SlideShare a Scribd company logo
อาเซียนเปนกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่มีความใกลชิด
กับไทยมากที่สุด และจัดเปนตลาดที่สำคัญของไทยตลาดหนึ่งดวยจำนวน
ประชากรกวา 560 ลานคน ปจจุบันอาเซียนใหความสำคัญกับการจัดตั้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเรงรัดการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในอาเซียนใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ
การลงทุน แรงงานฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น
สมดังเจตนารมณที่ผูนำอาเซียนไดประกาศไวตามปฏิญญาเซบูวาดวยการ
เรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เมื่อเดือนมกราคม 2550
การศึกษาแนวทางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจึงเปน
สิ่งสำคัญที่จะชวยสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพัฒนาการดานเศรษฐกิจ
ของอาเซียน และแผนงานสำคัญของอาเซียนที่จะตองดำเนินการเพื่อไปสู
เปาหมายการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะชวยใหทุกภาคสวนที่
เกี่ยวของเตรียมความพรอมและสามารถใชประโยชนจากโอกาสที่มีอยูเดิมและ
ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกลไดอยางเต็มที่ รวมทั้งสามารถปรับตัวเพื่อ
รองรับกับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ
กรมเจรจาการคาระหวางประเทศหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลม
นี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงสาธารณชนทั่วไป
ที่จะใชเปนแนวทางประกอบการดำเนินงานในสวนที่เกี่ยวของ และสรางความ
พรอมใหกับทุกทานในการกาวเดินไปพรอมๆ กันสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนดวยกาวยางที่มั่นคง
กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ
พฤษภาคม 2551
ความเปนมา
อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปน
องคกรที่กอตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีประเทศ
สมาชิกรวม 10 ประเทศ แบงเปนประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ
บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย และ
ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม
หรือเรียกสั้นๆ วา กลุม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam)
วัตถุประสงคของการกอตั้ง
อาเซียนกอตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกเพื่อสรางสันติภาพใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และ
ความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการคา
ระหวางประเทศในโลกมีแนวโนมกีดกันการคารุนแรงขึ้น ทำใหอาเซียนไดหัน
มามุงเนนกระชับและขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาระหวางกันมาก
ขึ้น อยางไรก็ตาม ก็ยังคงไวซึ่งวัตถุประสงคหลัก 3 ประการ ดังนี้
- สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค
- รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค
- ใชเปนเวทีแกไขปญหาความขัดแยงภายในภูมิภาค
6 7
อาเซียนครบรอบ 40 ปของการจัดตั้งในวันที่ 8 สิงหาคม 2550
โดยมีคำขวัญที่ตั้งขึ้นจากเวทีการประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน เมื่อ
เดือนกรกฎาคม 2549 และใชกันทั่วอาเซียน วา “one ASEAN at the heart
of dynamic Asia” ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน
ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงและความทาทายใหมๆ ในภูมิภาค โดยมี
การจัดประกวดตราสัญลักษณการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 40 ป แหง
การกอตั้งอาเซียนภายใต theme ดังกลาวเพื่อใชตราสัญลักษณนี้ทั่วอาเซียน
ตราสัญลักษณการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 40 ป แหงการกอตั้ง
อาเซียน ออกแบบโดย Mr. Haji Othman bin Haji Salleh ซึ่งเปนผูออก
แบบชาวบรูไนฯ
ความหมาย : ผูออกแบบไดอธิบายวา ไดนำตัวเลข 40 เขามาเปน
สวนหนึ่งของสัญลักษณ โดยออกแบบเลข 4 ไขวกันเปนรูปหัวใจ สะทอนถึง
ความกลมกลืนความกาวหนาและการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง รูปหัวใจยัง
แสดงออกถึงภาพของการเปนประชาคมอาเซียนที่มีความเอื้ออาทรและแบงปน
อีกทั้งไดนำสีของอาเซียนไดแกสีน้ำเงิน(สันติภาพ,เสถียรภาพ)สีแดง(พลวัตร),
สีขาว (ความบริสุทธิ์) และสีเหลือง (ความเจริญรุงเรือง) และตราสัญลักษณ
ของอาเซียน เพื่อสะทอนถึงจุดมุงหมายและคุณคาพื้นฐานของอาเซียน
ตลอดจนแสดงถึงความมุงมั่นของอาเซียนที่จะรวมตัวเปนประชาคมเดียวกัน
“ที่จะเปนไป…”
ตลอดระยะเวลาที่ผานมาการดำเนินงานความรวมมือดานเศรษฐกิจ
ของอาเซียนมีความคืบหนามาตามลำดับ ไมวาจะเปนการจัดทำเขตการคาเสรี
อาเซียนซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแตป 2535 การเจรจาเพื่อเปดตลาดการคาบริการ
และการลงทุนในภูมิภาค จนถึงปจจุบัน ผูนำอาเซียนไดมุงใหความสำคัญกับ
การดำเนินการเพื่อนำไปสูการเปนประชาคมอาเซียน หรือ ภายในป 2558
(ค.ศ. 2015) ซึ่งเร็วขึ้นกวากำหนดการเดิมที่ผูนำอาเซียนไดเคยประกาศแสดง
เจตนารมณไวตามแถลงการณบาหลี ถึง 5 ป
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) ประกอบไป
ดวย 3 เสาหลักคือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยมีกฎบัตรอาเซียน
(ASEAN Charter) เปนกรอบหรือพื้นฐานทางกฎหมายรองรับ ซึ่งจะสราง
กฎเกณฑสำหรับองคกรอาเซียนใหสมาชิกมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม
(Legal Binding)
ในสวนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community: AEC) ซึ่งเปนเสาหลักที่จะเปนพลังขับเคลื่อนใหเกิดการรวมตัว
ทางเศรษฐกิจของอาเซียน ภายในป 2558 เพื่อนำไปสูการเปนตลาดและฐาน
การผลิตรวมกัน (Single Market and Single Production base) และจะมี
การเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินลงทุน และแรงงานฝมืออยาง
เสรี รวมทั้งผูบริโภคสามารถเลือกสรรสินคา/บริการไดอยางหลากหลายภายใน
ภูมิภาค และสามารถเดินทางในอาเซียนไดอยางสะดวกและเสรีมากยิ่งขึ้น
ซึ่งนับเปนความทาทายที่สำคัญของอาเซียนที่จะตองรวมแรงรวมใจและ
ชวยกันนำพาอาเซียนไปสูเปาหมายที่ตั้งไว
8 9
ความสำเร็จในชวงที่ผานมา:
“AFTA (1992)…เขตการคาเสรีอาเซียน”
ความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนของอาเซียนไดเริ่มขึ้นในป 2535
เมื่อผูนำอาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงแมบทวาดวยการขยายความรวม
มือทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Framework Agreement on Enhancing
ASEAN Economic Cooperation) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนาม
ความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสำหรับเขตการคาเสรี
อาเซียน [Agreement on the Common Effective Preferential Tariff
(CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA)] เปน
การประกาศเริ่มตนการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade
Area : AFTA) ครอบคลุมสินคาอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป และสินคาเกษตร
ไมแปรรูป โดยมีความยืดหยุนใหแกสินคาออนไหวได
10 11
เปาหมายการลดภาษีภายใตอาฟตา
“AFAS (1995)…ความตกลงดานการคาบริการของอาเซียน”
สมาชิกอาเซียนไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของการคาบริการ ซึ่งมี
บทบาทสำคัญตอเศรษฐกิจมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงไดรวมกันจัดทำและลงนาม
ยอมรับ “กรอบความตกลงวาดวยบริการของอาเซียน (ASEAN Framework
Agreement on Services: AFAS)” เมื่อเดือนธันวาคม 2538 และมีผลบังคับ
ใชเมื่อป 2539 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
1) ขยายความรวมมือในการคาบริการบางสาขาที่ชวยเพิ่มความ
สามารถในการแขงขันใหสมาชิกอาเซียนมากขึ้น
2) ลดอุปสรรคการคาบริการระหวางสมาชิก
3) เปดตลาดการคาบริการระหวางกลุมใหมากขึ้น โดยมีเปาหมาย
ที่จะเปดเสรีอยางเต็มที่ในป 2558 (ค.ศ.2015)
เงื่อนไขการไดรับสิทธิประโยชนอาฟตา
1. ตองเปนสินคาที่อยูในบัญชีลดภาษีหรือ Inclusion List (IL) ของ
ทั้งประเทศผูสงออกและนำเขา
2. เปนสินคาที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่งหรือ
มากกวาหนึ่งประเทศ (ASEAN Content) รวมกันแลวคิดเปนมูลคา
อยางนอยรอยละ 40 ของมูลคาสินคา (แตกอน อาเซียนเคยกำหนด
วาสินคาจากประเทศสมาชิกอาเซียนใดประเทศหนึ่งจะไดรับสิทธิ
ประโยชนอาฟตาเมื่อสงออกไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอีก
ประเทศหนึ่ง ก็ตอเมื่อสินคานั้นมีสัดสวนการผลิต (local content)
ภายในประเทศสมาชิกผูสงออกไมต่ำกวารอยละ 40 ตอมาอาเซียน
ไดผอนคลายขอกำหนดดังกลาว โดยนำกฎวาดวยแหลงกำเนิดสินคา
แบบสะสมบางสวน (Partial Cumulation) มาใช (สัดสวนขั้นต่ำ
รอยละ 20) ตัวอยางเชน เวียดนามสงสินคาที่มี local content 20%
มาไทย เวียดนามจะไมรับสิทธิประโยชนอาฟตาจากไทย แตไทย
สามารถนำสินคาดังกลาวของเวียดนามมาใส local content ของ
ไทยเพิ่ม หากเพิ่มจนถึง 40% และสงออกไปประเทศสมาชิกอาเซียน
อื่น ไทยก็จะไดรับสิทธิประโยชนภายใตกรอบอาฟตา)
3. ลาสุดอาเซียนไดเริ่มนำกฎการแปลงสภาพอยางเพียงพอ(Substantial
Transformation) มาใช กลาวคือ สินคาที่แปรรูปไปจากวัตถุดิบอยาง
มาก โดยในกรณีที่มีประเทศที่เกี่ยวของกับการผลิตมากกวาหนึ่ง
ประเทศจะถือวาสินคานั้นมีแหลงกำเนิดจากประเทศสุดทายที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยางมากเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนพิกัด
ศุลกากร โดยนำมาใชกับสินคาบางประเภทแลว ไดแก สิ่งทอและ
เครื่องนุงหม แปงขาวสาลี ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑอลูมิเนียม และ
เหล็ก เปนตน
12 13
นอกเหนือจากการเปดตลาดการคาบริการในกรอบ AFAS แลว
สมาชิกอาเซียนยังตองเรงรัดเปดตลาดในสาขาบริการที่เปนสาขาบริการสำคัญ
(Priority Sectors) 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยี
สารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการทองเที่ยว และสาขาการบิน ภายใน
ป 2553 (ค.ศ. 2010) สาขาบริการโลจิสติกส ภายในป 2556 (ค.ศ. 2013)
และเปดเสรีบริการสาขาอื่นๆ ทุกสาขา (non priority sectors) ภายใน
ป 2558 (ค.ศ. 2015)
“AIA (1998)…เขตการลงทุนอาเซียน”
อาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงวาดวยเขตการลงทุนอาเซียน
(Framework Agreement on the ASEAN Investment Area: AIA)
ในป 2541 (ค.ศ. 1998) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหอาเซียนเปนแหลงดึงดูด
การลงทุน ทั้งจากภายในและภายนอกอาเซียน และมีบรรยากาศการลงทุน
ที่เสรีและโปรงใส ทั้งนี้ จะครอบคลุมเฉพาะการลงทุนโดยตรงในสาขาการผลิต
เกษตร ประมง ปาไม เหมืองแร และบริการที่เกี่ยวของกับ 5 สาขาดังกลาว
(servicesincidental)แตไมรวมการลงทุนในหลักทรัพย(PortfolioInvestment)
เปาหมาย
อาเซียนเดิม 6 ประเทศ มีเปาหมายเปดเสรีการลงทุนและใหการ
ประติบัติเยี่ยงคนชาติแกนักลงทุนอาเซียน ภายในป ค.ศ. 2010 และสำหรับ
ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม (CLMV) ภายในป ค.ศ. 2015
หลักการสำคัญของ AFAS
- สมาชิกทุกประเทศตองเขารวมการเจรจาเปนรอบๆ ละ 3 ป ซึ่ง
ภายหลังไดลดลงเหลือรอบละ 2 ป แทน เพื่อทยอยผูกพันการ
เปดตลาดใหมากขึ้นทั้งสาขา (sector) และรูปแบบการใหบริการ
(mode of supply) รวมถึงลดขอจำกัดที่เปนอุปสรรคตอผูให
บริการในกลุมสมาชิก
- แตละประเทศยังมีสิทธิในการออกกฎระเบียบภายในประเทศ
ของตนเพื่อกำกับดูแลธุรกิจบริการใหมีคุณภาพได
- สมาชิกอาเซียนตองเปดตลาดธุรกิจบริการใหแกกันมากกวาที่
แตละประเทศไดมีขอตกลงไวกับองคการการคาโลก (WTO)
ที่ผานมามีการเจรจาไปแลว 4 รอบ โดยการเจรจาสองรอบแรก
(2539-2541 และ 2542-2544) มุงเนนการเปดเสรีใน 7 สาขาบริการ คือ
สาขาการเงิน การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การสื่อสาร
โทรคมนาคม การทองเที่ยว การกอสราง และสาขาบริการธุรกิจ ตอมาใน
การเจรจารอบที่ 3 (2545-2547) และรอบที่ 4 (2548-2549) ไดมีการขยาย
ขอบเขตการเจรจาเปดเสรีใหรวมทุกสาขาบริการ และนอกเหนือจากการเปด
ตลาดรวมใน 7 สาขา ขางตนแลว ยังไดริเริ่มวิธีเจรจาเปดตลาดการคาบริการ
ตามหลักการ ASEAN-X ดวย กลาวคือ ประเทศสมาชิกตั้งแต 2 ประเทศ
ขึ้นไปที่มีความพรอมจะเปดเสรีสาขาบริการใดใหแกกันมากขึ้นก็สามารถ
กระทำกอนได และเมื่อประเทศอื่นมีความพรอมจึงคอยเขามารวม โดยหวัง
วาวิธีนี้จะชวยใหการเปดตลาดเปนไปดวยความรวดเร็วมากขึ้น
ขณะนี้ อยูระหวางการเจรจารอบที่ 5 (1 มกราคม 2550 - 31
ธันวาคม 2551) โดยในหลักการจะมีการขยายจำนวนประเภทธุรกิจในแตละ
สาขาบริการเพื่อเปดตลาดระหวางสมาชิกใหมากกวารอบที่ผานมา พรอมทั้ง
เปดตลาดในเชิงลึกใหมากขึ้น โดยการเจรจารอบตอไปจะเปนการเจรจารอบ
ที่ 6 ระหวางป 2552-2553 และใหมีการเจรจาเปนรอบๆ ตอไปจนบรรลุ
เปาหมายการเปดตลาดในป 2558
14 15
“AICO (1996)…ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน”
ความรวมมือภายใตโครงการ AICO (ASEAN Industrial
Cooperation: AICO) มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตสินคา
อุตสาหกรรมของอาเซียน และสนับสนุนการแบงการผลิตภายในอาเซียน รวม
ถึงการใชวัตถุดิบภายในภูมิภาค
เงื่อนไขการดำเนินการ
1) ผูประกอบการอยางนอย 1 รายในประเทศอาเซียนประเทศหนึ่ง
รวมมือกับผูประกอบการ อีกอยางนอย 1 ราย ในอีกประเทศ
อาเซียนหนึ่ง (สามารถมีประเทศที่เขารวมโครงการไดมากกวา
2 ประเทศ) ยื่นคำรองขอรับสิทธิประโยชนภายใต AICO ตอ
หนวยงานที่แตละประเทศกำหนด ซึ่งในสวนของไทย คือ สำนักงาน
เศรษฐกิจอุตสาหกรรม
2) ตองมีหุนคนชาติที่บริษัทนั้นตั้งอยูอยางนอยรอยละ 30
3) ตองชี้แจงเหตุผลวาจะรวมมือกันอยางไร
สิทธิประโยชน
1) ในป 2548 สินคาและวัตถุดิบที่ใชในการผลิตภายใตโครงการ
AICO เสียภาษีนำเขาในอัตรารอยละ 0
2) สินคานั้นไดรับการยอมรับเสมือนเปนสินคาที่ผลิตในประเทศ
3) สามารถขอรับสิทธิประโยชนที่มิใชภาษีไดตามหลักเกณฑและ
เงื่อนไขของประเทศที่ใหสิทธิประโยชน
4) ไมถูกจำกัดดวยระบบโควตาหรือมาตรการกีดกันทางการคาที่
มิใชภาษี
หลักการที่สำคัญภายใต AIA
1) หลักการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT)
หมายถึง ประเทศสมาชิกจะตองใหการ ปฏิบัติตอนักลงทุน
อาเซียนเทาเทียมกับที่ปฏิบัติตอนักลงทุนที่เปนคนชาติตน ทั้งนี้
นักลงทุนอาเซียนหมายถึง บุคคลธรรมดาที่เปนคนชาติ
(national) ของประเทศสมาชิกอาเซียน หรือ นิติบุคคลใดของ
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ลงทุนในประเทศสมาชิกอื่น โดยมี
สัดสวนการถือหุนของคนชาติอาเซียนรวมกันแลวอยางนอย
ที่สุดเทากับสัดสวนขั้นต่ำที่กำหนดใหเปนหุนคนชาติ และสัดสวน
การถือหุนประเภทอื่นตามที่กำหนดไวในกฎหมายภายในและ
นโยบายของชาติที่มีการพิมพเผยแพรของประเทศที่รับการลงทุน
ในสวนที่เกี่ยวของกับการลงทุนนั้นๆ
2) หลักการวาดวยการเปดตลาด (Opening-up of industries)
หมายถึง ประเทศสมาชิกจะตองเปดเสรีทุกอุตสาหกรรมแก
นักลงทุนสัญชาติอาเซียน แตมีขอยกเวนได โดยประเทศ
สมาชิกจะตองยื่นรายการประเภทกิจการที่ขอยกเวนชั่วคราว
(Temporary Exclusion List :TEL) และรายการประเภทกิจการ
ที่มีความออนไหว (Sensitive List: SL) ได แตตองมีการทบทวน
เพื่อยกเลิกรายการดังกลาว
อาเซียนอยูระหวางพิจารณาทบทวนกรอบความตกลง AIA ใหเปน
ความตกลงที่มีความครอบคลุมมากขึ้น (comprehensive) โดยจะรวมกรอบ
ความตกลง AIA เดิมเขากับความตกลงเพื่อสงเสริมและคุมครองการลงทุน
(The ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of
Investments) ป 2530 (ค.ศ. 1987) เพื่อปรับปรุงใหเปนความตกลงที่
เอื้อตอการดึงดูดการลงทุนโดยตรง (FDI) จากตางประเทศ
16 17
ทำอยางไรเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก?
กระบวนการระงับขอพิพาทใหมของอาเซียน…
อาเซียนไดปรับปรุงกลไกการระงับขอพิพาทเดิมที่มีอยูใหมีความ
ชัดเจนมากขึ้น โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM) ไดลงนามในพิธีสาร
วาดวยกลไกการระงับขอพิพาทของอาเซียนฉบับใหม (ASEAN Protocol on
Enhanced Dispute Settlement Mechanism) ไปเมื่อเดือนพฤศจิกายน
2547 ที่ประเทศลาว
ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสิทธิใชกระบวนการระงับขอพิพาทใหม
ของอาเซียนได เมื่อเห็นวาประเทศสมาชิกอื่นใชมาตรการที่ขัดตอความ
ตกลงของอาเซียน โดยในขั้นแรก สามารถขอหารือกับประเทศสมาชิกคูกรณี
หากไมสามารถตกลงกันได ในขั้นตอไป ก็สามารถขอจัดตั้งคณะผูพิจารณา
(panel) เพื่อพิจารณาตัดสินคดี ซึ่งถาหากคำตัดสินของคณะ ผูพิจารณายัง
ไมเปนที่พอใจ ประเทศที่เปนฝายโจทยก็สามารถยื่นอุทธรณคำตัดสินของ
คณะผูพิจารณาได โดยใหองคกรอุทธรณ (appellate body) เปนผูพิจารณา
ประเทศสมาชิกที่เปนฝายแพคดีตองปฏิบัติตามคำตัดสินของคณะผูพิจารณา
หรือองคกรอุทธรณ อีกทั้งยังตองเปนผูออกคาใชจายในการพิจารณาคดีดวย
ทั้งนี้ การดำเนินงานในแตละขั้นตอนไดมีกรอบเวลากำหนดไวอยางชัดเจน
แตรวมทั้งสิ้นแลวตองไมเกิน 445 วัน
18 19
ระบบการระงับขอพิพาทอื่น ๆ ของอาเซียน…
นอกจากนั้น อาเซียนยังไดปรับปรุงกลไกการดำเนินงานใหมีระบบ
การระงับขอพิพาทอื่น ทั้งในลักษณะของการใหคำปรึกษาหารือและชี้แนะแนว
ทางแกไขปญหา ดังนี้
1. จัดตั้งหนวยงานดานกฎหมาย (ASEAN Legal Unit) ขึ้น ณ
สำนักเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อ
ใหคำปรึกษาหารือและการตีความกฎหมายและความตกลง/
พิธีสารฉบับตาง ๆ ของอาเซียน
2. จัดตั้งหนวยงานกำกับดูแลแกไขปญหาการคาและการลงทุนของ
อาเซียนทางอินเตอรเน็ต (ASEAN Consultations to Solve
Trade and Investment Related Issues - ACT) เพื่อชวย
แกไขปญหาการคาและการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน
โดยใชวิธีการติดตอประสานงานทางอินเตอรเน็ต เปนการลด
ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการเพื่อแกไขปญหาใหลุลวง โดย
NationalAFTAUnitของไทยคือกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ
กระทรวงพาณิชย ซึ่งรับผิดชอบในฐานะเปน ACT Focal Point
และติดตอไดที่ thailand_act@dtn.go.th
3. จัดตั้งคณะผูติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานของอาเซียน
(ASEAN Compliance Body - ACB) เพื่อกำกับดูแลให
ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามพันธกรณีตางๆ ที่มีอยูอยางจริงจัง
โดยสมาชิกอาเซียนมีสิทธิแตงตั้งผูแทน ACB ไดประเทศ
ละ 1 คน สำหรับไทย ไดแตงตั้งอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวาง
ประเทศเปนผูแทนใน ACB
20 21
วิวัฒนาการสำคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน:
พัฒนาการในดานแนวคิดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน
ไดเกิดขึ้นอยางชัดเจนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4
พฤศจิกายน 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ผูนำอาเซียนได
เห็นชอบใหอาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อไปสูเปาหมายที่
ชัดเจน ไดแก การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งอาจเปนไปในทำนอง
เดียวกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มตน โดยมีลำดับพัฒนาการ
ที่สำคัญ ดังนี้
22 23
ป การดำเนินการ
2546 - ผูนำอาเซียนประกาศแถลงการณ Bali Concord II เห็น
ชอบที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
ซึ่งประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ความมั่นคง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม ภายในป ค.ศ. 2020
2547 - ผูนำอาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการรวม
กลุมสาขาสำคัญของอาเซียนและรัฐมนตรีเศรษฐกิจ
อาเซียนไดลงนามในพิธีสารรายฉบับ รวม 11 ฉบับ
ซึ่งมี Roadmap เพื่อการรวมกลุมสาขาสำคัญเปน
ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนำรองการรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจใน 11 สาขาสำคัญกอน (เกษตร/ ประมง/
ผลิตภัณฑไม/ ผลิตภัณฑยาง/ สิ่งทอและเครื่องนุงหม/
ยานยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ สุขภาพ/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/
การทองเที่ยว/ การบิน)
2548 - เจาหนาที่อาวุโสดานเศรษฐกิจอาเซียนพิจารณาทบทวน
ปรับปรุงแผนงานการรวมกลุมสาขาสำคัญของอาเซียนใน
ระยะที่ 2 เพื่อปรับปรุงมาตรการตางๆ ใหมีประสิทธิภาพ
และรวมขอเสนอของภาคเอกชน
2549 - รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามในกรอบความตกลงวา
ดวยการรวมกลุมสาขาสำคัญของอาเซียน และพิธีสารวา
ดวยการรวมกลุมสาขาสำคัญ (ฉบับแกไข)
ม.ค. 2550 - ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบูวาดวยการเรงรัด
การจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในป ค.ศ. 2015 เพื่อ
เรงรัดเปาหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้นอีก
5 ป จากเดิมที่กำหนดไวในป ค.ศ. 2020
ป การดำเนินการ
- ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบูวาดวยแผน
แมบทสำหรับกฎบัตรอาเซียน เพื่อสรางนิติฐานะให
อาเซียนและปรับปรุงกลไก/กระบวนการดำเนินงานภายใน
ของอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน
ส.ค. 2550 - รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามในพิธีสารวาดวยการ
รวมกลุมสาขาโลจิสติกสของอาเซียน โดยมี Roadmap
เพื่อการรวมกลุมสาขาโลจิสติกสเปนภาคผนวก ซึ่งจะเปน
สาขาสำคัญลำดับที่ 12 ที่อาเซียนจะเรงรัดการรวมกลุม
ใหแลวเสร็จโดยเร็ว
พ.ย. 2550 - ผูนำอาเซียนลงนามในปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีแผนการดำเนินงาน
(AEC Blueprint) และตารางเวลาดำเนินงาน (Strategic
Schedule) เปนเอกสารผนวก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
สรางอาเซียนใหเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เพิ่มขีด
ความสามารถในการแขงขัน ลดชองวางการพัฒนา
ระหวางประเทศสมาชิก และสงเสริมการรวมตัวของ
อาเซียนเขากับประชาคมโลก
24 25
แนวทางนำรองสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน:
“การเรงรัดการรวมกลุม 12 สาขาสำคัญของอาเซียน”
แนวทางการนำรองการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเริ่มตนจากการ
ทดลองเรงรัดการรวมกลุมใน 12 สาขาสำคัญของอาเซียน (12 Priority
Integration Sectors) มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหเกิดการเคลื่อนยายสินคา
และบริการในสาขาตางๆ ดังกลาวไดอยางเสรี และสรางการรวมกลุมในดาน
การผลิตและการจัดซื้อวัตถุดิบ เพื่อสงเสริมการเปนฐานการผลิตรวมของ
อาเซียน และมีการใชทรัพยากรตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
การดำเนินการ
กำหนดประเทศผูประสานงานหลัก (Country Coordinators) ในแต
ละสาขา ดังนี้
26 27
3. การปรับปรุงกฎวาดวยแหลงกำเนิดสินคาใหมีความโปรงใส มี
มาตรฐานที่เปนสากลและอำนวยความสะดวกใหแกภาคเอกชน
มากขึ้น ขณะนี้ นอกเหนือจากกฎ 40% value-added content
แลว อาเซียนไดพัฒนาการคิดแหลงกำเนิดสินคาโดยวิธีแปรสภาพ
อยางเพียงพอ (substantial transformation) เพื่อเปนทางเลือก
ในการคำนวณแหลงกำเนิดสินคาใหกับสินคาสิ่งทอ อลูมิเนียม
เหล็กและผลิตภัณฑไมแลวและไดเริ่มใชวิธีการคิดคำนวณแหลง
กำเนิดสินคาแบบสะสมบางสวน (Partial Cumulation ROO)
เพื่อใหการคำนวณสัดสวนวัตถุดิบที่ใชในการผลิตมีความยืดหยุน
มากขึ้น โดยสินคาที่มีสัดสวนการผลิตภายในขั้นต่ำรอยละ 20
สามารถนำมานับรวมในการคิดแหลงกำเนิดสินคาแบบสะสมของ
อาเซียนได เพื่อรับสิทธิประโยชนภายใตอาฟตา
4. การคาบริการ อาเซียนไดเห็นชอบเปาหมายการเปดเสรี
สาขาบริการสำคัญ 5 สาขา (Priority Services Sectors) ไดแก
สาขาการทองเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ และ
สาขาการบิน ภายในป ค.ศ. 2010 สาขาโลจิสติกส ภายใน
ป ค.ศ. 2013 สำหรับสาขาบริการอื่นๆ ไดกำหนดเปาหมายไว
ภายในป ค.ศ. 2015 ซึ่งจะตองเรงเจรจาและจัดทำขอผูกพันในการ
เปดตลาดในแตละรอบของการเจรจาทั้งในดานการเขาสูตลาด
(Market Access) และการใหการประติบัติเยี่ยงคนชาติ
(National Treatment: NT) ซึ่งไดสรุปผลการเจรจารอบที่ 4
(ป 2548-2549) และจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการ
ชุดที่ 5*
ซึ่งรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามพิธีสารอนุวัติ
ความสำคัญของการรวมกลุม 12 สาขา
จากขอมูลสถิติการคาที่ผานมา มูลคาการคาของไทยกับอาเซียน
สำหรับสินคาที่อยูภายใตแผนงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ มีมูลคากวา
รอยละ 50 ของมูลคาการคาทั้งหมดของไทยกับอาเซียน ดังนั้น จึงเปนโอกาส
สำคัญที่ไทยจะตองเรงพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในดานการสงออก
โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความพรอมและมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง
อยางเชน สาขาผลิตภัณฑอาหาร ผลิตภัณฑยานยนต ผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส
รวมถึงสาขาบริการ อาทิ สาขาการทองเที่ยว การบริการสาขาสุขภาพ และ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน เพื่อใชประโยชนจากการรวมกลุมสาขา
สำคัญของอาเซียนไดอยางเต็มที่
แผนงานภายใตการรวมกลุม 12 สาขาสำคัญของอาเซียน
1. การเรงขจัดภาษีสินคาใน 9 สาขาหลัก*
(เกษตร/ ประมง/ ไม/
ยาง/ สิ่งทอ/ ยานยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/
สาขาสุขภาพ) ใหเร็วขึ้นจากกรอบอาฟตา อีก 3 ป ดังนี้
2. การขจัดมาตรการที่มิใชภาษี อาเซียนไดจัดทำหลักเกณฑ
(criteria) การจำแนกมาตรการที่มิใชภาษีของประเทศสมาชิก
แลว ซึ่งใชพื้นฐานหลักเกณฑการจำแนกตาม WTO และได
เห็นชอบแผนงานการขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (Work
Programme on elimination of NTBs) ซึ่งประเทศสมาชิก
อาเซียนเดิม 5 ประเทศมีกำหนดที่จะขจัดมาตรการที่มิใชภาษี
ทั้งหมดภายในป ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศฟลิปปนสภายใน
ป ค.ศ. 2012 และประเทศ CLMV ภายในป ค.ศ. 2015
*
สินคาที่จะเรงลดภาษีใน 9 สาขาสำคัญมีจำนวนทั้งสิ้น 4,272 รายการ โดยประเทศสมาชิกสามารถ
ยกเวนรายการสินคาที่ไมพรอมเรงลดภาษี (Negative List) ไดไมเกินรอยละ 15 ของจำนวนรายการ
สินคาทั้งหมด
*
สาขาบริการที่ไทยเสนอเปดตลาดเพิ่มเติมภายใตขอผูกพันชุดที่ 5 ประกอบดวย การรักษาในโรงพยาบาล
(ทั้งคนไขนอกและคนไขใน) บริการที่พักประเภท โมเตล และศูนยที่พักแบบตางๆ การติดตั้งวางระบบ
คอมพิวเตอร การประมวลผลขอมูล บริการโทรเลข โทรสาร บริการโทรคมนาคมเสริม เชน Electronic
mail, voice mail บริการดานการแปล และบริการตรวจเรือเพื่อออกใบสำคัญรับรอง ทั้งนี้ เงื่อนไข
การเปดตลาดยังคงอยูภายใตกรอบกฎหมายไทยที่กำหนดในปจจุบัน
28 29
ขอผูกพันชุดที่ 5 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2549 ณ เมืองเซบู
ประเทศฟลิปปนส ขณะนี้ อยูระหวางการเจรจารอบที่ 5
(ป 2550-2551) โดยไดจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดชุดที่ 6
ซึ่งเปนการปรับปรุงขอเสนอการเปดตลาดในขอผูกพันชุดที่ 5
แลวเสร็จ และไดมีการลงนามใชสารอนุวัติขอผูกพันชุดที่ 6
ดังกลาวเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร
5. การลงทุน สงเสริมการลงทุนภายในภูมิภาคโดยการรวมลงทุน
ในสาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และสรางเครือขายดานการ
ลงทุนของอาเซียน ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทำรายชื่อเขตสงเสริมการ
ลงทุนพิเศษ และเขตนิคมอุตสาหกรรมในอาเซียนแลวเพื่อให
เกิดการเชื่อมโยงดานการผลิตและการใชวัตถุดิบภายในภูมิภาค
6. การอำนวยความสะดวกดานพิธีการดานศุลกากร อาเซียนได
จัดทำความตกลงวาดวยการอำนวยความสะดวกดานศุลกากร
ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว เมื่อป 2548 ซึ่งกำหนด
ใหประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศพัฒนาระบบ
National Single Window ใหแลวเสร็จภายในป 2551 และ
ประเทศ CLMV ภายในป 2555 เพื่อเชื่อมโยงเปนระบบ
ASEAN Single Window ตอไป ซึ่งไทยและฟลิปปนสไดเริ่ม
โครงการนำรองการอำนวยความสะดวกดานศุลกากรดวย
ระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว เมื่อป 2549 โดยทดลอง
ใชกับใบขนสินคาขาออกและแบบฟอรม D กอน เพื่อให
ผูประกอบการสามารถยื่นเอกสารและขอมูลที่เกี่ยวของกับ
การนำเขา-สงออก ณ จุดเดียว โดยกรมศุลกากรสามารถตัดสินใจ
ในการตรวจปลอยสินคาไดในคราวเดียว
7. การพัฒนามาตรฐานและความสอดคลองของผลิตภัณฑ ได
จัดทำมาตรฐานการยอมรับรวมสำหรับผลิตภัณฑเครื่องสำอาง
และผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟาแลว ในระยะ
