SlideShare a Scribd company logo
หัวข้อที่จะพูด 
MPEG ย่อมาจาก Moving Picture Experts Group เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ 
จา พวกวีดีโอ ซึ่งไฟล์วีดีโอที่ได้รับการบีบอัดในแบบ MPEG จะมีคุณภาพในการแสดงภาพที่ดีกว่าวีดีโอ โดย 
ไฟล์ในรูปแบบ MPEG จะถอดรหัสโดยใช้ความสามารถของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ การบีบอัดไฟล์แบบ 
MPEG ได้รับการบีบอัดข้อมูลโดยการเข้ารหัสที่เรียกว่า DCT โดยไฟล์ในแบบ MPEG อาจมีการสูญเสีย 
ข้อมูลบางส่วนจากการบีบอัดแต่ก็เป็นส่วนน้อยมาก
การบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG มี 3 รูปแบบ คือ 
1. MPEG 1โดยปกติแล้วการรับชมภาพยนตร์จากแผ่นซีดี หรือวีดีโอซีดี(VCD) จะเป็น 
รูปแบบการบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG 1 ที่มีความละเอียดของภาพที่ 352 X 240 ที่ 30 
เฟรมต่อวินาที ซึ่งเปรียบได้กับคุณภาพการแสดงผลวีดีโอแบบ VCR video
2.MPEG 2รูปแบบหนึ่งของการบีบอัดไฟล์ที่ได้รับการพัฒนาเทคโนโลยี การบีบอัดมากขึ้น MPEG 2 มีความละเอียดมาก 
ขึ้นภาพที่ออกมามีสัดส่วนที่ใหญ่ขึ้น เท่ากับ 720 x 480 และ 1280 x 720 ที่ 60 เฟรมต่อวินาที โดยคุณภาพเสียงเทียบเท่ากับซีดี ซึ่ง 
มาตรฐานนี้เป็นที่ยอมรับและสามารถเล่นบนหน้าจอโทรทัศน์ในรูปแบบมาตรฐาน NTSC หรือแม้แต่ HDTV ได้ รูปแบบ MPEG 
2 เป็นรูปแบบของวีดีโอในแผ่น DVD ROM โดยสามารถบีบอัดไฟล์วีดีโอความยาว 2 ชั่วโมงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ ในการบันทึกเพียง 2 - 
3 กิ๊กกะไบท์เท่านั้น และการอ่านค่ารหัสไฟล์ MPEG 2 ต้องการเทคโนโลยีที่รองรับการเล่นไฟล์วีดีโอในรูปแบบนี้ด้วย ซึ่งไฟล์ 
MPEG-2 ต้องใช้เทคโนโลยีในการเข้ารหัสที่สูงกว่า
MPEG คืออะไร 
MPEG ย่อมาจาก Moving Picture Experts Group เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ จา พวกวีดีโอ ซึ่งไฟล์วีดีโอที่ 
ได้รับการบีบอัดในแบบ MPEG จะมีคุณภาพในการแสดงภาพที่ดีกว่าวีดีโอ โดยไฟล์ในรูปแบบ MPEG จะถอดรหัสโดยใช้ความสามารถ 
ของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ การบีบอัดไฟล์แบบ MPEG ได้รับการบีบอัดข้อมูลโดยการเข้ารหัสที่เรียกว่า DCT โดยไฟล์ในแบบ 
MPEG อาจมีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนจากการบีบอัดแต่ก็เป็นส่วนน้อยมาก
ความเป็นมาของ MPEG 
หากเราจะย้อนไปดูประวัติศาสตร์ของ MPEG นั้น เราต้องกลับไปยังปี 1987 โดยที่มันถูกสร้างขึ้นมาโดย Motion 
Pictures Expert Group ซึ่งกลุ่มนี้ถือได้เป็นองค์กรที่ต้องการจะนา เทคโนโลยีด้านการบีบอัดข้อมูลวิดีโอออกสู่ตลาดโลก ซึ่ง 
พวกเขาสามารถที่จะสร้าง MPEG-1 ออกมาได้สา เร็จในปี 1992 แต่MPEG-1 นั้นประสบความสา เร็จก็แค่ในระดับหนึ่ง เพราะ 
ด้วยข้อจา กัดของมันด้านความละเอียดที่สามารถทา ได้แค่ 352x288 ในรูปแบบของ Video-CD ที่เรารู้จักกันตามบ้านนั้นเอง และ 
