SlideShare a Scribd company logo
จักรวรรดิโรมันตะวันตก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ตอนหลังได้ถูกรุกรานจาก
พวกอนารยชนเยอรมันจากเผ่าต่างๆ หลายเผ่า เข้ามายังดินแดนของจักรวรรดิ
โรมัน โดยหัวหน้าเผ่าหรือแม่ทัพของตนต่างก็เป็นอิสระต่อกัน เมื่อยึดกรุงโรมและ
ดินแดนส่วนต่างๆ ได้แล้วจึงได้สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์ปกครองดินแดนส่วน
ที่ตนยึดได้
จักรวรรดิไบแซนไทน์หรือไบแซนทิอุม หรืออาจเรียกว่าจักรวรรดิโรมัน
ตะวันออก เมื่อจักรพรรดิไดไอเคลเตียน (ศ.ค. 285-305 ) ทรงดาริให้แบ่ง
ศูนย์กลางการปกครองออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ จักรวรรดิดรมันตะวันตกกับ
โรมันตะวันออก และต่อมาเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine :
ค.ศ.306-337) สถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็น "โรมใหม่" ในปี
ค.ศ. 330 และย้ายเมืองหลวงจากโรมมาเป็นคอนสแตนติโนเปิลแทน
(ปัจจุบันคือนครอิสตันบูล ประเทศตุรกี) มีอายุยืนยาวตั้งแต่
ค.ศ. 330-1453
จักรวรรดิไบแซนไทน์คือจักรวรรดิของชาวกรีก
    เมื่อคานึงถึงอิทธิพลของภาษากรีก วัฒนธรรมกรีกและประชากรเชือสายกรีก
                                                                ้
การเปลี่ยนแปลงสถานะของจักรวรรดินั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แม้ในช่วงก่อนที่
จักรพรรดิคอนสแตนตินจะสถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็นเมืองหลวงใหม่
ของจักรวรรดิโรมันใน พ.ศ. 873 ก็ตาม ในตอนนั้นก็ได้มีการแปลงสภาพ
วัฒนธรรมจากโรมันเป็นกรีก รวมถึงการเปิดรับคริสต์ศาสนาที่เพิมขึ้น
                                                            ่
อย่างต่อเนื่องไปแล้ว ต่อมาภายหลังอาณาจักรโรมันตะวันตกอ่อนแอและเสือม ่
สลายลงจากการรุกรานของพวกอนารยชน เหลือแต่เพียงอาณาจักรโรมัน
ตะวันออกซึ่งได้รับชื่อใหม่เป็นจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยรับเอาวัฒนธรรมกรีก
และภาษากรีกเป็นของตน มีศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์โทดอกซ์
(Greek Orthodox) เป็นศาสนาประจาชาติ
จักรวรรดิไบแซนไตน์มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน
พระองค์ต้องการฟื้นฟูจักวรรดิไบแซนไตน์ให้ยิ่งใหญ่ จึงสร้างกรุงคอนสแตน
ติโนเปิลเป็นเสมือน “โรมใหม่” และทรงชาระและรวบรวมกฎหมายโรมัน
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเมืองการปกครอง เรียกว่า ประมวลกฎหมาย
ของจัสติเนียน วิหารที่สาคัญที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ โบสถ์เซนต์ โซเฟีย
   ทรงมีนโยบายในการขยายอานาจทางการเมืองการปกครองและด้าน
ศาสนาไปยังดินแดนที่ยึดครอง เพราะศาสนาเป็นเครื่องมือส่งเสริมสถานภาพ
และอานาจของจักรพรรดิในการขยายอานาจทางการเมืองการปกครอง
สังคมและวัฒนธรรม พระองค์จึงได้สร้างศาสนสถานไว้ตามเมืองสาคัญที่
จักรวรรดิไบแซนไตน์แผ่อานาจไปถึงเมืองสาคัญต่างๆ เมืองเวนีส
และเมืองเจนัว
การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยทั่วไปแล้ว เชื่อว่าเกิดขึ้น
หลังจากที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลถูกยึดโดยชาวออตโตมันเติร์ก
ในปี พ.ศ.1996 ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามได้ขยายอานาจเข้าไป
ในจักรวรรดิไบแซนไตน์ โดยกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่
เป็นอิสตันบูล มาจนถึงปัจจุบัน และในทางประวัติศาสตร์ยังได้ถือว่า
การสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์เป็นจุดสิ้นสุดยุคกลางในยุโรปด้วย
มรดกทางวัฒนธรรม
    จักรวรรดิไบแซนไทน์ได้สืบทอดผสมผสานศิลปะวิทยาการ
ของโลกคลาสสิกและโลกมุสลิมให้เข้ากับคริสต์ศาสนาไว้ได้
ครบถ้วน ทางด้านศิลปะนั้น จักรวรรดิไบแซนไทน์ได้ผสม
ผสานรูปแบบศิลปะกรีกโรมันและเปอร์เซียอย่างกลมกลืน
เป็นคลังด้านศิลปวิทยาการของกรีกโรมันและโลกมุสลิม
ที่ถ่ายทอดแก่โลกตะวันตกในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-15
    รัฐที่นับถือนิกายออร์โธด็อกซ์ พบมรดกทางศิลปะไบแซนไทน์
ได้แก่ ประเทศบัลแกเรีย เซอร์เบีย เวนิส ซิซิลี กรีซ รัสเซีย
