (source)
                   ข่าวสาร (message)
                   ช่องทางการ
สื่อสาร(channel)
                   และ ผู้รับสาร (recei
ver)
                   โดยแต่ละองค์
ประกอบต่าง
                   ทำาหน้าที่ดังนี้
แบบจำาลองของเบอร์โล
• ผู้ส่งสาร (Source) ต้องมีทักษะในการ
  สือสาร ทัศนคติ ความรู้
    ่
      ระบบสังคม วัฒนธรรม
• สาร (Message) มีสวนประกอบ โครงสร้าง
                        ่
  การจัดสาร เนือหา รหัส
                 ้
• ช่องทาง (Channel) คือ การเห็น การได้ยิน
  การสัมผัส การได้กลิ่น
       การสัมผัส
การนำาแบบจำาลองการสื่อสารของเบอร์โล (The
Berlo’s Model) มาปรับใช้ให้เข้ากับอาชีพด้านการ
สื่อสารมวลชน
      ตามแบบจำาลองการสื่อสารของเบอร์โล จะ
ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ S M C
R
ยกตัวอย่าง อาชีพผู้สอข่าวที่ใช้หลัก
                    ื่
การตามแบบจำาลองการสือสาร
                       ่
ของเบอร์โล

    ผูส่งสาร (Source) คือ ผู้สื่อข่าว จะ
      ้
ต้องมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอด
ข่าวสารออกมาได้อย่างชัดเจน ตรงประเด็น
ละตรงตามความเป็นจริง

     สาร (Message) สารที่สงต้องมีการ
                           ่
คัดกรองมาเป็นอย่างดี มาจากแหล่งข่าวที่
เชื่อถือได้
ยกตัวอย่าง อาชีพผู้สอข่าวที่ใช้หลัก
                    ื่
การตามแบบจำาลองการสือสาร
                       ่
ของเบอร์โล

    ช่องทาง (Channel) ช่องทางในการส่ง
สาร ส่วนใหญ่จะรับรูได้ด้วยการได้ยิน และ
                   ้
การมองเห็นผ่านสือหรือเครื่องมือในการ
                ่
สือสาร เช่น โทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น
  ่

    ผู้รบสาร (Receiver) ผู้รับสารในอาชีพ
        ั
ด้านการสือสารมวลชน หมายถึงประชาชน
          ่
ทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา
อาชีพ จำาเป็นที่ผู้รับสารต้องมีวจารณญาณ
                                ิ
แต่อย่างไรก็ตามการสื่อสารจะประสบ
 ความสำาเร็จได้กต้อง
                 ็
อาศัยปัจจัยต่างๆ ดังนี้

 ทักษะในการสือสาร
               ่
 เจตคติของผู้สงสาร และผู้รับสาร
                 ่
 ระดับความรู้
 ระบบสังคมและวัฒนธรรม

More Related Content

Similar to อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร

การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์pui003
 
Atittaya
AtittayaAtittaya
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pissofuwan
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
Ford Rpj
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
Jump Takitkulwiwat
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารmontiya2530
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารwasamon2531
 
Work1m34 08-22
Work1m34 08-22Work1m34 08-22
Work1m34 08-22
Nongkhao Eiei
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
tanongsak
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
E3
E3E3
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 

Similar to อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร (20)

การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
การสื่อสารสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Communication)
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
เทคนิคการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์
 
News
NewsNews
News
 
Atittaya
AtittayaAtittaya
Atittaya
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pisการใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทคโนโลยีในการนำเสนอ pis
 
Work1m34 14-21
Work1m34 14-21Work1m34 14-21
Work1m34 14-21
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองานการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำเสนองาน
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
Work1m34 08-22
Work1m34 08-22Work1m34 08-22
Work1m34 08-22
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
การสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กรการสื่อสารในองค์กร
การสื่อสารในองค์กร
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
Communication skill
Communication skillCommunication skill
Communication skill
 