ตอไปจะพัฒนาใหครอบคลุมสินคาอื่นๆ ภายใตการรวมกลุม
สาขาสำคัญดวย เชน ผลิตภัณฑไม เครื่องมือแพทย ยาสมุนไพร
และผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ เปนตน
8. การเคลื่อนยายของนักธุรกิจ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ
แรงงานมีฝมือ และผูมีความสามารถพิเศษ อยูระหวางการ
พัฒนาจัดทำ ASEAN Business Card เพื่ออำนวยความสะดวก
ในการเดินทางใหแกนักธุรกิจภายในภูมิภาค และเรงพัฒนา
มาตรฐานการยอมรับรวมสำหรับบุคลากรในสาขาวิชาชีพตางๆ
ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทำขอตกลงยอมรับรวมในสาขาวิศวกรรม สาขา
พยาบาล สถาปนิก และคุณสมบัติผูสำรวจแลว และอยูระหวาง
การพัฒนาในสาขาวิชาชีพอื่นๆ เชน นักกฎหมาย นักบัญชี
บุคลากรทางการแพทย เปนตน โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ
อำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพของผูเชี่ยวชาญ
และแรงงานมีฝมือภายในอาเซียน
9. การอำนวยความสะดวกดานการเดินทางภายในอาเซียน อยู
ระหวางการปรับประสานกระบวนการ/พิธีการในการตรวจลง
ตราใหกับนักเดินทางตางชาติที่เดินทางเขามาในอาเซียน รวม
ทั้งการยกเวนการตรวจลงตราใหกับผูเดินทางสัญชาติอาเซียน
ที่เดินทางภายในอาเซียน
30 31
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เปาหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน:
อาเซียนจะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป2558(ค.ศ.2015)
โดยมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (single market and production base)
และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานฝมืออยางเสรี และ
การเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น (free flows of goods, services,
investment, and skilled labors, and freer flow of capital)
32 33
ทำไมตองจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ?
อาเซียนจำเปนตองเรงรัดการรวมกลุมภายในหรือเรงจัดตั้ง
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน และแนวโนมการ
ทำขอตกลงการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ มากขึ้น ทำให
อาเซียนตองเรงแสดงบทบาทการรวมกลุมดวยความมั่นคงมากขึ้นกวาแตกอน
และปรับปรุงการดำเนินงานใหทันกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยเฉพาะ
อยางยิ่งกระแสการแขงขันทางการคาและการแขงขันเพื่อดึงดูดการลงทุน
โดยตรงที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นและมีแนวโนมจะถายโอนไปสู
ประเทศเศรษฐกิจใหม เชน จีน อินเดีย และรัสเซีย มากขึ้น
การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะเปนปจจัยสำคัญที่
ชวยเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจและเพิ่มความสามารถในการ
แขงขันของอาเซียนในตลาดโลก เนื่องจากสงเสริมใหเกิดการเปดเสรีการ
เคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางประเทศสมาชิกที่ลึกซึ้งและกวางขวาง
มากยิ่งขึ้น ทั้งในดานการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน เงินทุน และ
แรงงาน รวมถึงความรวมมือในดานการอำนวยความสะดวกทางการคาและ
การลงทุน เพื่อลดอุปสรรคทางดานการคา การลงทุน ใหเหลือนอยที่สุด
เทาที่จะเปนไปได ซึ่งจะนำไปสูการพัฒนามาตรฐานการครองชีพและความ
กินดีอยูดีของประชาชนภายในประเทศ และลดชองวางความเหลื่อมล้ำ
ทางสังคมใหนอยลง
34 35
บานของอาเซียน “10 แรงแข็งขัน”
เดินหนาเต็มตัว…มุงหนาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน :
“AEC Blueprint …พิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
เพื่อไปสูเปาหมายการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนได
จัดทำแผนงานในเชิงบูรณาการการดำเนินงานในดานเศรษฐกิจตางๆ เพื่อให
เห็นการดำเนินงานในภาพรวมที่จะนำไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน
ป ค.ศ. 2015 ไดอยางชัดเจน ซึ่งถาหากเปรียบเทียบกับการสรางบาน แผน
งานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่จะชวยบอกองคประกอบและรูปรางหนา
ตาของบานหลังนี้วา เมื่อสรางเสร็จแลวจะมีรูปรางหนาตาอยางไร
ทำไมตองจัดทำ AEC Blueprint ?
z เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานในดานเศรษฐกิจใหชัดเจนตาม
กรอบระยะเวลาที่กำหนดจนบรรลุเปาหมายAECในปค.ศ.2015
z เพื่อสรางพันธะสัญญาระหวางประเทศสมาชิกที่จะดำเนินการ
ไปสูเปาหมายดังกลาวรวมกัน
องคประกอบสำคัญของ AEC Blueprint
การเปนตลาดเดียว
และฐานการผลิตรวม
แผนงานที่จะสง
เสริมใหมีการเคลื่อน
ยายสินคา บริการ
การลงทุน และ
แรงงานมีฝมือ
อยางเสรี และการ
เคลื่อนยายเงิน
ทุนอยางเสรีมากขึ้น
การสรางขีดความ
สามารถในการ
แขงขันทางเศรษฐกิจ
ของอาเซียน
แผนงานที่จะสงเสริม
การสรางความ
สามารถในดานตางๆ
เชน นโยบายการ
แขงขัน สิทธิใน
ทรัพยสินทางปญญา
นโยบายภาษี และการ
พัฒนาโครงสราง
พื้นฐาน (การเงิน
การขนสง และ
เทคโนโลยสารสนเทศ)
การพัฒนาเศรษฐกิจ
อยางเสมอภาค
แผนงานที่จะสงเสริม
การรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจของสมาชิก
และลดชองวางของ
ระดับการพัฒนา
ระหวางสมาชิกเกา
และใหม เชน สนับสนุน
การพัฒนา SMEs
การบูรณาการเขา
กับเศรษฐกิจโลก
แผนงานที่จะสงเสริม
การรวมกลุมเขากับ
ประชาคมโลกโดยเนน
การปรับประสาน
นโยบายเศรษฐกิจของ
อาเซียนกับประเทศ
ภายนอกภูมิภาค เชน
การจัดทำเขตการคา
เสรี และการสราง
เครือขายในดานการ
ผลิต/จำหนายเปนตน
38 39
ความเชื่อมโยงของ AEC Blueprint กับกฎบัตรอาเซียน :
กฎบัตรอาเซียน เปนเสมือนธรรมนูญของอาเซียนซึ่งวางกฎเกณฑ
สำหรับประชาคมอาเซียน ที่ประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ความมั่นคง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยในสวนของเสาเศรษฐกิจ จะมี AEC
Blueprint เปนแผนงานที่อาเซียนตองดำเนินการเพื่อใหบรรลุการเปน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558
สำหรับองคประกอบอื่นๆ ไดแก การปรับปรุงกลไกดานสถาบันโดย
การจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบดวยผูแทนระดับรัฐมนตรีทุกสาขา
ที่เกี่ยวของ รวมทั้งภาคเอกชนอาเซียน ตลอดจนการพัฒนาระบบกลไกการ
ตรวจสอบติดตามผลการดำเนินงาน (Peer Review) และจัดหาแหลง
ทรัพยากรสำหรับการดำเนินงานกิจกรรมตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ
ในชวงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกาย
น 2550 ณ ประเทศสิงคโปร ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาวาดวยแผน
งานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยประกอบดวยแผนการดำเนิน
งาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดำเนินงาน (Strategic Schedule)
ซึ่งเปนเอกสารผนวก จึงนับไดวา ขณะนี้อาเซียนไดจัดทำพิมพเขียวของ
การดำเนินงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเสร็จสมบูรณแลว
ขั้นตอไป คือ การเริ่มลงมือดำเนินงานตามแผนงานในดานตางๆ เพื่อรวมกัน
สรางประชาคมที่เปนหนึ่งเดียวกันของอาเซียนตอไป
(รายละเอียด AEC Blueprint ในภาคผนวก)
ทำอยางไรหากบางประเทศไมสามารถปฏิบัติตามแผนงานได ?
ในการดำเนินงานสามารถกำหนดใหมีความยืดหยุนในแตละเรื่องไว
ลวงหนาได (pre-agreed flexibilities) แตเมื่อตกลงกันไดแลว ประเทศสมาชิก
จะตองยึดถือและปฏิบัติตามพันธกรณีที่ไดตกลงกันอยางเครงครัดดวย
การติดตามวัดผลการดำเนินงาน : เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปตาม
แผนงานและกำหนดเวลาที่ตั้งไว อาเซียนจึงตกลงที่จะจัดทำเครื่องมือติดตาม
วัดผลการดำเนินการตาม AEC Blueprint หรือที่เรียกวา AEC Scorecard
ซึ่งจะใชเปนเครื่องมือหรือกลไกในการติดตามความคืบหนาและประเมินผล
การดำเนินงานในดานตางๆ ของประเทศสมาชิกเปนรายประเทศ รวมทั้ง
ภาพรวมการดำเนินงานในระดับภูมิภาคดวย โดยจะเสนอ AEC Scorecard
ใหผูนำอาเซียนทราบในการประชุมสุดยอดอาเซียนทุกปดวย
40 41
กฎบัตรอาเซียน
“ASEAN Charter”
แนวคิดของการจัดทำกฎบัตรอาเซียนเกิดขึ้นในกรอบกระบวนการ
ปฏิรูปอาเซียนเพื่อแกไขปญหาสภาพนิติบุคคลและจัดโครงสรางองคกรเพื่อ
รองรับการเปนประชาคมอาเซียน โดยมุงเนนการสรางนิติฐานะ (legal status)
ในเวทีระหวางประเทศใหกับอาเซียน
วัตถุประสงคของการจัดทำกฎบัตรอาเซียน :
เพื่อใหกระบวนการรวมกลุมของอาเซียนมีพื้นฐานทางกฎหมาย
รองรับ และมีพันธะสัญญาตอกันมากขึ้น และจะเปนเสมือนธรรมนูญของ
อาเซียนซึ่งจะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรางองคกรเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพของอาเซียนในการรับมือกับความทาทายใหมๆ และสงเสริม
เอกภาพในการรวมตัวกันของประเทศสมาชิก และเปนกาวสำคัญในการ
ยกระดับการรวมตัวของประเทศสมาชิกไปสูการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใน
ป ค.ศ. 2015 ซึ่งประกอบดวย 3 ดานหลัก ไดแก ดานความมั่นคง ดานเศรษฐกิจ
ดานสังคมและวัฒนธรรม
องคประกอบสำคัญในกฎบัตรอาเซียน :
กฎบัตรอาเซียนนอกจากจะระบุเรื่องโครงสรางองคกรและสถานะ
ของอาเซียนแลว ยังมีเรื่องของกระบวนการตัดสินใจ และกลไกการระงับขอ
พิพาทระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงเรื่องกองทุนและงบประมาณในการ
ดำเนินกิจกรรมตางๆ ของอาเซียนดวย
ผูนำอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียนในชวงการประชุมสุดยอด
อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ที่สิงคโปร ดังนั้น จึงเปน
ที่นาจับตามองวา ภายหลังจากการลงนามในกฎบัตรอาเซียนนี้แลวจะพลิกโฉม