ศิลปะแบบไบแซนไตน์
      เป็นศิลปะที่มีลักษณะเชื่อมโยงความคิด และรูปแบบระหว่าง
ตะวันตกกับตะวันออกเข้าด้วยกัน มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติ
โนเปิล ศิลปะมีลักษณะใหญ่โต คงทน ถาวร ประดับตกแต่งด้วยการ
ใช้พื้นผิว (Texture) อย่างหลากหลาย งานสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น
ที่สุดของไบแซนไทน์ คือการทาหลังคาเป็นรูปกลม (Cupula)
ต่างจากหลังคาของศิลปะโรมันที่ทาเป็นรูปโค้ง (Arch) หลังคากลม
แบบไบแซนไทน์นั้น ภายนอกเรียกว่าโดม (Dome) หลังคากลมช่วยให้
สามารถสร้างอาคารได้ใหญ่โตมากขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็นแบบฉบับของ
ศิลปะดังกล่าว ได้แก่ โบสถ์เซนต์โซเฟีย ในกรุงคอนสแตนติโนเปิล
ประเทศตุรกี โบสถ์เซนต์มาร์โค ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี
ด้านจิตรกรรมมีการวาดภาพแบบเฟรสโก (Fresco) ซึ่งเป็นภาพวาดลงสี
ขณะที่ปูนยังเปียกอยู่ และมีการประดับกระเบื้องสีหรือที่เรียกว่า หินโมเสก
(Mosaic)
นับว่าอาณาจักรไบแซนไทน์รับความเจริญรุงเรืองของอารยธรรมกรีกโรมัน
                                               ่
โบราณและพัฒนาจนสูงสุดก่อนจะส่งผ่านไปยังวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่ตามมาใน
ภายหลังทั้งโลกตะวันตกและตะวันออก อาณาจักรไบแซนไทน์จึงเปรียบเสมือน
หม้อต้มยาที่ใส่สมุนไพรชั้นเยี่ยมจากที่ต่าง ๆ จนออกมาเป็นตัวยาชั้นดี
    โชคดีที่พวกเติร์กที่นับถือศาสนาอิสลามมิได้เผาทาลายศาสนสถานเดิมของ
พวกคริสต์ แต่กลับเปลี่ยนให้เป็นสถานทีบูชาในศาสนาของพวกตนแทน และ
                                         ่
พัฒนาต่อจนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวแบบออตโตมันที่ผสมผสานความเป็น
ตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ทาให้ชนรุ่นหลังได้มีโอกาสชื่นชมสมบัติ
ล้าค่าเป็นพันปีทสืบทอดมาถึงปัจจุบัน จึงอาจกล่าวได้ว่านครอิสตันบูลเป็นนคร
                ี่
สองทวีปทั้งด้านกายภาพและศิลปวัฒนธรรมอย่างแท้จริง
เมืองโบราณเอฟิซุส (Ephesus) ในอดีตเอฟิซุสเป็น
เมืองใหญ่ที่สุดของโรมันในคาบสมุทรอนาโตเลีย เป็นศูนย์กลางการค้า
การคมนาคม ตั้งอยู่ริมทะเล จนได้รับการกาหนดให้เป็นเมืองหลวงแห่ง
เอเชียของอาณาจักรโรมัน
น้าตกหินปูนปามุคคาเล (Pamukkale)
ชาวโรมันเชื่อว่าน้าแร่ที่ปามุคคาเลมีสรรพคุณทางยา ช่วยบาบัดโรคภัย
ต่าง ๆ เช่นไขข้อ กระดูก หอบหืด โรคผิวหนัง ฯลฯ น้าที่อุณหภูมิสูงถึง 36
องศาเซลเซียส ช่วยให้เลือดลมหมุนเวียนดีอีกต่างหาก ที่แห่งนี้จึงถือเป็น
แหล่งสปาทางธรรมชาติมาตั้งแต่โบราณกาล ชาวโรมันตั้งบ้านเรือนอาศัย
อยู่เหนือภูเขาหินปูนจนกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ ชื่อว่าเฮียราโพลิส
(Hierapolis) ปัจจุบันยังมีซากเมืองโบราณยุคโรมันโดยเฉพาะโรงละคร
ขนาดใหญ่บรรจุคนได้ถึง 12,000 คนคล้ายที่เอฟิซุส ทั้งเฮียราโพลิสและ
ปามุคคาเลได้รับการกาหนดให้เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ
ร่วมกัน
โบสถ์เซนต์โซเฟีย มีชื่อเรียกแบบกรีกว่าฮาเกียโซเฟีย
(Haghia Sophia)
หรือที่อิสลามเรียกว่าอายาโซเฟีย (Aya Sofya) ได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน
7 สิ่งมหัศจรรย์ยุคกลาง มีอายุเก่าแก่กว่า 1,400 ปี เป็นผลงานชิ้นเอกของ
ศิลปะยุคไบแซนไทน์ เดิมเป็นโบสถ์คริสต์ แต่หลังจากพวกออตโตมันยึด
กรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ในในปี ค.ศ.1453 จึงเปลี่ยนโบสถ์คริสต์แห่งนี้ให้เป็น
มัสยิดอิสลาม จนเมื่อประเทศตุรกีถือกาเนิดภายใต้ข้อกาหนดว่าเป็นรัฐที่ไม่มี
ขีดจากัดทางศาสนา (secular state) รัฐบาลได้เปลี่ยนให้เป็นพิพธภัณฑ์เพื่อ
                                                               ิ
ทุกคนจะได้มีโอกาสชมความมหัศจรรย์ยิ่งใหญ่อย่างไร้ข้อจากัดทางศาสนา
มัสยิดสุลต่านอาห์เหม็ด (Sultan Ahmet Mosque)
มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ามัสยิดสีน้าเงิน (Blue Mosque) มัสยิดแห่งนี้
ผสมผสานศิลปะแบบไบแซนไทน์ที่ได้จากอายาโซเฟียฝั่งตรงกันข้ามเข้า
กับศิลปะอิสลามอย่างกลมกลืนตามเอกลักษณ์แบบออตโตมัน