แล้ว MPEG-2 ก็ได้ถือกา เนิดขึ้นในปี 1995 มันเกิดมาจากพื้นฐานของ MPEG-1 นั่นเอง แต่สามารถสร้างความละเอียดได้ 
สูงสุด 720*576 พิกเซล ซึ่งให้ภาพที่ละเอียด และวิดีโอที่คงชัดกว่า จนกระทั่งล่าสุดทาง MPEG ก็ได้คิดค้น MPEG-4 ขึ้นมาใน 
ปี 1999
เราลองมาดูตารางเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีทั้ง 3 แบบ 
MP1 MP4 MP2 
1992 1995 1999 
352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 
(PAL) 352 x 288 720 x 576 720 x 576 
(NTSC) 352 x 288 640 x 480 640 x 480 
48 kHz 96 kHz 96 kHz 
2 8 8 
3 Mbit/sec 80 Mbit/sec . 5 to 10 Mbit/sec 
1380 kbit/s (352 x 288) 6500 kbit/s (720 x 576) 880 kbit/s (720 x 576) 
(PAL) 25 25 25 
(NTSC) 30 30 30 
satisfactory verygood good to very good 
Encoding 
Decoding
มีใครใช้บ้าง
Ogg Vorbis ไม่เกี่ยวกับ MPEG แต่อย่างใด แต่เรื่องมีอยู่ว่า MP3 ได้รับความนิยมมากแบบที่ทุกคนรู้กัน ในปี 
98 สถาบัน Fraunhofer Society ในเยอรมันซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิบัตรวิธีการบีบอัดเสียงใน MP3 ประกาศเตรียมคิดเงินกับ 
ผู้ใช้งาน (ทา ให้ Fedora/Ubuntu ตัดสินใจเอา MP3 ออกเพราะเหตุนี้) จึงมีคนกลุ่มหนึ่งประกาศสร้างสิ่งของที่เท่าเทียมกับ 
MP3 ขึ้นมา แต่ไม่มีลิขสิทธ์ิใดๆ (Public Domain) ซึ่งยิ่งกว่าโอเพ่นซอร์สอีกเพราะว่าโอเพ่นซอร์สมีลิขสิทธ์ิเพียงแต่ 
อนุญาตให้ใช้งานได้ฟรี ปี 2002 Ogg Vorbis 1.0 จึงปรากฎกายออกมา และกลายเป็นหนึ่งในฟอร์แมตออดิโอหลักที่ทุก 
โปรแกรมต้องมี ไฟล์นามสกุล .ogg 
มาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเคียง MP3 ได้ก็มี ATRAC ของโซนี่, AC-3 ของ Dolby Digital, mp3PRO และ 
Windows Media Audio (.wma) ของไมโครซอฟท์
2. MPEG-2 ปี 94 โลกก็พัฒนาขึ้นไปอีกขั้นเมื่อมาตรฐาน MPEG-2 ถูกคิดมาไว้รอรับ DVD ความแตกต่างกับ 
MPEG-1 ก็มีไม่มากนัก ยกเว้นเรื่องการเข้ารหัส/ถอดรหัสที่ใช้วิธีทันสมัยมากขึ้น แผ่นดีวีดีทุกแผ่นที่จับอยู่ก็เก็บข้อมูลเป็น 
MPEG-2
3. MPEG-3 เมื่อเทรนด์HDTV (High Definition TV) มาแรง ซึ่งเมืองนอกเค้าก็แรงจริงเริ่มมีใช้กันแล้ว 
บ้านเราขอแค่สัญญาณไม่ขาดก็ดีแล้ว ทาง MPEG เลยคิดค้นมาตรฐานมาใช้กับ HDTV ด้วย แต่สุดท้ายก็ล้มไป เพราะพบว่า 
แค่ MPEG-2 ที่มีอยู่เดิมก็พอสา หรับ HDTV แล้ว
4. MPEG-4 เป็นส่วนขยายของ MPEG-1 เพื่อรับรูปแบบมัลติมีเดียต่างๆ เช่น 3D หรือการเข้ารหัสที่มีประสิทธิภาพ 
มากขึ้น เช่นเคยว่า MPEG-4 แบ่งออกเป็นหลายส่วนตามหน้าที่แต่ละส่วน และทาง MPEG จะปล่อยให้ผู้ผลิตซอฟท์แวร์ 
เป็นผู้พัฒนาโปรแกรมที่ใช้จริงๆ เอง ไม่จา เป็นต้องตาม MPEG-4 เต็มชุดก็ได้ พัฒนาได้เป็นบางส่วนก็พอ (แบบเดียวกับ MP3 
ที่หยิบแต่ส่วนออดิโอไปทา ) รายละเอียดว่าทั้งหมดมีอะไรบ้าง ดูตามลิงค์ ผมยกมาเฉพาะอันสา คัญๆ
