SlideShare a Scribd company logo
การบริหารโครงการด้วย CPM และPERT
ลักษณะโครงการ
● โครงการ (project) มีลักษณะแตกต่างจากงานประจาในแง่ของเวลาและการดาเนินการ โครงการจะประกอบด้วยกิจกรรมซึ่งมี
จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งโครงการ คือ งานที่มีเวลาแล้วเสร็จ แตกต่างกับงานประจาซึ่งไม่มีเวลาสิ้นสุดของการ
ทางาน การวางแผนโครงการก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวางแผนงานอื่นๆ คือ การกาหนดแนวทางปฏิบัติว่าจะต้องทาอะไรบ้าง
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
● เช่นเดียวกับการวางแผนโดยทั่วไป การวางแผนโครงการก็มีขั้นตอนต่างๆ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายของโครงการ ซึ่ง
ประกอบด้วยทรัพยากรที่ต้องการ เวลาแล้วเสร็จของโครงการและผลลัพธ์ที่จะได้ การกาหนดและมอบหมายงานให้แก่ผู้มีส่วนร่วม
ในโครงการ การประมาณการเวลาที่ต้องใช้และทรัพยากรที่ต้องการในการทากิจกรรมต่างๆ ในโครงการ โดยอาศัย วิธีการพยากรณ์
การวางแผนการใช้เงินตลอดจนการควบคุมงบประมาณให้อยู่ภายในปริมาณที่กาหนด และประการสุดท้ายผู้บริหารโครงการจะต้อง
กาหนดนโยบายเพื่อการทากิจกรรมว่า กิจกรรมจะมีผลกระทบต่อการดาเนินโครงการมากที่สุดในแง่ของเวลาที่แล้วเสร็จของ
โครงการ และในกรณีที่ต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วขึ้นกว่าที่วางแผนไว้ ผู้บริหารโครงการจะต้องกาหนดว่าควรจะใช้ทรัพยากรใน
กิจกรรมใดเพื่อเร่งรัดให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ ผู้บริหารโครงการยังจะต้องกาหนดลาดับการทางาน
ก่อนหลังของกิจกรรมต่างๆ ในโครงการว่า จะต้องทากิจกรรมใดก่อนหลังกันอย่างไร
เทคนิคการวางแผนโครงการ
1. เทคนิค Gantt Chart เป็นเทคนิคที่ใช้ในการวางแผนเกี่ยวกับเวลาในการปฏิบัติงานย่อย
ต่างๆ ในโครงการขนาดเล็ก โดยเป็น bar chart ที่แสดงถึงระยะเวลา คือเวลาเริ่มต้นและ
สิ้นสุดของการปฏิบัติงานย่อยแต่ละงาน แสดงลาดับของงานย่อยต่างๆ อย่างชัดเจน
2. เทคนิคการประเมินผลและทบทวนโครงการ (Program Evaluation and Review
Technique: PERT)
3. วิธีการหาเส้นทางวิกฤต (Critical Path Method: CPM) เป็นเทคนิคเชิงปริมาณด้านการ
วิเคราะห์ข่ายงาน (Network analysis) ที่ใช้กันแพร่หลายในการวางแผนและควบคุมงานที่มี
ลักษณะเป็นงานโครงการ
1. เทคนิค Gantt Chart
ตัวอย่างที่ 1 โครงการสร้างบ้านหลังหนึ่ง ซึ่งมีกิจกรรมย่อย 7 งาน ดังแสดงในตารางที่ 1
งาน ระยะเวลา (เดือน) งานที่ต้องทาเสร็จก่อน
A. ออกแบบบ้าน 1 -
B. การวางผังบ้าน 2 A
C. สั่งวัตถุดิบและได้รับวัตถุดิบ (ไม้ ปูน หิน) 1 A
D. สร้างตัวบ้าน 5 B, C
E. ทาสี 1 D
F. ตกแต่งภายใน 1 E
G. เก็บรายละเอียดทุกส่วน 1 F
Gantt Chart
แกนตั้ง แสดง กิจกรรมย่อยต่างๆ
แกนนอน แสดงระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามกิจกรรมย่อย
งานย่อย ระยะเวลา (เดือน)
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11
A
B
C
D
E
F
G
2. เทคนิค PERT/CPM
วัตถุประสงค์ในการนาPERT/CPMมาใช้ในการบริหารงานโครงการ มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญดังนี้
1) เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ โดยคานวณระยะเวลาดาเนินงานของโครงการแสดงให้เห็นการดาเนินงานกิจกรรม
ย่อยต่าง ๆ อย่างละเอียดว่ากิจกรรมเหล่านั้นควรเริ่มดาเนินงานเมื่อไร ควรเสร็จเรียบร้อยเมื่อใด ตลอดจนสามารถกาหนดได้
ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมที่สาคัญซึ่งจะล่าช้าไปจากกิจกรรมที่กาหนดไว้ไม่ได้ กิจกรรมใดที่ล่าช้าได้ ล่าช้าได้เท่าใด
2) เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ ให้ดาเนินไปตามแผนงานที่กาหนดไว้ ช่วยให้ทราบว่ากิจกรรมที่ควรดูแลควบคุมไม่ให้ช้าไป
กว่าที่กาหนดหรือไม่ให้ช้าไปกว่าที่จะช้าได้ เมื่อมีปัญหาในการดาเนินงานกิจกรรมใดเกิดขึ้น
จะมองเห็นผลกระทบถึงเวลาของโครงการว่าจะเสร็จเรียบร้อยตามกาหนดหรือไม่ ถ้าทาให้เสร็จช้ากว่ากาหนดก็จะต้อง
เตรียมการแก้ไข แต่ถ้าไม่มีผลกระทบต่อกาหนดเวลาของโครงการก็ไม่จาเป็นต้องดาเนินการใดๆ
3) เพื่อใช้ในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เช่น คนงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ เงินทุน ฯลฯ ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่
4) เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วกว่ากาหนด ทาให้สามารถระบุได้ว่า
จะต้องทากิจกรรมใดบ้าง และกิจกรรมเหล่านั้นจะต้องเร่งให้เสร็จภายในเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นมากน้อย
เพียงใด เป็นต้น
2. ขั้นตอนของ PERT/CPM
คาว่าโครงการ หมายถึง กลุ่มของงานหรือกิจกรรมย่อยๆ ที่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดตลอดจนมีขั้นตอนการ
ทางานที่แน่นอนแต่ละกิจกรรมต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน การนาPERT/CPMมาช่วยในการ
บริหารโครงการประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 3 ขั้นตอนดังนี้
1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ
1.2) การสร้างข่ายงาน
1.3) การวิเคราะห์ข่ายงาน
1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ
1.1) การกระจายกิจกรรม ได้แก่ การแจกแจงกิจกรรมย่อยทั้งหมดที่ต้องทาในโครงการ เช่น โครงการสร้างชั้นวาง
ของ อาจแจกแจงกิจกรรมที่ต้องทาได้ดังนี้
● จัดหาอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้
● เลื่อยไม้
● ไสไม้ให้เรียบ
● ประกอบโครงเหล็ก
● ประกอบชั้นไม้เข้ากับโครงเหล็ก
● ขัดผิวให้เรียบและทาสี
1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ (ต่อ)
1.2) กาหนดลาดับการทางานของกิจกรรม ได้แก่ การระบุความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จากตัวอย่าง
โครงการชั้นวางของข้างต้น จะต้องจัดหาอุปกรณ์ให้ครบก่อน เมื่อครบแล้วจึงเลื่อยไม้และประกอบโครงเหล็กได้ เมื่อเลื่อยไม้
เสร็จแล้วจึงจะทาการไสให้เรียบ และเมื่อประกอบชั้นไม้เข้ากับโครงเหล็กนั้น โครงเหล็กจะต้องประกอบเสร็จก่อน และชั้น
ไม้ต้องต้องไสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เมื่อประกอบเสร็จเรียบร้อยจึงขัดและทาสีเป็นงานสุดท้าย เป็นต้น
1.3) ประมาณเวลาการดาเนินงานของกิจกรรม เป็นการประมาณเวลาในการดาเนินงานของแต่ละกิจกรรมโดยการ
ใช้ประสบการณ์ข้อมูลในอดีต ประกอบกับแนวโน้มในอนาคต ประมาณเวลาที่ใช้ในการดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ที่แจกแจง
ไว้ในขั้นตัน ทั้งนี้ PERT/CPMจะมีวิธีการประมาณเวลาของกิจกรรมแตกต่างกัน กล่าวคือ CPM จะมีตัวเลขในการประมาณ
ระยะเวลาในการทางานเป็นค่าเดียว เช่น การจัดหาอุปกรณ์ใช้เวลา 3 ชั่วโมง การเลื่อยไม้ใช้เวลา 1 ชั่วโมง เป็นต้น ในขณะ