More Related Content

Similar to ไบแซนทิอุม

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
Omm Suwannavisut
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
Aniwat Suyata
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
Premo Int
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลายอาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
Natdanai2543
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
Juno Nuttatida
 
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกgirapong
 

Similar to ไบแซนทิอุม (10)

อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร009 byzentine อนิวัตร
009 byzentine อนิวัตร
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลางประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
ประวัติศาสตร์สากล ยุโรปสมัยกลาง
 
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
4.1 4.2 อิทธิพล-การเมือง เศรษฐกิจ
 
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลายอาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
อาณาจักรโรมันตะวันตกล่มสลาย
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
 

More from Kwandjit Boonmak

แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลแนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลKwandjit Boonmak
 
Earthfrom sky1
Earthfrom sky1Earthfrom sky1
Earthfrom sky1
Kwandjit Boonmak
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียKwandjit Boonmak
 
แผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copyแผ่นพับ Copy
แผ่นพับ CopyKwandjit Boonmak
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copyKwandjit Boonmak
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกKwandjit Boonmak
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกKwandjit Boonmak
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกKwandjit Boonmak
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
Kwandjit Boonmak
 

More from Kwandjit Boonmak (20)

แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากลแนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
แนวข้อสอบกลางภาคประวัติศาสตร์สากล
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
Earthfrom sky1
Earthfrom sky1Earthfrom sky1
Earthfrom sky1
 
Ocean beauties
Ocean beautiesOcean beauties
Ocean beauties
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
 
แผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copyแผ่นพับ Copy
แผ่นพับ Copy
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอนภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย สอน
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
ติวเศรษฐศาสตร์55   copyติวเศรษฐศาสตร์55   copy
ติวเศรษฐศาสตร์55 copy
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 