MPEG-4 part 2 รับผิดชอบกับการจัดการวิดีโอ ฟอร์แมตวิดีโอสา คัญๆ หลายตัวอิมพลีเมนต์ตาม 
part 2 นี้ DivX ผู้พัฒนา part2 คนแรกๆ คือไมโครซอฟท์ (.asf) และ DivX ในยุคแรกๆ ก็เป็นเวอร์ชันที่แฮด .asf 
ให้เก็บเป็น .avi ได้ ในภายหลัง DivX ได้แก้ไขให้เป็นอัลกอริทึมของตัวเอง และแจกให้ใช้ฟรี (binary) ส่วน source นั้น 
เป็นกรรมสิทธ์ิของบริษัท DivXNetworks ซึ่งก็ก่อตั้งโดยบรรดาแฮกเกอร์ที่แฮกไมโครซอฟท์นั่นล่ะ ปัจจุบัน DivX 
ได้รับความนิยมสูงมากโดยเฉพาะโลกของหนังที่ริป (เข้ารหัสใหม่) มาจากดีวีดี และอะนิเมแฟนซับ เพราะได้คุณภาพเท่าดีวีดีใน 
ขนาดเท่าซีดี
5. MPEG-7 มาดูมาตรฐานอื่นๆ บ้าง MPEG-7 ไม่ใช่มาตรฐานเกี่ยวกับภาพและเสียงเหมือนอันอื่นๆ แต่เป็น 
มาตรฐานที่ใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวมีเดีย (metadata) เช่น หนังแผ่นนี้ชื่ออะไร หรือถ้าหนังเล่นมาถึงตอนนี้ ให้เล่นเพลงนี้ 
พร้อมขึ้นซับไทเทิลไฟล์นี้ เป็นต้น อิมพลีเมนต์โดย XML
6.MPEG-21 เป็นมาตรฐานมัลติมีเดียในอนาคต ตอนนี้กา ลังร่างกันอยู่ ได้ข่าวผ่านๆ มาว่าจะมุ่งเน้นการใช้งาน 
มัลติมีเดียผ่านเครือข่าย มากกว่าวิธีการแสดงผลแบบใน 1-2-4
MPEG-21 Multimedia Framework (กรอบการทา งานมัลติมีเดีย) 
หลังจากการกา หนดวิธีการตามมาตรฐานที่มีประสทิธิภาพสา หรับการเข้ารหัสและอธิบายเนื้อหา มัลติมัลเดียแล้วMPEGถกู 
คาดหวังว่าจะเป็น ที่นิยมในวงการดิจิทัลมัลติมีเดียแต่ก็ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง ในปี 2000 MPEG หารือเรื่องภาพรวม 
และการนา มาตรฐานไปใช่ และได้รู้ว่าการใช้งานแอปพลิเคชันมัลติมีเดีย ในวงกว้างต้องการมากกว่าการรวมมาตรฐานอัน 
หละหลวม การบริโภคและการพาณิชย์ยังไม่เป็นที่นิยมในวงกว้าง
การพยายามตอบคา ถาม อาทิเช่น “มาตรฐานมัลติมีเดียที่มีอยู่เหมาะสมหรือไม่” 
“เหมาะสมอย่างไร” “มีรายละเอียดองค์ประกอบทางเทคนิค สาหรับการติดต่อแบบ 
มัลติมีเดียหรือไม่” “มาตรฐานไหนที่ตรงกับ ความต้องการมากที่สุด” “ใครจะเป็นผ้ 
ประสานให้ทุกมาตรฐานสามารถทา งานร่วมกันได้” MPEG สรุปว่า จา เป็นต้องระบุ 
ปัญหาของมัลติมิเดียในระดับสูงและพิจารณาห่วงโซ่การบริโภคมัลติมีเดียที่สมบูรณ์และ 
ในที่สดุMPEGก็ตัดสินใจพัฒนามาตรฐานMPEG-21ที่เรียกว่ากรอบการทา งาน 
มัลติมิเดียมเป้าหมายหลัก เพื่อให้เห็นภาพรวมและเพิ่มการใช้ทรัพยากรมัลติมิเดียใน 
เครือข่ายอุปกรณ์และชุมชนในวงกว้างสมมติ มาตรฐานที่สา คัญคือมนุษย์ทุกคนมีศักยภาพ 
ในการเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายรวมถึงผู้ให้บริการเนื้อหา ผู้บริโภค ตัวแทนจา หน่าย ซึ่ง 
หมายความว่า แอปพลิเคชันแบบ client-server, peer-2-peer รวมทั้งความ 
ยืดหยุ่นในการใช้งานก็เป็นส่วนหนึ่ง ของ MPEG-21
ข้อดีข้อจากัด
ข้อมูลอ้างอิง 
http://web.ku.ac.th 
http://www.dlth.in.th