ที่ PERT มักจะใช้กับโครงการใหม่ๆ ซึ่งไม่ค่อยมีตัวเลขข้อมูลในอดีต จึงใช้วิธีการประมาณระยะเวลาทางานที่ Three Time
Estimate of PERT โดยแสดงค่าประมาณระยะเวลาทางานของแต่กิจกรรมเป็น 3 ค่า คือ ระยะเวลาอย่างเร็วที่สุด
ระยะเวลาอย่างช้าที่สุด และระยะเวลาโดยส่วนมากที่คาดว่าจะใช้ในการทางานกิจกรรมนั้นๆ
1.2) การสร้างข่ายงาน
ก่อนที่จะนาเทคนิค CPM หรือ PERT ไปใช้ได้นั้น ก่อนอื่นจะต้องเข้าใจขั้นตอนของเทคนิค CPM
และ PERT และสามารถสร้างข่ายงาน (Network) ได้
ข่ายงาน (Network) จะแสดงถึงความสัมพันธ์ของงาน ลาดับของงาน ระยะเวลาที่ใช้ของแต่ละงาน
ย่อยซึ่งก่อนที่จะเขียนข่ายงานได้จะต้องเข้าใจความหมายของคาศัพท์บางคาก่อน ได้แก่
งานย่อยหรือกิจกรรม (Task or activity) หมายถึง งานย่อยที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการซึ่งต้องใช้
ทรัพยากร เช่น เวลา วัตถุดิบ คนงาน ฯลฯ โดยจะใช้เครื่องหมายลูกศร ( →) เป็นสัญลักษณ์
ตัวอย่าง การสร้างข่ายงาน โครงการสร้างบ้านหลังหนึ่ง (จากตัวอย่างที่ 1)
การวิเคราะห์ข่ายงาน
1. งานวิกฤต (Critical Activity) เป็นงานสาคัญของโครงการที่ผู้ควบคุมโครงการจะต้องควบคุมเป็นพิเศษ
เนื่องจากถ้างานวิกฤตไม่เสร็จตามกาหนดจะทาให้โครงการเสร็จล่าช้าได้
2. งานไม่วิกฤต (Non Critical Activity) เป็นงานที่อาจเริ่มปฏิบัติหรือเสร็จล่าช้ากว่ากาหนดได้ระยะเวลาหนึ่ง
โดยไม่ทาให้ทั้งโครงการเสร็จล่าช้าไปด้วย นั่นคือ ทั้งโครงการเสร็จตามกาหนด
พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน
ในการคานวณหา CPM จาเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ
1. เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (earliest start, ES) หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นทาได้
2. เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด (earliest finish, EF) หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถทาเสร็จได้
3. เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด (Latest start, LS) หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นได้ โดยไม่ทาให้เวลา
แล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้
4. เวลาแล้วเสร็จช้าที่สุด (Latest finish, LF) หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถทาเสร็จได้ โดยไม่ทาให้
เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้
5. TS (Total Slack Time) หมายถึงระยะเวลารวมที่กิจกรรมจะล่าช้าได้โดยไม่มีผลกระกบต่อเวลาโครงการ
6. t หมายถึง เวลาการทางานของกิจกรรม
7. จุดรวม (Merge) คือ จุดเชื่อมที่สิ้นสุดของกิจกรรมมากกว่า 1 กิจกรรม
8. จุดกระจาย (Burst) คือ จุดเชื่อมที่เป็นที่เริ่มต้นของกิจกรรมมากกว่า 1 กิจกรรม
ตัวอย่างที่ 2 จงคานวณงานวิกฤต (Critical Activity) จากร้านค้าสะดวกซื้อแห่งหนึ่ง
งาน ชื่อกิจกรรม งานที่
ต้องทา
เสร็จก่อน
ระยะเวลา
A ผู้ส่งสินค้าขนสินค้าลง - 10 นาที
B ดูรายการสินค้าเบื้องต้น - 3 นาที
C ตรวจสอบสินค้า A 10 นาที
D จัดเก็บสาเนาเอกสารการขนส่งสินค้า B 5 นาที
E ส่งเอกสารการขนส่งสินค้าคืนให้ผู้ส่งสินค้า C, D 4 นาที
F จัดเก็บสินค้าไว้ในห้องเก็บ stock สินค้า E 20 นาที
จากตัวอย่างที่ 2 วิธีการสร้างข่ายงาน
จากตัวอย่างที่ 2 วิธีการหาค่า ES EF LS และ LF และงานวิกฤต