ไบแซนทิอุม

  • 1.
  • 2. จักรวรรดิโรมันตะวันตก มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงโรม ตอนหลังได้ถูกรุกรานจาก พวกอนารยชนเยอรมันจากเผ่าต่างๆ หลายเผ่า เข้ามายังดินแดนของจักรวรรดิ โรมัน โดยหัวหน้าเผ่าหรือแม่ทัพของตนต่างก็เป็นอิสระต่อกัน เมื่อยึดกรุงโรมและ ดินแดนส่วนต่างๆ ได้แล้วจึงได้สถาปนาตนเองเป็นกษัตริย์ปกครองดินแดนส่วน ที่ตนยึดได้
  • 3. จักรวรรดิไบแซนไทน์หรือไบแซนทิอุม หรืออาจเรียกว่าจักรวรรดิโรมัน ตะวันออก เมื่อจักรพรรดิไดไอเคลเตียน (ศ.ค. 285-305 ) ทรงดาริให้แบ่ง ศูนย์กลางการปกครองออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ จักรวรรดิดรมันตะวันตกกับ โรมันตะวันออก และต่อมาเมื่อจักรพรรดิคอนสแตนติน (Constantine : ค.ศ.306-337) สถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็น "โรมใหม่" ในปี ค.ศ. 330 และย้ายเมืองหลวงจากโรมมาเป็นคอนสแตนติโนเปิลแทน (ปัจจุบันคือนครอิสตันบูล ประเทศตุรกี) มีอายุยืนยาวตั้งแต่ ค.ศ. 330-1453
  • 4. จักรวรรดิไบแซนไทน์คือจักรวรรดิของชาวกรีก เมื่อคานึงถึงอิทธิพลของภาษากรีก วัฒนธรรมกรีกและประชากรเชือสายกรีก ้ การเปลี่ยนแปลงสถานะของจักรวรรดินั้นเป็นไปอย่างต่อเนื่อง แม้ในช่วงก่อนที่ จักรพรรดิคอนสแตนตินจะสถาปนานครคอนสแตนติโนเปิลให้เป็นเมืองหลวงใหม่ ของจักรวรรดิโรมันใน พ.ศ. 873 ก็ตาม ในตอนนั้นก็ได้มีการแปลงสภาพ วัฒนธรรมจากโรมันเป็นกรีก รวมถึงการเปิดรับคริสต์ศาสนาที่เพิมขึ้น ่ อย่างต่อเนื่องไปแล้ว ต่อมาภายหลังอาณาจักรโรมันตะวันตกอ่อนแอและเสือม ่ สลายลงจากการรุกรานของพวกอนารยชน เหลือแต่เพียงอาณาจักรโรมัน ตะวันออกซึ่งได้รับชื่อใหม่เป็นจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยรับเอาวัฒนธรรมกรีก และภาษากรีกเป็นของตน มีศาสนาคริสต์นิกายกรีกออร์โทดอกซ์ (Greek Orthodox) เป็นศาสนาประจาชาติ
  • 5. จักรวรรดิไบแซนไตน์มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยจักรพรรดิจัสติเนียน พระองค์ต้องการฟื้นฟูจักวรรดิไบแซนไตน์ให้ยิ่งใหญ่ จึงสร้างกรุงคอนสแตน ติโนเปิลเป็นเสมือน “โรมใหม่” และทรงชาระและรวบรวมกฎหมายโรมัน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเมืองการปกครอง เรียกว่า ประมวลกฎหมาย ของจัสติเนียน วิหารที่สาคัญที่มีชื่อเสียงที่สุด คือ โบสถ์เซนต์ โซเฟีย ทรงมีนโยบายในการขยายอานาจทางการเมืองการปกครองและด้าน ศาสนาไปยังดินแดนที่ยึดครอง เพราะศาสนาเป็นเครื่องมือส่งเสริมสถานภาพ และอานาจของจักรพรรดิในการขยายอานาจทางการเมืองการปกครอง สังคมและวัฒนธรรม พระองค์จึงได้สร้างศาสนสถานไว้ตามเมืองสาคัญที่ จักรวรรดิไบแซนไตน์แผ่อานาจไปถึงเมืองสาคัญต่างๆ เมืองเวนีส และเมืองเจนัว