More Related Content

What's hot

detection and disabling of digital camera
detection and disabling of digital cameradetection and disabling of digital camera
detection and disabling of digital camera
Vipin R Nair
 
Multimedia compression
Multimedia compressionMultimedia compression
Multimedia compression
pradeepa velmurugan
 
1982 microprocesador 80286
1982 microprocesador 802861982 microprocesador 80286
1982 microprocesador 80286
Arturo Iglesias Castro
 
Catalogo de partes de la computadora
Catalogo de partes de la computadoraCatalogo de partes de la computadora
Catalogo de partes de la computadora
GuadalupeItzelCastil
 
Audio Digital
Audio DigitalAudio Digital
Audio Digital
Elaine Cecília Gatto
 
Chap6
Chap6Chap6
Lab1_Nhom16-1.pptx
Lab1_Nhom16-1.pptxLab1_Nhom16-1.pptx
Lab1_Nhom16-1.pptx
HuyTrn731488
 
Chapter 3 data representations
Chapter 3 data representationsChapter 3 data representations
Chapter 3 data representations
ABDUmomo
 
Video Compression Basics - MPEG2
Video Compression Basics - MPEG2Video Compression Basics - MPEG2
Video Compression Basics - MPEG2
VijayKumarArya
 
Sdh stm.x
Sdh stm.xSdh stm.x
Sdh stm.x
NTCOM Ltd
 
Evolução dos processadores
Evolução dos processadoresEvolução dos processadores
Evolução dos processadores
Tiago Garcia
 
Chapter 8 Video
Chapter 8 VideoChapter 8 Video
Chapter 8 Video
shelly3160
 
Memórias
MemóriasMemórias
Memórias
Pedro Henrique
 
Sound & Video File Sizes
Sound & Video File SizesSound & Video File Sizes
Sound & Video File Sizes
Forrester High School
 
Modulação Por Fase
Modulação Por FaseModulação Por Fase
Modulação Por Fase
Fábio Seco
 
El cd.pptx
El cd.pptxEl cd.pptx
El cd.pptx
mcarlesp
 
Tipos de cabos
Tipos de cabosTipos de cabos
Tipos de cabos
BrunoXina
 
Curso cctv seguridad actual
Curso cctv seguridad actualCurso cctv seguridad actual
Curso cctv seguridad actual
WILLIAM CORTES BUITRAGO
 
What are graphics cards
What are graphics cardsWhat are graphics cards
What are graphics cards
Usman Hashmi
 
Detecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
Detecção de erros no computador-Arquitetura de ComputadoresDetecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
Detecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
Gabriel Santos
 

What's hot (20)

detection and disabling of digital camera
detection and disabling of digital cameradetection and disabling of digital camera
detection and disabling of digital camera
 
Multimedia compression
Multimedia compressionMultimedia compression
Multimedia compression
 
1982 microprocesador 80286
1982 microprocesador 802861982 microprocesador 80286
1982 microprocesador 80286
 
Catalogo de partes de la computadora
Catalogo de partes de la computadoraCatalogo de partes de la computadora
Catalogo de partes de la computadora
 
Audio Digital
Audio DigitalAudio Digital
Audio Digital
 
Chap6
Chap6Chap6
Chap6
 
Lab1_Nhom16-1.pptx
Lab1_Nhom16-1.pptxLab1_Nhom16-1.pptx
Lab1_Nhom16-1.pptx
 
Chapter 3 data representations
Chapter 3 data representationsChapter 3 data representations
Chapter 3 data representations
 
Video Compression Basics - MPEG2
Video Compression Basics - MPEG2Video Compression Basics - MPEG2
Video Compression Basics - MPEG2
 