More Related Content

Similar to Quantitative การบริหารโครงการด้วย CPM และ PERT

โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการguest3b08dd
 
P
PP
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Tai MerLin
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
GanokwanBaitoey
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการrbsupervision
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์yanee saechoeng
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
จูน นะค่ะ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
จูน นะค่ะ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22tangmottmm
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
Nongkhao Eiei
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการKaratz Mee
 
Construction management
Construction managementConstruction management
Construction management
Peach_Seeker
 

Similar to Quantitative การบริหารโครงการด้วย CPM และ PERT (20)

Present
PresentPresent
Present
 
โครงการ
โครงการโครงการ
โครงการ
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
Present
PresentPresent
Present
 
P
PP
P
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
การประเมินโครงการ
การประเมินโครงการการประเมินโครงการ
การประเมินโครงการ
 
K2
K2K2
K2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22โครงงานคอมพิวเตอร์22
โครงงานคอมพิวเตอร์22
 
ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1ใบความรู้ที่ 4.1
ใบความรู้ที่ 4.1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
หลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการหลัการเขียนโครงการ
หลัการเขียนโครงการ
 
Construction management
Construction managementConstruction management
Construction management
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Quantitative การบริหารโครงการด้วย CPM และ PERT

  • 2. ลักษณะโครงการ ● โครงการ (project) มีลักษณะแตกต่างจากงานประจาในแง่ของเวลาและการดาเนินการ โครงการจะประกอบด้วยกิจกรรมซึ่งมี จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งโครงการ คือ งานที่มีเวลาแล้วเสร็จ แตกต่างกับงานประจาซึ่งไม่มีเวลาสิ้นสุดของการ ทางาน การวางแผนโครงการก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวางแผนงานอื่นๆ คือ การกาหนดแนวทางปฏิบัติว่าจะต้องทาอะไรบ้าง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ● เช่นเดียวกับการวางแผนโดยทั่วไป การวางแผนโครงการก็มีขั้นตอนต่างๆ โดยเริ่มจากการกาหนดเป้าหมายของโครงการ ซึ่ง ประกอบด้วยทรัพยากรที่ต้องการ เวลาแล้วเสร็จของโครงการและผลลัพธ์ที่จะได้ การกาหนดและมอบหมายงานให้แก่ผู้มีส่วนร่วม ในโครงการ การประมาณการเวลาที่ต้องใช้และทรัพยากรที่ต้องการในการทากิจกรรมต่างๆ ในโครงการ โดยอาศัย วิธีการพยากรณ์ การวางแผนการใช้เงินตลอดจนการควบคุมงบประมาณให้อยู่ภายในปริมาณที่กาหนด และประการสุดท้ายผู้บริหารโครงการจะต้อง กาหนดนโยบายเพื่อการทากิจกรรมว่า กิจกรรมจะมีผลกระทบต่อการดาเนินโครงการมากที่สุดในแง่ของเวลาที่แล้วเสร็จของ โครงการ และในกรณีที่ต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วขึ้นกว่าที่วางแผนไว้ ผู้บริหารโครงการจะต้องกาหนดว่าควรจะใช้ทรัพยากรใน กิจกรรมใดเพื่อเร่งรัดให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ ผู้บริหารโครงการยังจะต้องกาหนดลาดับการทางาน ก่อนหลังของกิจกรรมต่างๆ ในโครงการว่า จะต้องทากิจกรรมใดก่อนหลังกันอย่างไร
  • 3. เทคนิคการวางแผนโครงการ 1. เทคนิค Gantt Chart เป็นเทคนิคที่ใช้ในการวางแผนเกี่ยวกับเวลาในการปฏิบัติงานย่อย ต่างๆ ในโครงการขนาดเล็ก โดยเป็น bar chart ที่แสดงถึงระยะเวลา คือเวลาเริ่มต้นและ สิ้นสุดของการปฏิบัติงานย่อยแต่ละงาน แสดงลาดับของงานย่อยต่างๆ อย่างชัดเจน 2. เทคนิคการประเมินผลและทบทวนโครงการ (Program Evaluation and Review Technique: PERT) 3. วิธีการหาเส้นทางวิกฤต (Critical Path Method: CPM) เป็นเทคนิคเชิงปริมาณด้านการ วิเคราะห์ข่ายงาน (Network analysis) ที่ใช้กันแพร่หลายในการวางแผนและควบคุมงานที่มี ลักษณะเป็นงานโครงการ
  • 4. 1. เทคนิค Gantt Chart ตัวอย่างที่ 1 โครงการสร้างบ้านหลังหนึ่ง ซึ่งมีกิจกรรมย่อย 7 งาน ดังแสดงในตารางที่ 1 งาน ระยะเวลา (เดือน) งานที่ต้องทาเสร็จก่อน A. ออกแบบบ้าน 1 - B. การวางผังบ้าน 2 A C. สั่งวัตถุดิบและได้รับวัตถุดิบ (ไม้ ปูน หิน) 1 A D. สร้างตัวบ้าน 5 B, C E. ทาสี 1 D F. ตกแต่งภายใน 1 E G. เก็บรายละเอียดทุกส่วน 1 F
  • 5. Gantt Chart แกนตั้ง แสดง กิจกรรมย่อยต่างๆ แกนนอน แสดงระยะเวลาในการปฏิบัติงานตามกิจกรรมย่อย งานย่อย ระยะเวลา (เดือน) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 A B C D E F G
  • 6. 2. เทคนิค PERT/CPM วัตถุประสงค์ในการนาPERT/CPMมาใช้ในการบริหารงานโครงการ มีวัตถุประสงค์ที่สาคัญดังนี้ 1) เพื่อช่วยในด้านการวางแผนโครงการ โดยคานวณระยะเวลาดาเนินงานของโครงการแสดงให้เห็นการดาเนินงานกิจกรรม ย่อยต่าง ๆ อย่างละเอียดว่ากิจกรรมเหล่านั้นควรเริ่มดาเนินงานเมื่อไร ควรเสร็จเรียบร้อยเมื่อใด ตลอดจนสามารถกาหนดได้ ว่ากิจกรรมใดเป็นกิจกรรมที่สาคัญซึ่งจะล่าช้าไปจากกิจกรรมที่กาหนดไว้ไม่ได้ กิจกรรมใดที่ล่าช้าได้ ล่าช้าได้เท่าใด 2) เพื่อช่วยในการควบคุมโครงการ ให้ดาเนินไปตามแผนงานที่กาหนดไว้ ช่วยให้ทราบว่ากิจกรรมที่ควรดูแลควบคุมไม่ให้ช้าไป กว่าที่กาหนดหรือไม่ให้ช้าไปกว่าที่จะช้าได้ เมื่อมีปัญหาในการดาเนินงานกิจกรรมใดเกิดขึ้น จะมองเห็นผลกระทบถึงเวลาของโครงการว่าจะเสร็จเรียบร้อยตามกาหนดหรือไม่ ถ้าทาให้เสร็จช้ากว่ากาหนดก็จะต้อง เตรียมการแก้ไข