  • 6. การล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ โดยทั่วไปแล้ว เชื่อว่าเกิดขึ้น หลังจากที่กรุงคอนสแตนติโนเปิลถูกยึดโดยชาวออตโตมันเติร์ก ในปี พ.ศ.1996 ชาวอาหรับที่นับถือศาสนาอิสลามได้ขยายอานาจเข้าไป ในจักรวรรดิไบแซนไตน์ โดยกรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ถูกเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็นอิสตันบูล มาจนถึงปัจจุบัน และในทางประวัติศาสตร์ยังได้ถือว่า การสิ้นสุดของจักรวรรดิไบแซนไทน์เป็นจุดสิ้นสุดยุคกลางในยุโรปด้วย
  • 7. มรดกทางวัฒนธรรม จักรวรรดิไบแซนไทน์ได้สืบทอดผสมผสานศิลปะวิทยาการ ของโลกคลาสสิกและโลกมุสลิมให้เข้ากับคริสต์ศาสนาไว้ได้ ครบถ้วน ทางด้านศิลปะนั้น จักรวรรดิไบแซนไทน์ได้ผสม ผสานรูปแบบศิลปะกรีกโรมันและเปอร์เซียอย่างกลมกลืน เป็นคลังด้านศิลปวิทยาการของกรีกโรมันและโลกมุสลิม ที่ถ่ายทอดแก่โลกตะวันตกในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-15 รัฐที่นับถือนิกายออร์โธด็อกซ์ พบมรดกทางศิลปะไบแซนไทน์ ได้แก่ ประเทศบัลแกเรีย เซอร์เบีย เวนิส ซิซิลี กรีซ รัสเซีย
  • 8. ศิลปะแบบไบแซนไตน์ เป็นศิลปะที่มีลักษณะเชื่อมโยงความคิด และรูปแบบระหว่าง ตะวันตกกับตะวันออกเข้าด้วยกัน มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงคอนสแตนติ โนเปิล ศิลปะมีลักษณะใหญ่โต คงทน ถาวร ประดับตกแต่งด้วยการ ใช้พื้นผิว (Texture) อย่างหลากหลาย งานสถาปัตยกรรมที่โดดเด่น ที่สุดของไบแซนไทน์ คือการทาหลังคาเป็นรูปกลม (Cupula) ต่างจากหลังคาของศิลปะโรมันที่ทาเป็นรูปโค้ง (Arch) หลังคากลม แบบไบแซนไทน์นั้น ภายนอกเรียกว่าโดม (Dome) หลังคากลมช่วยให้ สามารถสร้างอาคารได้ใหญ่โตมากขึ้น สิ่งก่อสร้างที่เป็นแบบฉบับของ ศิลปะดังกล่าว ได้แก่ โบสถ์เซนต์โซเฟีย ในกรุงคอนสแตนติโนเปิล ประเทศตุรกี โบสถ์เซนต์มาร์โค ที่เมืองเวนิส ประเทศอิตาลี
  • 9. ด้านจิตรกรรมมีการวาดภาพแบบเฟรสโก (Fresco) ซึ่งเป็นภาพวาดลงสี ขณะที่ปูนยังเปียกอยู่ และมีการประดับกระเบื้องสีหรือที่เรียกว่า หินโมเสก (Mosaic)