Sdh stm.x
Sdh stm.xSdh stm.x
Sdh stm.x
 
Evolução dos processadores
Evolução dos processadoresEvolução dos processadores
Evolução dos processadores
 
Chapter 8 Video
Chapter 8 VideoChapter 8 Video
Chapter 8 Video
 
Memórias
MemóriasMemórias
Memórias
 
Sound & Video File Sizes
Sound & Video File SizesSound & Video File Sizes
Sound & Video File Sizes
 
Modulação Por Fase
Modulação Por FaseModulação Por Fase
Modulação Por Fase
 
El cd.pptx
El cd.pptxEl cd.pptx
El cd.pptx
 
Tipos de cabos
Tipos de cabosTipos de cabos
Tipos de cabos
 
Curso cctv seguridad actual
Curso cctv seguridad actualCurso cctv seguridad actual
Curso cctv seguridad actual
 
What are graphics cards
What are graphics cardsWhat are graphics cards
What are graphics cards
 
Detecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
Detecção de erros no computador-Arquitetura de ComputadoresDetecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
Detecção de erros no computador-Arquitetura de Computadores
 

Similar to Pop

Video Standard
Video StandardVideo Standard
Video Standardguest68091
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
Pipit Sitthisak
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
Samorn Tara
 
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
Boonlert Aroonpiboon
 
Digital Media
Digital MediaDigital Media
Digital Media
Boonlert Aroonpiboon
 
Video with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie MakerVideo with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie Maker
Boonlert Aroonpiboon
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
narin bumpen
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียDuangsuwun Lasadang
 
Digital Content for Web
Digital Content for WebDigital Content for Web
Digital Content for Web
Boonlert Aroonpiboon
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
Rachabodin Suwannakanthi
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นการใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นaejira1 aejira
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชgasanong
 

Similar to Pop (20)

Video Standard
Video StandardVideo Standard
Video Standard
 
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plusการแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
การแปลงไฟล์ Dat เป็นไฟล์ mpeg –1 ด้วย tmpg enc plus
 
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
ใบความรู้ที่่1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวีดีโอ
 
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoese-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
e-Courseware with Microsoft Producer & HotPotatoes
 
Digital Media
Digital MediaDigital Media
Digital Media
 
Video with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie MakerVideo with Windows Movie Maker
Video with Windows Movie Maker
 
Multimedia 1
Multimedia 1Multimedia 1
Multimedia 1
 
Chapter02 multi1
Chapter02 multi1Chapter02 multi1
Chapter02 multi1
 
Chapter02 multi1
Chapter02 multi1Chapter02 multi1
Chapter02 multi1
 
บทที่ 8 เสียง
บทที่ 8 เสียงบทที่ 8 เสียง
บทที่ 8 เสียง
 
Lecture01_Introduction
Lecture01_IntroductionLecture01_Introduction
Lecture01_Introduction
 
ข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดียข้อมูลมัลติมีเดีย
ข้อมูลมัลติมีเดีย
 
Intro premierepro
Intro premiereproIntro premierepro
Intro premierepro
 
Digital Content for Web
Digital Content for WebDigital Content for Web
Digital Content for Web
 
Online Video Format Experiment
Online Video Format ExperimentOnline Video Format Experiment
Online Video Format Experiment
 
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้นการใช้งาน Facebook เบื้องต้น
การใช้งาน Facebook เบื้องต้น
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
Computer System for CIO
Computer System for CIOComputer System for CIO
Computer System for CIO
 
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราชสื่อดิจิตอล อ.เหมราช
สื่อดิจิตอล อ.เหมราช
 