การดำเนินงานของอาเซียนไดมากนอยเพียงใด
42 43
เมื่อพิจารณารูปแบบการดำเนินงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของ
อาเซียนในปจจุบันจะพบวา มีการดำเนินงานในลักษณะผสมผสานระหวาง
Customs Union (มีการขจัดภาษีภายในภูมิภาค แตสิ่งที่ยังขาดอยู คือ
uniform external tariff structure) Common Market (มีการขจัดอุปสรรค
ทางการคาทั้งดานภาษีและมิใชภาษี และสงเสริมการเคลื่อนยายสินคา บริการ
และการลงทุน แตสิ่งที่ยังขาดอยู คือ common external trade policy)
และ Economic Union (มีเปาหมายการเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน
และปจจัยการผลิตที่เสรี แตยังขาดนโยบายการเงิน การคลัง และระบบ
สกุลเงินรวมกัน) ซึ่งจัดเปนลักษณะเฉพาะที่พัฒนาขึ้นมาใหเหมาะสมกับ
การดำเนินงานภายในของอาเซียนเอง
นอกจากนี้ เพื่อใหการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน อาเซียนจำเปน
ตองคำนึงถึงบริบทภายนอกประกอบ โดยเฉพาะทิศทางนโยบายดานเศรษฐกิจ
กับประเทศภายนอกกลุม เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียน
ในประชาคมโลก และเพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาตอรอง รวมถึงสง
เสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกวางขวางมากขึ้น ซึ่งมีความเปน
ไปไดที่จะพัฒนาไปในลักษณะการเปนสหภาพศุลกากร (Customs Union)
ตลาดรวม (Common Market) หรือสหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union)
ในอนาคต
กลาวโดยสรุป รูปแบบการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนคงไม
สามารถอิงตามหลักการ/รูปแบบตามทฤษฎีที่มีอยู เนื่องจากอาเซียนไดพัฒนา
แนวทาง/รูปแบบวิธีดำเนินงานเพื่อใหเหมาะสมกับการดำเนินงานภายในของ
อาเซียนเอง และการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนก็เปนไปในลักษณะ
ที่ประเทศสมาชิกตางเห็นพองรวมกันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามเปาหมาย/
พันธะสัญญาที่ไดตกลงกันไว ซึ่งนับเปนสิ่งสำคัญที่จะนำไปสูความสำเร็จและ
การรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งมากขึ้นในอนาคต
44 45
ปจจัยสำคัญตอความสำเร็จของการรวมกลุม
ทางเศรษฐกิจของอาเซียน
ความสำเร็จของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคขึ้นอยูกับ
ปจจัยสำคัญหลายประการ แตสิ่งหนึ่งที่นาจะมีสวนสำคัญตอการดำเนินงาน
เห็นจะเปนความเปนหนึ่งเดียวกันของประเทศสมาชิกภายในกลุมที่จะตองยึด
มั่นและถือมั่นเปาหมายในระดับภูมิภาครวมกันอยางจริงจัง ยอมสละ
ผลประโยชนบางประการของแตละประเทศเพื่อผลประโยชนสวนรวมใน
ระดับภูมิภาครวมกัน มิเชนนั้น คงไมสามารถผลักดันใหเกิดการรวมกลุมทาง
เศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกวางขวางขึ้นมาได
นอกจากปจจัยดังกลาวขางตนแลว ปจจัยอื่นๆ ที่จะชวยสงเสริมการ
รวมกลุมทางเศรษฐกิจใหเห็นผลเปนรูปธรรม และสรางขีดความสามารถทาง
ดานเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคใหโดดเดน ไดแก
46 47
1) โครงสรางพื้นฐานภายในภูมิภาค โดยเฉพาะระบบการขนสง
ที่จะตองเชื่อมโยงถึงกันในระดับภูมิภาค เพื่อใหเกิดการ
เคลื่อนยายสินคา และผูคนไดอยางสะดวกตลอดเสนทาง รวม
ถึงการอำนวยความสะดวก ณ จุดผานแดนตางๆ และสงเสริม
ความรวมมืออยางจริงจังในสาขาที่มีผลเชื่อมโยงตอการพัฒนา
สาขาอื่นๆ (spin over effect) ในอาเซียน เชน สาขาพลังงาน
สาขาการคมนาคม และการศึกษา เปนตน
2) นโยบายรวมในระดับภูมิภาค อาเซียนจำเปนตองพิจารณา
แนวทางการกำหนดนโยบายดานเศรษฐกิจรวมกันในระดับ
ภูมิภาคเพื่อชวยเพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาตอรอง รวมถึง
สรางผลประโยชนรวมกันในระดับภูมิภาค ซึ่งมีความจำเปน
อยางยิ่งที่แตละประเทศจะตองใหความสำคัญกับการปรับปรุง
กฎเกณฑ/กฎระเบียบ/กฎหมายภายในใหสอดคลองกับความ
ตกลงอาเซียนที่มีอยูดวย
3) กลไกการตัดสินใจ อาเซียนควรพิจารณารูปแบบการตัดสินใจ
แบบอื่นๆ ในการพิจารณากำหนดนโยบายหรือตัดสินใจเกี่ยวกับ
กิจกรรมภายในของอาเซียน นอกเหนือจากระบบฉันทามติ
(consensus) ที่ใชมาตั้งแตเริ่มตนของการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
จนถึงปจจุบัน ซึ่งมีความเปนไปไดที่จะผลักดันใหมีการนำเอา
ระบบเสียงสวนใหญ (majority vote) มาใชกับกระบวนการ
ตัดสินใจของอาเซียนแตสมาชิกคงตองหารือที่จะกำหนดแนวทาง
และขอบเขตของระบบเสียงสวนใหญเพื่อใหมีความชัดเจนและ
โปรงใสในการพิจารณาเรื่องสำคัญๆ ที่ประเทศสมาชิกจะไดรับ
ประโยชนรวมกัน
4) การสรางสังคมกฎระเบียบ อาเซียนจำเปนตองพัฒนาไปสู
สังคมกฎระเบียบ (Rule-based Society) และสรางนโยบาย
ดานการคาและการลงทุนที่สอดประสานในระดับภูมิภาค โดย
ใชจุดแข็งของประเทศสมาชิกใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อ
สรางขีดความสามารถและขอไดเปรียบในการแขงขันใหกับ
อาเซียน และเนนย้ำการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศ
สมาชิกอยางเครงครัด
48 49
โอกาสและผลกระทบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ
ของอาเซียน : นัยตอไทย
การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียนจะชวยสงเสริมใหเกิด
การขยายตัวในดานการคาและการลงทุนอันเนื่องมาจากการลดอุปสรรคใน
การเขาสูตลาด ทั้งดานมาตรการภาษีและมาตรการที่มิใชภาษี รวมถึงการ
สงเสริมความรวมมือเพื่ออำนวยความสะดวกทางการคาและการลงทุน ดังนั้น
จึงนับเปนโอกาสสำคัญสำหรับผูประกอบการไทยที่จะตองเรงปรับตัวและใช
โอกาสจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุนตางๆ ลง ใหเกิดประโยชน
อยางเต็มที่ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความพรอมและมีขีดความสามารถใน
การแขงขันสูง อยางเชน สาขาผลิตภัณฑอาหาร ผลิตภัณฑยานยนต
ผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส รวมถึงสาขาบริการ อาทิ สาขาการทองเที่ยว
การบริการสาขาสุขภาพ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสาขาตางๆ
เหลานี้ ลวนเปนสาขาที่อาเซียนจะเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจให
เห็นผลเปนรูปธรรมภายในป ค.ศ. 2010
50 51
อยางไรก็ตาม สำหรับสาขาอุตสาหกรรมที่ไมพรอมในการแขงขัน
หรือไมมีความไดเปรียบในดานตนทุน คงหลีกหนีไมพนกับผลกระทบที่จะเกิด
ขึ้นอันเนื่องมาจากการลดอุปสรรคในดานการคาและการลงทุนตางๆ ลง ทำให
ผูประกอบการจากตางชาติสามารถเขาสูตลาดไดสะดวกมากขึ้น และเพิ่มการ
แขงขันในตลาดใหสูงขึ้น ดังนั้น ผูประกอบการที่ไมมีความพรอม หรือมีขีด
ความสามารถในการแขงขันต่ำอาจถูกกดดันใหตองออกจากตลาดไป ภาครัฐ
จึงจำเปนตองเตรียมแผนการรองรับที่รอบคอบและรัดกุมเพื่อลดผลกระทบที่
จะเกิดขึ้น เชน การจัดตั้งกองทุนเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปดเสรีทาง
การคา การกำหนดแนวนโยบายดานเศรษฐกิจในระดับมหภาคที่ชัดเจน ซึ่ง
จะชวยสงสัญญาณใหภาคเอกชนไดรับทราบและเตรียมความพรอมใน
การปรับตัวไดอีกทางหนึ่ง
52 53
นโยบายของภาครัฐตออาเซียน
ภาครัฐไดใหความสำคัญกับการดำเนินงานของอาเซียนเปนลำดับ
แรกมาโดยตลอดในฐานะที่อาเซียนเปนกลุมภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดาน
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยรัฐบาลไดใชนโยบาย ASEAN
First Policy คือ อาเซียนตองมากอน เนื่องจากเห็นวา การรวมตัวอยาง
แนนแฟนของอาเซียนจะชวยเพิ่มศักยภาพการแขงขันของอาเซียนรวมทั้งไทย
ในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ รวมทั้งชวยสรางอำนาจ
ในการตอรองในกรอบการเจรจาระดับภูมิภาค และพหุภาคี และจากพื้นฐาน
ที่แข็งแกรงนี้ จะทำใหการเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ของไทยเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพมากขึ้นดวย
รัฐบาลมีโครงการสรางเครือขายและขยายความรวมมือทางธุรกิจใน
อาเซียน หรือ ASEAN Hub โดยมีกระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานรับผิดชอบ
ซึ่งกำหนดยุทธศาสตรที่มีตออาเซียนไว 4 ดาน คือ
54 55
1) การเปนพันธมิตรและหุนสวน คือ ตองทำใหอาเซียนเปนทั้ง
พันธมิตรและหุนสวนเพื่อใหประเทศไทยเปน gateway ของ
อาเซียน ทั้งการคาและการลงทุน โดยการใชเวทีทวิภาคีที่มีอยู
และความรวมมือในกรอบอนุภูมิภาคตางๆ เชน ACMECS
GMS และ IMT-GT เปนตัวชวยผลักดัน และตองเปลี่ยนแนวคิด
การมองอาเซียนจากคูแขงมาเปนหุนสวน โดยการสรางความ
ไววางใจใหเกิดขึ้นทั้งแกคนไทย และผูประกอบการไทย โดยการ
ใหความชวยเหลือแกประเทศเพื่อนบาน การเขาไปลงทุนผลิต
สินคาเกษตรที่ขาดแคลน และการชักจูงประเทศที่สามเขารวม
ในการพัฒนา เปนตน
2) การเปนแหลงวัตถุดิบที่สำคัญ คงตองยอมรับวา ประเทศใน
อาเซียนมีความหลากหลายและความพรอมทางเศรษฐกิจที่
แตกตางกันไป มีทั้งกลุมที่มีความชำนาญในดานเทคโนโลยี
กลุมที่เปนฐานการผลิต และกลุมที่มีทรัพยากรและแรงงาน
สำหรับการผลิต ดังนั้น ไทยจึงจำเปนตองพิจารณาเลือกใช
ประโยชนจากจุดแข็งที่มีอยูของแตละประเทศใหเหมาะสม
3) การเปนฐานการผลิตใหอุตสาหกรรมไทย ซึ่งอาจจำเปนตอง
พิจารณาเรื่องการยายฐานการผลิตของบางอุตสาหกรรมออกไป
ยังประเทศเพื่อนบานเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน และแรงงานกึ่งฝมือ เชน
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สิ่งทอ เฟอรนิเจอร แปรรูป
ผลิตภัณฑไม หรือการรวมลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน
4) การเปนตลาดที่มีประชากรกวา 550 ลานคน ซึ่งไทยจะตอง
รักษาตลาดเดิมนี้ไวใหมั่นคง และพยายามขยายออกไปให
กวางขวางมากขึ้น
56 57
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf

More Related Content

Similar to ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf

องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss
onouma kaewoun
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPyns Fnm
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
Nopporn Thepsithar
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405noo Carzy
 
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supanการค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
Prachoom Rangkasikorn
 
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมีAec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Utai Sukviwatsirikul
 
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรมAEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
Utai Sukviwatsirikul
 
why to know asean
why to know aseanwhy to know asean
why to know asean
Prachoom Rangkasikorn
 
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and SingaporeStudy Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Prachoom Rangkasikorn
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
หรร 'ษๅ
 

Similar to ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf (20)

องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean knowledge2012
Asean knowledge2012Asean knowledge2012
Asean knowledge2012
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้  405
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ 405
 
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supanการค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
การค้าในภูมิภาคอาเซียนและเพื่อนบ้านSeminar supan
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมีAec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
Aec ดร. นิลสุวรรณ-ลีลารัศมี
 
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรมAEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
AEC ผลกระทบต่อวิชาชีพเภสัชกรรม
 
why to know asean
why to know aseanwhy to know asean
why to know asean
 
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and SingaporeStudy Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
Study Visit Project in Malaysia Brunei and Singapore
 
Aec factbook
Aec factbookAec factbook
Aec factbook
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 

More from PawachMetharattanara

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
PawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
PawachMetharattanara
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
PawachMetharattanara
 
Presentation1333.pptx
Presentation1333.pptxPresentation1333.pptx
Presentation1333.pptx
PawachMetharattanara
 
Presentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptxPresentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptx
PawachMetharattanara
 
Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
PawachMetharattanara
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
PawachMetharattanara
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
PawachMetharattanara
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
PawachMetharattanara
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
PawachMetharattanara
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
PawachMetharattanara
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
PawachMetharattanara
 

More from PawachMetharattanara (20)

BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptxBIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
BIZ model 2024nnnmmmmmmmmmmmmmmmmmmm.pptx
 
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdfDLS_CP_Payment Rev.00.pdf
DLS_CP_Payment Rev.00.pdf
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptxSmart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
Smart Parking รพ.กล้วยน้ำไท.pptx
 
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptxKPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
KPI 2021 Sale ( Nov ).pptx
 
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
1. คู่มือคนสอน คนเรียน PMS.pdf
 
Presentation1333.pptx
Presentation1333.pptxPresentation1333.pptx
Presentation1333.pptx
 
Presentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptxPresentation1unv2.pptx
Presentation1unv2.pptx
 
Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
Univiwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdfUniviwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdf
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
 
Catalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdfCatalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdf
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
 