E3
E3E3
E3
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

อาชีพด้านสื่อการสื่อสาร

  • 1. อาชีพด้านการสือสารมวลชน ่ ตามแบบจำาลองของเบอร์โล (The Berlo’s Model)
  • 2. การสื่อสารมวลชน มีลักษณะ สำาคัญดังนี้       1. เป็นการสื่อสารที่มุ่งไปยังผู้รับ จำานวนค่อนข้างมาก 2. ส่วนใหญ่จะกำาหนดเวลาให้ถึง กลุ่มผู้รับพร้อมๆ กัน 3. มักจะเป็นการสื่อสารในองค์การที่ ซับซ้อน โดยมีค่าใช้จ่ายที่สูงมาก
  • 3. อาชีพทีเกี่ยวเนื่อง ่ อาชีพด้านสือสารมวลชนทุกรูป ่ แบบ เช่น ผูสอข่าว ผูเขียนข่าว ้ ื่ ้ บรรณาธิการ นักเขียนสารคดี เขียนบท ละครโทรทัศน์ บรรณาธิการกิจ และ พิสจน์อักษร ผูสร้างสรรค์งานด้าน ู ้ สือมวลชน ฯลฯ ่
  • 4. เดวิด เบอร์โล (David Berlo, 1960) นำา เสนอว่า กระบวนการสื่อสาร มีองค์ประกอบอยู่ 4 ประการ ได้แก่ ผู้ส่ง สาร (source) ข่าวสาร (message) ช่องทางการ สื่อสาร(channel) และ ผู้รับสาร (recei ver) โดยแต่ละองค์ ประกอบต่าง ทำาหน้าที่ดังนี้
  • 5. แบบจำาลองของเบอร์โล • ผู้ส่งสาร (Source) ต้องมีทักษะในการ สือสาร ทัศนคติ ความรู้ ่ ระบบสังคม วัฒนธรรม • สาร (Message) มีสวนประกอบ โครงสร้าง ่ การจัดสาร เนือหา รหัส ้ • ช่องทาง (Channel) คือ การเห็น การได้ยิน การสัมผัส การได้กลิ่น การสัมผัส
  • 6. การนำาแบบจำาลองการสื่อสารของเบอร์โล (The Berlo’s Model) มาปรับใช้ให้เข้ากับอาชีพด้านการ สื่อสารมวลชน ตามแบบจำาลองการสื่อสารของเบอร์โล จะ ประกอบไปด้วย 4 องค์ประกอบด้วยกัน คือ S M C R
  • 7. ยกตัวอย่าง อาชีพผู้สอข่าวที่ใช้หลัก ื่ การตามแบบจำาลองการสือสาร ่ ของเบอร์โล ผูส่งสาร (Source) คือ ผู้สื่อข่าว จะ ้ ต้องมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอด ข่าวสารออกมาได้อย่างชัดเจน ตรงประเด็น ละตรงตามความเป็นจริง สาร (Message) สารที่สงต้องมีการ ่ คัดกรองมาเป็นอย่างดี มาจากแหล่งข่าวที่ เชื่อถือได้
  • 8. ยกตัวอย่าง อาชีพผู้สอข่าวที่ใช้หลัก ื่ การตามแบบจำาลองการสือสาร ่ ของเบอร์โล ช่องทาง (Channel) ช่องทางในการส่ง สาร ส่วนใหญ่จะรับรูได้ด้วยการได้ยิน และ ้ การมองเห็นผ่านสือหรือเครื่องมือในการ ่ สือสาร เช่น โทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น ่ ผู้รบสาร (Receiver) ผู้รับสารในอาชีพ ั ด้านการสือสารมวลชน หมายถึงประชาชน ่ ทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับการศึกษา อาชีพ จำาเป็นที่ผู้รับสารต้องมีวจารณญาณ ิ
  • 9. แต่อย่างไรก็ตามการสื่อสารจะประสบ ความสำาเร็จได้กต้อง ็ อาศัยปัจจัยต่างๆ ดังนี้ ทักษะในการสือสาร ่ เจตคติของผู้สงสาร และผู้รับสาร ่ ระดับความรู้ ระบบสังคมและวัฒนธรรม