Pop

  • 1.
  • 2. หัวข้อที่จะพูด MPEG ย่อมาจาก Moving Picture Experts Group เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ จา พวกวีดีโอ ซึ่งไฟล์วีดีโอที่ได้รับการบีบอัดในแบบ MPEG จะมีคุณภาพในการแสดงภาพที่ดีกว่าวีดีโอ โดย ไฟล์ในรูปแบบ MPEG จะถอดรหัสโดยใช้ความสามารถของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ การบีบอัดไฟล์แบบ MPEG ได้รับการบีบอัดข้อมูลโดยการเข้ารหัสที่เรียกว่า DCT โดยไฟล์ในแบบ MPEG อาจมีการสูญเสีย ข้อมูลบางส่วนจากการบีบอัดแต่ก็เป็นส่วนน้อยมาก
  • 3. การบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG มี 3 รูปแบบ คือ 1. MPEG 1โดยปกติแล้วการรับชมภาพยนตร์จากแผ่นซีดี หรือวีดีโอซีดี(VCD) จะเป็น รูปแบบการบีบอัดไฟล์ในมาตรฐาน MPEG 1 ที่มีความละเอียดของภาพที่ 352 X 240 ที่ 30 เฟรมต่อวินาที ซึ่งเปรียบได้กับคุณภาพการแสดงผลวีดีโอแบบ VCR video
  • 4. 2.MPEG 2รูปแบบหนึ่งของการบีบอัดไฟล์ที่ได้รับการพัฒนาเทคโนโลยี การบีบอัดมากขึ้น MPEG 2 มีความละเอียดมาก ขึ้นภาพที่ออกมามีสัดส่วนที่ใหญ่ขึ้น เท่ากับ 720 x 480 และ 1280 x 720 ที่ 60 เฟรมต่อวินาที โดยคุณภาพเสียงเทียบเท่ากับซีดี ซึ่ง มาตรฐานนี้เป็นที่ยอมรับและสามารถเล่นบนหน้าจอโทรทัศน์ในรูปแบบมาตรฐาน NTSC หรือแม้แต่ HDTV ได้ รูปแบบ MPEG 2 เป็นรูปแบบของวีดีโอในแผ่น DVD ROM โดยสามารถบีบอัดไฟล์วีดีโอความยาว 2 ชั่วโมงได้โดยใช้ขนาดไฟล์ ในการบันทึกเพียง 2 - 3 กิ๊กกะไบท์เท่านั้น และการอ่านค่ารหัสไฟล์ MPEG 2 ต้องการเทคโนโลยีที่รองรับการเล่นไฟล์วีดีโอในรูปแบบนี้ด้วย ซึ่งไฟล์ MPEG-2 ต้องใช้เทคโนโลยีในการเข้ารหัสที่สูงกว่า
  • 5.
  • 6. MPEG คืออะไร MPEG ย่อมาจาก Moving Picture Experts Group เป็นรูปแบบของการบีบอัดไฟล์ จา พวกวีดีโอ ซึ่งไฟล์วีดีโอที่ ได้รับการบีบอัดในแบบ MPEG จะมีคุณภาพในการแสดงภาพที่ดีกว่าวีดีโอ โดยไฟล์ในรูปแบบ MPEG จะถอดรหัสโดยใช้ความสามารถ ของฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ การบีบอัดไฟล์แบบ MPEG ได้รับการบีบอัดข้อมูลโดยการเข้ารหัสที่เรียกว่า DCT โดยไฟล์ในแบบ MPEG อาจมีการสูญเสียข้อมูลบางส่วนจากการบีบอัดแต่ก็เป็นส่วนน้อยมาก
  • 7. ความเป็นมาของ MPEG หากเราจะย้อนไปดูประวัติศาสตร์ของ MPEG นั้น เราต้องกลับไปยังปี 1987 โดยที่มันถูกสร้างขึ้นมาโดย Motion Pictures Expert Group ซึ่งกลุ่มนี้ถือได้เป็นองค์กรที่ต้องการจะนา เทคโนโลยีด้านการบีบอัดข้อมูลวิดีโอออกสู่ตลาดโลก ซึ่ง พวกเขาสามารถที่จะสร้าง MPEG-1 ออกมาได้สา เร็จในปี 1992 แต่MPEG-1 นั้นประสบความสา เร็จก็แค่ในระดับหนึ่ง เพราะ ด้วยข้อจา กัดของมันด้านความละเอียดที่สามารถทา ได้แค่ 352x288 ในรูปแบบของ Video-CD ที่เรารู้จักกันตามบ้านนั้นเอง และ แล้ว MPEG-2 ก็ได้ถือกา เนิดขึ้นในปี 1995 มันเกิดมาจากพื้นฐานของ MPEG-1 นั่นเอง แต่สามารถสร้างความละเอียดได้ สูงสุด 720*576 พิกเซล ซึ่งให้ภาพที่ละเอียด และวิดีโอที่คงชัดกว่า จนกระทั่งล่าสุดทาง MPEG ก็ได้คิดค้น MPEG-4 ขึ้นมาใน ปี 1999
  • 8. เราลองมาดูตารางเปรียบเทียบระหว่างเทคโนโลยีทั้ง 3 แบบ MP1 MP4 MP2 1992 1995 1999 352 x 288 1920 x 1152 720 x 576 (PAL) 352 x 288 720 x 576 720 x 576 (NTSC) 352 x 288 640 x 480 640 x 480 48 kHz 96 kHz 96 kHz 2 8 8 3 Mbit/sec 80 Mbit/sec . 5 to 10 Mbit/sec 1380 kbit/s (352 x 288) 6500 kbit/s (720 x 576) 880 kbit/s (720 x 576) (PAL) 25 25 25 (NTSC) 30 30 30 satisfactory verygood good to very good Encoding Decoding
  • 10.
  • 11. Ogg Vorbis ไม่เกี่ยวกับ MPEG แต่อย่างใด แต่เรื่องมีอยู่ว่า MP3 ได้รับความนิยมมากแบบที่ทุกคนรู้กัน ในปี 98 สถาบัน Fraunhofer Society ในเยอรมันซึ่งเป็นเจ้าของสิทธิบัตรวิธีการบีบอัดเสียงใน MP3 ประกาศเตรียมคิดเงินกับ ผู้ใช้งาน (ทา ให้ Fedora/Ubuntu ตัดสินใจเอา MP3 ออกเพราะเหตุนี้) จึงมีคนกลุ่มหนึ่งประกาศสร้างสิ่งของที่เท่าเทียมกับ MP3 ขึ้นมา แต่ไม่มีลิขสิทธ์ิใดๆ (Public Domain) ซึ่งยิ่งกว่าโอเพ่นซอร์สอีกเพราะว่าโอเพ่นซอร์สมีลิขสิทธ์ิเพียงแต่ อนุญาตให้ใช้งานได้ฟรี ปี 2002 Ogg Vorbis 1.0 จึงปรากฎกายออกมา และกลายเป็นหนึ่งในฟอร์แมตออดิโอหลักที่ทุก โปรแกรมต้องมี ไฟล์นามสกุล .ogg มาตรฐานอื่นๆ ที่เทียบเคียง MP3 ได้ก็มี ATRAC ของโซนี่, AC-3 ของ Dolby Digital, mp3PRO และ Windows Media Audio (.wma) ของไมโครซอฟท์
  • 12. 2. MPEG-2 ปี 94 โลกก็พัฒนาขึ้นไปอีกขั้นเมื่อมาตรฐาน MPEG-2 ถูกคิดมาไว้รอรับ DVD ความแตกต่างกับ MPEG-1 ก็มีไม่มากนัก ยกเว้นเรื่องการเข้ารหัส/ถอดรหัสที่ใช้วิธีทันสมัยมากขึ้น แผ่นดีวีดีทุกแผ่นที่จับอยู่ก็เก็บข้อมูลเป็น MPEG-2
  • 13. 3. MPEG-3 เมื่อเทรนด์HDTV (High Definition TV) มาแรง ซึ่งเมืองนอกเค้าก็แรงจริงเริ่มมีใช้กันแล้ว บ้านเราขอแค่สัญญาณไม่ขาดก็ดีแล้ว ทาง MPEG เลยคิดค้นมาตรฐานมาใช้กับ HDTV ด้วย แต่สุดท้ายก็ล้มไป เพราะพบว่า แค่ MPEG-2 ที่มีอยู่เดิมก็พอสา หรับ HDTV แล้ว
  • 14. 4. MPEG-4 เป็นส่วนขยายของ MPEG-1 เพื่อรับรูปแบบมัลติมีเดียต่างๆ เช่น 3D หรือการเข้ารหัสที่มีประสิทธิภาพ มากขึ้น เช่นเคยว่า MPEG-4 แบ่งออกเป็นหลายส่วนตามหน้าที่แต่ละส่วน และทาง MPEG จะปล่อยให้ผู้ผลิตซอฟท์แวร์ เป็นผู้พัฒนาโปรแกรมที่ใช้จริงๆ เอง ไม่จา เป็นต้องตาม MPEG-4 เต็มชุดก็ได้ พัฒนาได้เป็นบางส่วนก็พอ (แบบเดียวกับ MP3 ที่หยิบแต่ส่วนออดิโอไปทา ) รายละเอียดว่าทั้งหมดมีอะไรบ้าง ดูตามลิงค์ ผมยกมาเฉพาะอันสา คัญๆ