  • 10. นับว่าอาณาจักรไบแซนไทน์รับความเจริญรุงเรืองของอารยธรรมกรีกโรมัน ่ โบราณและพัฒนาจนสูงสุดก่อนจะส่งผ่านไปยังวัฒนธรรมอื่น ๆ ที่ตามมาใน ภายหลังทั้งโลกตะวันตกและตะวันออก อาณาจักรไบแซนไทน์จึงเปรียบเสมือน หม้อต้มยาที่ใส่สมุนไพรชั้นเยี่ยมจากที่ต่าง ๆ จนออกมาเป็นตัวยาชั้นดี โชคดีที่พวกเติร์กที่นับถือศาสนาอิสลามมิได้เผาทาลายศาสนสถานเดิมของ พวกคริสต์ แต่กลับเปลี่ยนให้เป็นสถานทีบูชาในศาสนาของพวกตนแทน และ ่ พัฒนาต่อจนเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวแบบออตโตมันที่ผสมผสานความเป็น ตะวันออกและตะวันตกเข้าด้วยกัน ทาให้ชนรุ่นหลังได้มีโอกาสชื่นชมสมบัติ ล้าค่าเป็นพันปีทสืบทอดมาถึงปัจจุบัน จึงอาจกล่าวได้ว่านครอิสตันบูลเป็นนคร ี่ สองทวีปทั้งด้านกายภาพและศิลปวัฒนธรรมอย่างแท้จริง
  • 11. เมืองโบราณเอฟิซุส (Ephesus) ในอดีตเอฟิซุสเป็น เมืองใหญ่ที่สุดของโรมันในคาบสมุทรอนาโตเลีย เป็นศูนย์กลางการค้า การคมนาคม ตั้งอยู่ริมทะเล จนได้รับการกาหนดให้เป็นเมืองหลวงแห่ง เอเชียของอาณาจักรโรมัน
  • 12.
  • 14. ชาวโรมันเชื่อว่าน้าแร่ที่ปามุคคาเลมีสรรพคุณทางยา ช่วยบาบัดโรคภัย ต่าง ๆ เช่นไขข้อ กระดูก หอบหืด โรคผิวหนัง ฯลฯ น้าที่อุณหภูมิสูงถึง 36 องศาเซลเซียส ช่วยให้เลือดลมหมุนเวียนดีอีกต่างหาก ที่แห่งนี้จึงถือเป็น แหล่งสปาทางธรรมชาติมาตั้งแต่โบราณกาล ชาวโรมันตั้งบ้านเรือนอาศัย อยู่เหนือภูเขาหินปูนจนกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ ชื่อว่าเฮียราโพลิส (Hierapolis) ปัจจุบันยังมีซากเมืองโบราณยุคโรมันโดยเฉพาะโรงละคร ขนาดใหญ่บรรจุคนได้ถึง 12,000 คนคล้ายที่เอฟิซุส ทั้งเฮียราโพลิสและ ปามุคคาเลได้รับการกาหนดให้เป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ ร่วมกัน
  • 15. โบสถ์เซนต์โซเฟีย มีชื่อเรียกแบบกรีกว่าฮาเกียโซเฟีย (Haghia Sophia) หรือที่อิสลามเรียกว่าอายาโซเฟีย (Aya Sofya) ได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 สิ่งมหัศจรรย์ยุคกลาง มีอายุเก่าแก่กว่า 1,400 ปี เป็นผลงานชิ้นเอกของ ศิลปะยุคไบแซนไทน์ เดิมเป็นโบสถ์คริสต์ แต่หลังจากพวกออตโตมันยึด กรุงคอนสแตนติโนเปิลได้ในในปี ค.ศ.1453 จึงเปลี่ยนโบสถ์คริสต์แห่งนี้ให้เป็น มัสยิดอิสลาม จนเมื่อประเทศตุรกีถือกาเนิดภายใต้ข้อกาหนดว่าเป็นรัฐที่ไม่มี ขีดจากัดทางศาสนา (secular state) รัฐบาลได้เปลี่ยนให้เป็นพิพธภัณฑ์เพื่อ ิ ทุกคนจะได้มีโอกาสชมความมหัศจรรย์ยิ่งใหญ่อย่างไร้ข้อจากัดทางศาสนา
  • 16. มัสยิดสุลต่านอาห์เหม็ด (Sultan Ahmet Mosque) มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่ามัสยิดสีน้าเงิน (Blue Mosque) มัสยิดแห่งนี้ ผสมผสานศิลปะแบบไบแซนไทน์ที่ได้จากอายาโซเฟียฝั่งตรงกันข้ามเข้า กับศิลปะอิสลามอย่างกลมกลืนตามเอกลักษณ์แบบออตโตมัน