แต่ถ้าไม่มีผลกระทบต่อกาหนดเวลาของโครงการก็ไม่จาเป็นต้องดาเนินการใดๆ 3) เพื่อใช้ในการบริหารทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ เช่น คนงาน เครื่องมือ อุปกรณ์ เงินทุน ฯลฯ ให้ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ 4) เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ ในกรณีที่มีความจาเป็นต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วกว่ากาหนด ทาให้สามารถระบุได้ว่า จะต้องทากิจกรรมใดบ้าง และกิจกรรมเหล่านั้นจะต้องเร่งให้เสร็จภายในเวลาใด จะต้องใช้ทรัพยากรเพิ่มขึ้นมากน้อย เพียงใด เป็นต้น
  • 7. 2. ขั้นตอนของ PERT/CPM คาว่าโครงการ หมายถึง กลุ่มของงานหรือกิจกรรมย่อยๆ ที่มีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุดตลอดจนมีขั้นตอนการ ทางานที่แน่นอนแต่ละกิจกรรมต้องใช้เวลาและค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน การนาPERT/CPMมาช่วยในการ บริหารโครงการประกอบด้วยขั้นตอนที่สาคัญ 3 ขั้นตอนดังนี้ 1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ 1.2) การสร้างข่ายงาน 1.3) การวิเคราะห์ข่ายงาน
  • 8. 1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ 1.1) การกระจายกิจกรรม ได้แก่ การแจกแจงกิจกรรมย่อยทั้งหมดที่ต้องทาในโครงการ เช่น โครงการสร้างชั้นวาง ของ อาจแจกแจงกิจกรรมที่ต้องทาได้ดังนี้ ● จัดหาอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ ● เลื่อยไม้ ● ไสไม้ให้เรียบ ● ประกอบโครงเหล็ก ● ประกอบชั้นไม้เข้ากับโครงเหล็ก ● ขัดผิวให้เรียบและทาสี
  • 9. 1.1) การศึกษารายละเอียดโครงการ (ต่อ) 1.2) กาหนดลาดับการทางานของกิจกรรม ได้แก่ การระบุความสัมพันธ์ของกิจกรรมต่าง ๆ เช่น จากตัวอย่าง โครงการชั้นวางของข้างต้น จะต้องจัดหาอุปกรณ์ให้ครบก่อน เมื่อครบแล้วจึงเลื่อยไม้และประกอบโครงเหล็กได้ เมื่อเลื่อยไม้ เสร็จแล้วจึงจะทาการไสให้เรียบ และเมื่อประกอบชั้นไม้เข้ากับโครงเหล็กนั้น โครงเหล็กจะต้องประกอบเสร็จก่อน และชั้น ไม้ต้องต้องไสเสร็จเรียบร้อยแล้ว เมื่อประกอบเสร็จเรียบร้อยจึงขัดและทาสีเป็นงานสุดท้าย เป็นต้น 1.3) ประมาณเวลาการดาเนินงานของกิจกรรม เป็นการประมาณเวลาในการดาเนินงานของแต่ละกิจกรรมโดยการ ใช้ประสบการณ์ข้อมูลในอดีต ประกอบกับแนวโน้มในอนาคต ประมาณเวลาที่ใช้ในการดาเนินงานกิจกรรมต่างๆ ที่แจกแจง ไว้ในขั้นตัน ทั้งนี้ PERT/CPMจะมีวิธีการประมาณเวลาของกิจกรรมแตกต่างกัน กล่าวคือ CPM จะมีตัวเลขในการประมาณ ระยะเวลาในการทางานเป็นค่าเดียว เช่น การจัดหาอุปกรณ์ใช้เวลา 3 ชั่วโมง การเลื่อยไม้ใช้เวลา 1 ชั่วโมง เป็นต้น ในขณะ ที่ PERT มักจะใช้กับโครงการใหม่ๆ ซึ่งไม่ค่อยมีตัวเลขข้อมูลในอดีต จึงใช้วิธีการประมาณระยะเวลาทางานที่ Three Time Estimate of PERT โดยแสดงค่าประมาณระยะเวลาทางานของแต่กิจกรรมเป็น 3 ค่า คือ ระยะเวลาอย่างเร็วที่สุด ระยะเวลาอย่างช้าที่สุด และระยะเวลาโดยส่วนมากที่คาดว่าจะใช้ในการทางานกิจกรรมนั้นๆ