  • 15. MPEG-4 part 2 รับผิดชอบกับการจัดการวิดีโอ ฟอร์แมตวิดีโอสา คัญๆ หลายตัวอิมพลีเมนต์ตาม part 2 นี้ DivX ผู้พัฒนา part2 คนแรกๆ คือไมโครซอฟท์ (.asf) และ DivX ในยุคแรกๆ ก็เป็นเวอร์ชันที่แฮด .asf ให้เก็บเป็น .avi ได้ ในภายหลัง DivX ได้แก้ไขให้เป็นอัลกอริทึมของตัวเอง และแจกให้ใช้ฟรี (binary) ส่วน source นั้น เป็นกรรมสิทธ์ิของบริษัท DivXNetworks ซึ่งก็ก่อตั้งโดยบรรดาแฮกเกอร์ที่แฮกไมโครซอฟท์นั่นล่ะ ปัจจุบัน DivX ได้รับความนิยมสูงมากโดยเฉพาะโลกของหนังที่ริป (เข้ารหัสใหม่) มาจากดีวีดี และอะนิเมแฟนซับ เพราะได้คุณภาพเท่าดีวีดีใน ขนาดเท่าซีดี
  • 16. 5. MPEG-7 มาดูมาตรฐานอื่นๆ บ้าง MPEG-7 ไม่ใช่มาตรฐานเกี่ยวกับภาพและเสียงเหมือนอันอื่นๆ แต่เป็น มาตรฐานที่ใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวมีเดีย (metadata) เช่น หนังแผ่นนี้ชื่ออะไร หรือถ้าหนังเล่นมาถึงตอนนี้ ให้เล่นเพลงนี้ พร้อมขึ้นซับไทเทิลไฟล์นี้ เป็นต้น อิมพลีเมนต์โดย XML
  • 17. 6.MPEG-21 เป็นมาตรฐานมัลติมีเดียในอนาคต ตอนนี้กา ลังร่างกันอยู่ ได้ข่าวผ่านๆ มาว่าจะมุ่งเน้นการใช้งาน มัลติมีเดียผ่านเครือข่าย มากกว่าวิธีการแสดงผลแบบใน 1-2-4
  • 18. MPEG-21 Multimedia Framework (กรอบการทา งานมัลติมีเดีย) หลังจากการกา หนดวิธีการตามมาตรฐานที่มีประสทิธิภาพสา หรับการเข้ารหัสและอธิบายเนื้อหา มัลติมัลเดียแล้วMPEGถกู คาดหวังว่าจะเป็น ที่นิยมในวงการดิจิทัลมัลติมีเดียแต่ก็ไม่เป็นไปตามความคาดหวัง ในปี 2000 MPEG หารือเรื่องภาพรวม และการนา มาตรฐานไปใช่ และได้รู้ว่าการใช้งานแอปพลิเคชันมัลติมีเดีย ในวงกว้างต้องการมากกว่าการรวมมาตรฐานอัน หละหลวม การบริโภคและการพาณิชย์ยังไม่เป็นที่นิยมในวงกว้าง
  • 19. การพยายามตอบคา ถาม อาทิเช่น “มาตรฐานมัลติมีเดียที่มีอยู่เหมาะสมหรือไม่” “เหมาะสมอย่างไร” “มีรายละเอียดองค์ประกอบทางเทคนิค สาหรับการติดต่อแบบ มัลติมีเดียหรือไม่” “มาตรฐานไหนที่ตรงกับ ความต้องการมากที่สุด” “ใครจะเป็นผ้ ประสานให้ทุกมาตรฐานสามารถทา งานร่วมกันได้” MPEG สรุปว่า จา เป็นต้องระบุ ปัญหาของมัลติมิเดียในระดับสูงและพิจารณาห่วงโซ่การบริโภคมัลติมีเดียที่สมบูรณ์และ ในที่สดุMPEGก็ตัดสินใจพัฒนามาตรฐานMPEG-21ที่เรียกว่ากรอบการทา งาน มัลติมิเดียมเป้าหมายหลัก เพื่อให้เห็นภาพรวมและเพิ่มการใช้ทรัพยากรมัลติมิเดียใน เครือข่ายอุปกรณ์และชุมชนในวงกว้างสมมติ มาตรฐานที่สา คัญคือมนุษย์ทุกคนมีศักยภาพ ในการเป็นส่วนหนึ่งของเครือข่ายรวมถึงผู้ให้บริการเนื้อหา ผู้บริโภค ตัวแทนจา หน่าย ซึ่ง หมายความว่า แอปพลิเคชันแบบ client-server, peer-2-peer รวมทั้งความ ยืดหยุ่นในการใช้งานก็เป็นส่วนหนึ่ง ของ MPEG-21