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf

  • 1.
  • 2.
  • 3. อาเซียนเปนกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจที่มีความใกลชิด กับไทยมากที่สุด และจัดเปนตลาดที่สำคัญของไทยตลาดหนึ่งดวยจำนวน ประชากรกวา 560 ลานคน ปจจุบันอาเซียนใหความสำคัญกับการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) โดยเรงรัดการ รวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในอาเซียนใหมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน แรงงานฝมืออยางเสรี และการเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น สมดังเจตนารมณที่ผูนำอาเซียนไดประกาศไวตามปฏิญญาเซบูวาดวยการ เรงรัดการจัดตั้งประชาคมอาเซียน เมื่อเดือนมกราคม 2550 การศึกษาแนวทางการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจึงเปน สิ่งสำคัญที่จะชวยสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับพัฒนาการดานเศรษฐกิจ ของอาเซียน และแผนงานสำคัญของอาเซียนที่จะตองดำเนินการเพื่อไปสู เปาหมายการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะชวยใหทุกภาคสวนที่ เกี่ยวของเตรียมความพรอมและสามารถใชประโยชนจากโอกาสที่มีอยูเดิมและ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกลไดอยางเต็มที่ รวมทั้งสามารถปรับตัวเพื่อ รองรับกับการเปลี่ยนแปลงที่กำลังจะเกิดขึ้นไดอยางมีประสิทธิภาพ กรมเจรจาการคาระหวางประเทศหวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเลม นี้จะเปนประโยชนตอหนวยงานภาครัฐและเอกชน รวมถึงสาธารณชนทั่วไป ที่จะใชเปนแนวทางประกอบการดำเนินงานในสวนที่เกี่ยวของ และสรางความ พรอมใหกับทุกทานในการกาวเดินไปพรอมๆ กันสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนดวยกาวยางที่มั่นคง กรมเจรจาการคาระหวางประเทศ พฤษภาคม 2551
  • 4.
  • 5. ความเปนมา อาเซียน หรือ สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต เปน องคกรที่กอตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510 มีประเทศ สมาชิกรวม 10 ประเทศ แบงเปนประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ คือ บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และไทย และ ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม 4 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม หรือเรียกสั้นๆ วา กลุม CLMV (Cambodia, Laos, Myanmar, Vietnam) วัตถุประสงคของการกอตั้ง อาเซียนกอตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเริ่มแรกเพื่อสรางสันติภาพใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนำมาซึ่งเสถียรภาพทางการเมือง และ ความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเมื่อการคา ระหวางประเทศในโลกมีแนวโนมกีดกันการคารุนแรงขึ้น ทำใหอาเซียนไดหัน มามุงเนนกระชับและขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคาระหวางกันมาก ขึ้น อยางไรก็ตาม ก็ยังคงไวซึ่งวัตถุประสงคหลัก 3 ประการ ดังนี้ - สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในภูมิภาค - รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความมั่นคงในภูมิภาค - ใชเปนเวทีแกไขปญหาความขัดแยงภายในภูมิภาค 6 7
  • 6. อาเซียนครบรอบ 40 ปของการจัดตั้งในวันที่ 8 สิงหาคม 2550 โดยมีคำขวัญที่ตั้งขึ้นจากเวทีการประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน เมื่อ เดือนกรกฎาคม 2549 และใชกันทั่วอาเซียน วา “one ASEAN at the heart of dynamic Asia” ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความเปนหนึ่งเดียวของอาเซียน ทามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงและความทาทายใหมๆ ในภูมิภาค โดยมี การจัดประกวดตราสัญลักษณการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 40 ป แหง การกอตั้งอาเซียนภายใต theme ดังกลาวเพื่อใชตราสัญลักษณนี้ทั่วอาเซียน ตราสัญลักษณการเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 40 ป แหงการกอตั้ง อาเซียน ออกแบบโดย Mr. Haji Othman bin Haji Salleh ซึ่งเปนผูออก แบบชาวบรูไนฯ ความหมาย : ผูออกแบบไดอธิบายวา ไดนำตัวเลข 40 เขามาเปน สวนหนึ่งของสัญลักษณ โดยออกแบบเลข 4 ไขวกันเปนรูปหัวใจ สะทอนถึง ความกลมกลืนความกาวหนาและการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง รูปหัวใจยัง แสดงออกถึงภาพของการเปนประชาคมอาเซียนที่มีความเอื้ออาทรและแบงปน อีกทั้งไดนำสีของอาเซียนไดแกสีน้ำเงิน(สันติภาพ,เสถียรภาพ)สีแดง(พลวัตร), สีขาว (ความบริสุทธิ์) และสีเหลือง (ความเจริญรุงเรือง) และตราสัญลักษณ ของอาเซียน เพื่อสะทอนถึงจุดมุงหมายและคุณคาพื้นฐานของอาเซียน ตลอดจนแสดงถึงความมุงมั่นของอาเซียนที่จะรวมตัวเปนประชาคมเดียวกัน “ที่จะเปนไป…” ตลอดระยะเวลาที่ผานมาการดำเนินงานความรวมมือดานเศรษฐกิจ ของอาเซียนมีความคืบหนามาตามลำดับ ไมวาจะเปนการจัดทำเขตการคาเสรี อาเซียนซึ่งเริ่มดำเนินการตั้งแตป 2535 การเจรจาเพื่อเปดตลาดการคาบริการ และการลงทุนในภูมิภาค จนถึงปจจุบัน ผูนำอาเซียนไดมุงใหความสำคัญกับ การดำเนินการเพื่อนำไปสูการเปนประชาคมอาเซียน หรือ ภายในป 2558 (ค.ศ. 2015) ซึ่งเร็วขึ้นกวากำหนดการเดิมที่ผูนำอาเซียนไดเคยประกาศแสดง เจตนารมณไวตามแถลงการณบาหลี ถึง 5 ป ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community: AC) ประกอบไป ดวย 3 เสาหลักคือ ประชาคมความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยมีกฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปนกรอบหรือพื้นฐานทางกฎหมายรองรับ ซึ่งจะสราง กฎเกณฑสำหรับองคกรอาเซียนใหสมาชิกมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม (Legal Binding) ในสวนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่งเปนเสาหลักที่จะเปนพลังขับเคลื่อนใหเกิดการรวมตัว ทางเศรษฐกิจของอาเซียน ภายในป 2558 เพื่อนำไปสูการเปนตลาดและฐาน การผลิตรวมกัน (Single Market and Single Production base) และจะมี การเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินลงทุน และแรงงานฝมืออยาง เสรี รวมทั้งผูบริโภคสามารถเลือกสรรสินคา/บริการไดอยางหลากหลายภายใน ภูมิภาค และสามารถเดินทางในอาเซียนไดอยางสะดวกและเสรีมากยิ่งขึ้น ซึ่งนับเปนความทาทายที่สำคัญของอาเซียนที่จะตองรวมแรงรวมใจและ ชวยกันนำพาอาเซียนไปสูเปาหมายที่ตั้งไว 8 9
  • 7. ความสำเร็จในชวงที่ผานมา: “AFTA (1992)…เขตการคาเสรีอาเซียน” ความรวมมือทางเศรษฐกิจที่ชัดเจนของอาเซียนไดเริ่มขึ้นในป 2535 เมื่อผูนำอาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงแมบทวาดวยการขยายความรวม มือทางเศรษฐกิจของอาเซียน (Framework Agreement on Enhancing ASEAN Economic Cooperation) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนาม ความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสำหรับเขตการคาเสรี อาเซียน [Agreement on the Common Effective Preferential Tariff (CEPT) Scheme for the ASEAN Free Trade Area (AFTA)] เปน การประกาศเริ่มตนการจัดตั้งเขตการคาเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) ครอบคลุมสินคาอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูป และสินคาเกษตร ไมแปรรูป โดยมีความยืดหยุนใหแกสินคาออนไหวได 10 11
  • 8. เปาหมายการลดภาษีภายใตอาฟตา “AFAS (1995)…ความตกลงดานการคาบริการของอาเซียน” สมาชิกอาเซียนไดเล็งเห็นถึงความสำคัญของการคาบริการ ซึ่งมี บทบาทสำคัญตอเศรษฐกิจมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงไดรวมกันจัดทำและลงนาม ยอมรับ “กรอบความตกลงวาดวยบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS)” เมื่อเดือนธันวาคม 2538 และมีผลบังคับ ใชเมื่อป 2539 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ 1) ขยายความรวมมือในการคาบริการบางสาขาที่ชวยเพิ่มความ สามารถในการแขงขันใหสมาชิกอาเซียนมากขึ้น 2) ลดอุปสรรคการคาบริการระหวางสมาชิก 3) เปดตลาดการคาบริการระหวางกลุมใหมากขึ้น โดยมีเปาหมาย ที่จะเปดเสรีอยางเต็มที่ในป 2558 (ค.ศ.2015) เงื่อนไขการไดรับสิทธิประโยชนอาฟตา 1. ตองเปนสินคาที่อยูในบัญชีลดภาษีหรือ Inclusion List (IL) ของ ทั้งประเทศผูสงออกและนำเขา 2. เปนสินคาที่มีการผลิตในอาเซียนประเทศใดประเทศหนึ่งหรือ มากกวาหนึ่งประเทศ (ASEAN Content) รวมกันแลวคิดเปนมูลคา อยางนอยรอยละ 40 ของมูลคาสินคา (แตกอน อาเซียนเคยกำหนด วาสินคาจากประเทศสมาชิกอาเซียนใดประเทศหนึ่งจะไดรับสิทธิ ประโยชนอาฟตาเมื่อสงออกไปยังประเทศสมาชิกอาเซียนอีก ประเทศหนึ่ง ก็ตอเมื่อสินคานั้นมีสัดสวนการผลิต (local content) ภายในประเทศสมาชิกผูสงออกไมต่ำกวารอยละ 40 ตอมาอาเซียน ไดผอนคลายขอกำหนดดังกลาว โดยนำกฎวาดวยแหลงกำเนิดสินคา แบบสะสมบางสวน (Partial Cumulation) มาใช (สัดสวนขั้นต่ำ รอยละ 20) ตัวอยางเชน เวียดนามสงสินคาที่มี local content 20% มาไทย เวียดนามจะไมรับสิทธิประโยชนอาฟตาจากไทย แตไทย สามารถนำสินคาดังกลาวของเวียดนามมาใส local content ของ ไทยเพิ่ม หากเพิ่มจนถึง 40% และสงออกไปประเทศสมาชิกอาเซียน อื่น ไทยก็จะไดรับสิทธิประโยชนภายใตกรอบอาฟตา) 3. ลาสุดอาเซียนไดเริ่มนำกฎการแปลงสภาพอยางเพียงพอ(Substantial Transformation) มาใช กลาวคือ สินคาที่แปรรูปไปจากวัตถุดิบอยาง มาก โดยในกรณีที่มีประเทศที่เกี่ยวของกับการผลิตมากกวาหนึ่ง ประเทศจะถือวาสินคานั้นมีแหลงกำเนิดจากประเทศสุดทายที่มีการ เปลี่ยนแปลงอยางมากเกิดขึ้น โดยพิจารณาจากการเปลี่ยนพิกัด ศุลกากร โดยนำมาใชกับสินคาบางประเภทแลว ไดแก สิ่งทอและ เครื่องนุงหม แปงขาวสาลี ผลิตภัณฑไม ผลิตภัณฑอลูมิเนียม และ เหล็ก เปนตน 12 13
  • 9. นอกเหนือจากการเปดตลาดการคาบริการในกรอบ AFAS แลว สมาชิกอาเซียนยังตองเรงรัดเปดตลาดในสาขาบริการที่เปนสาขาบริการสำคัญ (Priority Sectors) 5 สาขา ไดแก สาขาโทรคมนาคมและเทคโนโลยี สารสนเทศ สาขาสุขภาพ สาขาการทองเที่ยว และสาขาการบิน ภายใน ป 2553 (ค.ศ. 2010) สาขาบริการโลจิสติกส ภายในป 2556 (ค.ศ. 2013) และเปดเสรีบริการสาขาอื่นๆ ทุกสาขา (non priority sectors) ภายใน ป 2558 (ค.ศ. 2015) “AIA (1998)…เขตการลงทุนอาเซียน” อาเซียนไดลงนามกรอบความตกลงวาดวยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area: AIA) ในป 2541 (ค.ศ. 1998) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหอาเซียนเปนแหลงดึงดูด การลงทุน ทั้งจากภายในและภายนอกอาเซียน และมีบรรยากาศการลงทุน ที่เสรีและโปรงใส ทั้งนี้ จะครอบคลุมเฉพาะการลงทุนโดยตรงในสาขาการผลิต เกษตร ประมง ปาไม เหมืองแร และบริการที่เกี่ยวของกับ 5 สาขาดังกลาว (servicesincidental)แตไมรวมการลงทุนในหลักทรัพย(PortfolioInvestment) เปาหมาย อาเซียนเดิม 6 ประเทศ มีเปาหมายเปดเสรีการลงทุนและใหการ ประติบัติเยี่ยงคนชาติแกนักลงทุนอาเซียน ภายในป ค.ศ. 2010 และสำหรับ ประเทศสมาชิกอาเซียนใหม (CLMV) ภายในป ค.ศ. 2015 หลักการสำคัญของ AFAS - สมาชิกทุกประเทศตองเขารวมการเจรจาเปนรอบๆ ละ 3 ป ซึ่ง ภายหลังไดลดลงเหลือรอบละ 2 ป แทน เพื่อทยอยผูกพันการ เปดตลาดใหมากขึ้นทั้งสาขา (sector) และรูปแบบการใหบริการ (mode of supply) รวมถึงลดขอจำกัดที่เปนอุปสรรคตอผูให บริการในกลุมสมาชิก - แตละประเทศยังมีสิทธิในการออกกฎระเบียบภายในประเทศ ของตนเพื่อกำกับดูแลธุรกิจบริการใหมีคุณภาพได - สมาชิกอาเซียนตองเปดตลาดธุรกิจบริการใหแกกันมากกวาที่ แตละประเทศไดมีขอตกลงไวกับองคการการคาโลก (WTO) ที่ผานมามีการเจรจาไปแลว 4 รอบ โดยการเจรจาสองรอบแรก (2539-2541 และ 2542-2544) มุงเนนการเปดเสรีใน 7 สาขาบริการ คือ สาขาการเงิน การขนสงทางทะเล การขนสงทางอากาศ การสื่อสาร โทรคมนาคม การทองเที่ยว การกอสราง และสาขาบริการธุรกิจ ตอมาใน การเจรจารอบที่ 3 (2545-2547) และรอบที่ 4 (2548-2549) ไดมีการขยาย ขอบเขตการเจรจาเปดเสรีใหรวมทุกสาขาบริการ และนอกเหนือจากการเปด ตลาดรวมใน 7 สาขา ขางตนแลว ยังไดริเริ่มวิธีเจรจาเปดตลาดการคาบริการ ตามหลักการ ASEAN-X ดวย กลาวคือ ประเทศสมาชิกตั้งแต 2 ประเทศ ขึ้นไปที่มีความพรอมจะเปดเสรีสาขาบริการใดใหแกกันมากขึ้นก็สามารถ กระทำกอนได และเมื่อประเทศอื่นมีความพรอมจึงคอยเขามารวม โดยหวัง วาวิธีนี้จะชวยใหการเปดตลาดเปนไปดวยความรวดเร็วมากขึ้น ขณะนี้ อยูระหวางการเจรจารอบที่ 5 (1 มกราคม 2550 - 31 ธันวาคม 2551) โดยในหลักการจะมีการขยายจำนวนประเภทธุรกิจในแตละ สาขาบริการเพื่อเปดตลาดระหวางสมาชิกใหมากกวารอบที่ผานมา พรอมทั้ง เปดตลาดในเชิงลึกใหมากขึ้น โดยการเจรจารอบตอไปจะเปนการเจรจารอบ ที่ 6 ระหวางป 2552-2553 และใหมีการเจรจาเปนรอบๆ ตอไปจนบรรลุ เปาหมายการเปดตลาดในป 2558 14 15