  • 10. 1.2) การสร้างข่ายงาน ก่อนที่จะนาเทคนิค CPM หรือ PERT ไปใช้ได้นั้น ก่อนอื่นจะต้องเข้าใจขั้นตอนของเทคนิค CPM และ PERT และสามารถสร้างข่ายงาน (Network) ได้ ข่ายงาน (Network) จะแสดงถึงความสัมพันธ์ของงาน ลาดับของงาน ระยะเวลาที่ใช้ของแต่ละงาน ย่อยซึ่งก่อนที่จะเขียนข่ายงานได้จะต้องเข้าใจความหมายของคาศัพท์บางคาก่อน ได้แก่ งานย่อยหรือกิจกรรม (Task or activity) หมายถึง งานย่อยที่เป็นส่วนหนึ่งของโครงการซึ่งต้องใช้ ทรัพยากร เช่น เวลา วัตถุดิบ คนงาน ฯลฯ โดยจะใช้เครื่องหมายลูกศร ( →) เป็นสัญลักษณ์
  • 12. การวิเคราะห์ข่ายงาน 1. งานวิกฤต (Critical Activity) เป็นงานสาคัญของโครงการที่ผู้ควบคุมโครงการจะต้องควบคุมเป็นพิเศษ เนื่องจากถ้างานวิกฤตไม่เสร็จตามกาหนดจะทาให้โครงการเสร็จล่าช้าได้ 2. งานไม่วิกฤต (Non Critical Activity) เป็นงานที่อาจเริ่มปฏิบัติหรือเสร็จล่าช้ากว่ากาหนดได้ระยะเวลาหนึ่ง โดยไม่ทาให้ทั้งโครงการเสร็จล่าช้าไปด้วย นั่นคือ ทั้งโครงการเสร็จตามกาหนด
  • 13. พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน ในการคานวณหา CPM จาเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ 1. เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (earliest start, ES) หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นทาได้ 2. เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด (earliest finish, EF) หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถทาเสร็จได้ 3. เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด (Latest start, LS) หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นได้ โดยไม่ทาให้เวลา แล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้ 4. เวลาแล้วเสร็จช้าที่สุด (Latest finish, LF) หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถทาเสร็จได้ โดยไม่ทาให้ เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้ 5. TS (Total Slack Time) หมายถึงระยะเวลารวมที่กิจกรรมจะล่าช้าได้โดยไม่มีผลกระกบต่อเวลาโครงการ 6. t หมายถึง เวลาการทางานของกิจกรรม 7. จุดรวม (Merge) คือ จุดเชื่อมที่สิ้นสุดของกิจกรรมมากกว่า 1 กิจกรรม 8. จุดกระจาย (Burst) คือ จุดเชื่อมที่เป็นที่เริ่มต้นของกิจกรรมมากกว่า 1 กิจกรรม
  • 14. ตัวอย่างที่ 2 จงคานวณงานวิกฤต (Critical Activity) จากร้านค้าสะดวกซื้อแห่งหนึ่ง งาน ชื่อกิจกรรม งานที่ ต้องทา เสร็จก่อน ระยะเวลา A ผู้ส่งสินค้าขนสินค้าลง - 10 นาที B ดูรายการสินค้าเบื้องต้น - 3 นาที C ตรวจสอบสินค้า A 10 นาที D จัดเก็บสาเนาเอกสารการขนส่งสินค้า B 5 นาที E ส่งเอกสารการขนส่งสินค้าคืนให้ผู้ส่งสินค้า C, D 4 นาที F จัดเก็บสินค้าไว้ในห้องเก็บ stock สินค้า E 20 นาที
  • 16. จากตัวอย่างที่ 2 วิธีการหาค่า ES EF LS และ LF และงานวิกฤต