  • 10. “AICO (1996)…ความรวมมือดานอุตสาหกรรมของอาเซียน” ความรวมมือภายใตโครงการ AICO (ASEAN Industrial Cooperation: AICO) มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตสินคา อุตสาหกรรมของอาเซียน และสนับสนุนการแบงการผลิตภายในอาเซียน รวม ถึงการใชวัตถุดิบภายในภูมิภาค เงื่อนไขการดำเนินการ 1) ผูประกอบการอยางนอย 1 รายในประเทศอาเซียนประเทศหนึ่ง รวมมือกับผูประกอบการ อีกอยางนอย 1 ราย ในอีกประเทศ อาเซียนหนึ่ง (สามารถมีประเทศที่เขารวมโครงการไดมากกวา 2 ประเทศ) ยื่นคำรองขอรับสิทธิประโยชนภายใต AICO ตอ หนวยงานที่แตละประเทศกำหนด ซึ่งในสวนของไทย คือ สำนักงาน เศรษฐกิจอุตสาหกรรม 2) ตองมีหุนคนชาติที่บริษัทนั้นตั้งอยูอยางนอยรอยละ 30 3) ตองชี้แจงเหตุผลวาจะรวมมือกันอยางไร สิทธิประโยชน 1) ในป 2548 สินคาและวัตถุดิบที่ใชในการผลิตภายใตโครงการ AICO เสียภาษีนำเขาในอัตรารอยละ 0 2) สินคานั้นไดรับการยอมรับเสมือนเปนสินคาที่ผลิตในประเทศ 3) สามารถขอรับสิทธิประโยชนที่มิใชภาษีไดตามหลักเกณฑและ เงื่อนไขของประเทศที่ใหสิทธิประโยชน 4) ไมถูกจำกัดดวยระบบโควตาหรือมาตรการกีดกันทางการคาที่ มิใชภาษี หลักการที่สำคัญภายใต AIA 1) หลักการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) หมายถึง ประเทศสมาชิกจะตองใหการ ปฏิบัติตอนักลงทุน อาเซียนเทาเทียมกับที่ปฏิบัติตอนักลงทุนที่เปนคนชาติตน ทั้งนี้ นักลงทุนอาเซียนหมายถึง บุคคลธรรมดาที่เปนคนชาติ (national) ของประเทศสมาชิกอาเซียน หรือ นิติบุคคลใดของ ประเทศสมาชิกอาเซียนที่ลงทุนในประเทศสมาชิกอื่น โดยมี สัดสวนการถือหุนของคนชาติอาเซียนรวมกันแลวอยางนอย ที่สุดเทากับสัดสวนขั้นต่ำที่กำหนดใหเปนหุนคนชาติ และสัดสวน การถือหุนประเภทอื่นตามที่กำหนดไวในกฎหมายภายในและ นโยบายของชาติที่มีการพิมพเผยแพรของประเทศที่รับการลงทุน ในสวนที่เกี่ยวของกับการลงทุนนั้นๆ 2) หลักการวาดวยการเปดตลาด (Opening-up of industries) หมายถึง ประเทศสมาชิกจะตองเปดเสรีทุกอุตสาหกรรมแก นักลงทุนสัญชาติอาเซียน แตมีขอยกเวนได โดยประเทศ สมาชิกจะตองยื่นรายการประเภทกิจการที่ขอยกเวนชั่วคราว (Temporary Exclusion List :TEL) และรายการประเภทกิจการ ที่มีความออนไหว (Sensitive List: SL) ได แตตองมีการทบทวน เพื่อยกเลิกรายการดังกลาว อาเซียนอยูระหวางพิจารณาทบทวนกรอบความตกลง AIA ใหเปน ความตกลงที่มีความครอบคลุมมากขึ้น (comprehensive) โดยจะรวมกรอบ ความตกลง AIA เดิมเขากับความตกลงเพื่อสงเสริมและคุมครองการลงทุน (The ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investments) ป 2530 (ค.ศ. 1987) เพื่อปรับปรุงใหเปนความตกลงที่ เอื้อตอการดึงดูดการลงทุนโดยตรง (FDI) จากตางประเทศ 16 17
  • 11. ทำอยางไรเมื่อเกิดขอพิพาทระหวางประเทศสมาชิก? กระบวนการระงับขอพิพาทใหมของอาเซียน… อาเซียนไดปรับปรุงกลไกการระงับขอพิพาทเดิมที่มีอยูใหมีความ ชัดเจนมากขึ้น โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM) ไดลงนามในพิธีสาร วาดวยกลไกการระงับขอพิพาทของอาเซียนฉบับใหม (ASEAN Protocol on Enhanced Dispute Settlement Mechanism) ไปเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2547 ที่ประเทศลาว ประเทศสมาชิกอาเซียนมีสิทธิใชกระบวนการระงับขอพิพาทใหม ของอาเซียนได เมื่อเห็นวาประเทศสมาชิกอื่นใชมาตรการที่ขัดตอความ ตกลงของอาเซียน โดยในขั้นแรก สามารถขอหารือกับประเทศสมาชิกคูกรณี หากไมสามารถตกลงกันได ในขั้นตอไป ก็สามารถขอจัดตั้งคณะผูพิจารณา (panel) เพื่อพิจารณาตัดสินคดี ซึ่งถาหากคำตัดสินของคณะ ผูพิจารณายัง ไมเปนที่พอใจ ประเทศที่เปนฝายโจทยก็สามารถยื่นอุทธรณคำตัดสินของ คณะผูพิจารณาได โดยใหองคกรอุทธรณ (appellate body) เปนผูพิจารณา ประเทศสมาชิกที่เปนฝายแพคดีตองปฏิบัติตามคำตัดสินของคณะผูพิจารณา หรือองคกรอุทธรณ อีกทั้งยังตองเปนผูออกคาใชจายในการพิจารณาคดีดวย ทั้งนี้ การดำเนินงานในแตละขั้นตอนไดมีกรอบเวลากำหนดไวอยางชัดเจน แตรวมทั้งสิ้นแลวตองไมเกิน 445 วัน 18 19
  • 12. ระบบการระงับขอพิพาทอื่น ๆ ของอาเซียน… นอกจากนั้น อาเซียนยังไดปรับปรุงกลไกการดำเนินงานใหมีระบบ การระงับขอพิพาทอื่น ทั้งในลักษณะของการใหคำปรึกษาหารือและชี้แนะแนว ทางแกไขปญหา ดังนี้ 1. จัดตั้งหนวยงานดานกฎหมาย (ASEAN Legal Unit) ขึ้น ณ สำนักเลขาธิการอาเซียน กรุงจาการตา ประเทศอินโดนีเซีย เพื่อ ใหคำปรึกษาหารือและการตีความกฎหมายและความตกลง/ พิธีสารฉบับตาง ๆ ของอาเซียน 2. จัดตั้งหนวยงานกำกับดูแลแกไขปญหาการคาและการลงทุนของ อาเซียนทางอินเตอรเน็ต (ASEAN Consultations to Solve Trade and Investment Related Issues - ACT) เพื่อชวย แกไขปญหาการคาและการลงทุนของประเทศสมาชิกอาเซียน โดยใชวิธีการติดตอประสานงานทางอินเตอรเน็ต เปนการลด ขั้นตอนและระยะเวลาดำเนินการเพื่อแกไขปญหาใหลุลวง โดย NationalAFTAUnitของไทยคือกรมเจรจาการคาระหวางประเทศ กระทรวงพาณิชย ซึ่งรับผิดชอบในฐานะเปน ACT Focal Point และติดตอไดที่ thailand_act@dtn.go.th 3. จัดตั้งคณะผูติดตามและตรวจสอบการดำเนินงานของอาเซียน (ASEAN Compliance Body - ACB) เพื่อกำกับดูแลให ประเทศสมาชิกปฏิบัติตามพันธกรณีตางๆ ที่มีอยูอยางจริงจัง โดยสมาชิกอาเซียนมีสิทธิแตงตั้งผูแทน ACB ไดประเทศ ละ 1 คน สำหรับไทย ไดแตงตั้งอธิบดีกรมเจรจาการคาระหวาง ประเทศเปนผูแทนใน ACB 20 21
  • 13. วิวัฒนาการสำคัญของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน: พัฒนาการในดานแนวคิดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน ไดเกิดขึ้นอยางชัดเจนในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 8 เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2545 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ผูนำอาเซียนได เห็นชอบใหอาเซียนกำหนดทิศทางการดำเนินงานเพื่อไปสูเปาหมายที่ ชัดเจน ไดแก การเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งอาจเปนไปในทำนอง เดียวกับประชาคมเศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มตน โดยมีลำดับพัฒนาการ ที่สำคัญ ดังนี้ 22 23
  • 14. ป การดำเนินการ 2546 - ผูนำอาเซียนประกาศแถลงการณ Bali Concord II เห็น ชอบที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซึ่งประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ภายในป ค.ศ. 2020 2547 - ผูนำอาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการรวม กลุมสาขาสำคัญของอาเซียนและรัฐมนตรีเศรษฐกิจ อาเซียนไดลงนามในพิธีสารรายฉบับ รวม 11 ฉบับ ซึ่งมี Roadmap เพื่อการรวมกลุมสาขาสำคัญเปน ภาคผนวก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อนำรองการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจใน 11 สาขาสำคัญกอน (เกษตร/ ประมง/ ผลิตภัณฑไม/ ผลิตภัณฑยาง/ สิ่งทอและเครื่องนุงหม/ ยานยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ สุขภาพ/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ การทองเที่ยว/ การบิน) 2548 - เจาหนาที่อาวุโสดานเศรษฐกิจอาเซียนพิจารณาทบทวน ปรับปรุงแผนงานการรวมกลุมสาขาสำคัญของอาเซียนใน ระยะที่ 2 เพื่อปรับปรุงมาตรการตางๆ ใหมีประสิทธิภาพ และรวมขอเสนอของภาคเอกชน 2549 - รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามในกรอบความตกลงวา ดวยการรวมกลุมสาขาสำคัญของอาเซียน และพิธีสารวา ดวยการรวมกลุมสาขาสำคัญ (ฉบับแกไข) ม.ค. 2550 - ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบูวาดวยการเรงรัด การจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในป ค.ศ. 2015 เพื่อ เรงรัดเปาหมายการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใหเร็วขึ้นอีก 5 ป จากเดิมที่กำหนดไวในป ค.ศ. 2020 ป การดำเนินการ - ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาเซบูวาดวยแผน แมบทสำหรับกฎบัตรอาเซียน เพื่อสรางนิติฐานะให อาเซียนและปรับปรุงกลไก/กระบวนการดำเนินงานภายใน ของอาเซียน เพื่อรองรับการเปนประชาคมอาเซียน ส.ค. 2550 - รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามในพิธีสารวาดวยการ รวมกลุมสาขาโลจิสติกสของอาเซียน โดยมี Roadmap เพื่อการรวมกลุมสาขาโลจิสติกสเปนภาคผนวก ซึ่งจะเปน สาขาสำคัญลำดับที่ 12 ที่อาเซียนจะเรงรัดการรวมกลุม ใหแลวเสร็จโดยเร็ว พ.ย. 2550 - ผูนำอาเซียนลงนามในปฏิญญาวาดวยแผนงานการจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งมีแผนการดำเนินงาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดำเนินงาน (Strategic Schedule) เปนเอกสารผนวก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ สรางอาเซียนใหเปนตลาดและฐานการผลิตเดียว เพิ่มขีด ความสามารถในการแขงขัน ลดชองวางการพัฒนา ระหวางประเทศสมาชิก และสงเสริมการรวมตัวของ อาเซียนเขากับประชาคมโลก 24 25
  • 15. แนวทางนำรองสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: “การเรงรัดการรวมกลุม 12 สาขาสำคัญของอาเซียน” แนวทางการนำรองการรวมกลุมทางเศรษฐกิจเริ่มตนจากการ ทดลองเรงรัดการรวมกลุมใน 12 สาขาสำคัญของอาเซียน (12 Priority Integration Sectors) มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมใหเกิดการเคลื่อนยายสินคา และบริการในสาขาตางๆ ดังกลาวไดอยางเสรี และสรางการรวมกลุมในดาน การผลิตและการจัดซื้อวัตถุดิบ เพื่อสงเสริมการเปนฐานการผลิตรวมของ อาเซียน และมีการใชทรัพยากรตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ การดำเนินการ กำหนดประเทศผูประสานงานหลัก (Country Coordinators) ในแต ละสาขา ดังนี้ 26 27
  • 16. 3. การปรับปรุงกฎวาดวยแหลงกำเนิดสินคาใหมีความโปรงใส มี มาตรฐานที่เปนสากลและอำนวยความสะดวกใหแกภาคเอกชน มากขึ้น ขณะนี้ นอกเหนือจากกฎ 40% value-added content แลว อาเซียนไดพัฒนาการคิดแหลงกำเนิดสินคาโดยวิธีแปรสภาพ อยางเพียงพอ (substantial transformation) เพื่อเปนทางเลือก ในการคำนวณแหลงกำเนิดสินคาใหกับสินคาสิ่งทอ อลูมิเนียม เหล็กและผลิตภัณฑไมแลวและไดเริ่มใชวิธีการคิดคำนวณแหลง กำเนิดสินคาแบบสะสมบางสวน (Partial Cumulation ROO) เพื่อใหการคำนวณสัดสวนวัตถุดิบที่ใชในการผลิตมีความยืดหยุน มากขึ้น โดยสินคาที่มีสัดสวนการผลิตภายในขั้นต่ำรอยละ 20 สามารถนำมานับรวมในการคิดแหลงกำเนิดสินคาแบบสะสมของ อาเซียนได เพื่อรับสิทธิประโยชนภายใตอาฟตา 4. การคาบริการ อาเซียนไดเห็นชอบเปาหมายการเปดเสรี สาขาบริการสำคัญ 5 สาขา (Priority Services Sectors) ไดแก สาขาการทองเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาสุขภาพ และ สาขาการบิน ภายในป ค.ศ. 2010 สาขาโลจิสติกส ภายใน ป ค.ศ. 2013 สำหรับสาขาบริการอื่นๆ ไดกำหนดเปาหมายไว ภายในป ค.ศ. 2015 ซึ่งจะตองเรงเจรจาและจัดทำขอผูกพันในการ เปดตลาดในแตละรอบของการเจรจาทั้งในดานการเขาสูตลาด (Market Access) และการใหการประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment: NT) ซึ่งไดสรุปผลการเจรจารอบที่ 4 (ป 2548-2549) และจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดการคาบริการ ชุดที่ 5* ซึ่งรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนไดลงนามพิธีสารอนุวัติ ความสำคัญของการรวมกลุม 12 สาขา จากขอมูลสถิติการคาที่ผานมา มูลคาการคาของไทยกับอาเซียน สำหรับสินคาที่อยูภายใตแผนงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ มีมูลคากวา รอยละ 50 ของมูลคาการคาทั้งหมดของไทยกับอาเซียน ดังนั้น จึงเปนโอกาส สำคัญที่ไทยจะตองเรงพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถในดานการสงออก โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความพรอมและมีขีดความสามารถในการแขงขันสูง อยางเชน สาขาผลิตภัณฑอาหาร ผลิตภัณฑยานยนต ผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส รวมถึงสาขาบริการ อาทิ สาขาการทองเที่ยว การบริการสาขาสุขภาพ และ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนตน เพื่อใชประโยชนจากการรวมกลุมสาขา สำคัญของอาเซียนไดอยางเต็มที่ แผนงานภายใตการรวมกลุม 12 สาขาสำคัญของอาเซียน 1. การเรงขจัดภาษีสินคาใน 9 สาขาหลัก* (เกษตร/ ประมง/ ไม/ ยาง/ สิ่งทอ/ ยานยนต/ อิเล็กทรอนิกส/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขาสุขภาพ) ใหเร็วขึ้นจากกรอบอาฟตา อีก 3 ป ดังนี้ 2. การขจัดมาตรการที่มิใชภาษี อาเซียนไดจัดทำหลักเกณฑ (criteria) การจำแนกมาตรการที่มิใชภาษีของประเทศสมาชิก แลว ซึ่งใชพื้นฐานหลักเกณฑการจำแนกตาม WTO และได เห็นชอบแผนงานการขจัดมาตรการที่มิใชภาษี (Work Programme on elimination of NTBs) ซึ่งประเทศสมาชิก อาเซียนเดิม 5 ประเทศมีกำหนดที่จะขจัดมาตรการที่มิใชภาษี ทั้งหมดภายในป ค.ศ. 2010 สำหรับประเทศฟลิปปนสภายใน ป ค.ศ. 2012 และประเทศ CLMV ภายในป ค.ศ. 2015 * สินคาที่จะเรงลดภาษีใน 9 สาขาสำคัญมีจำนวนทั้งสิ้น 4,272 รายการ โดยประเทศสมาชิกสามารถ ยกเวนรายการสินคาที่ไมพรอมเรงลดภาษี (Negative List) ไดไมเกินรอยละ 15 ของจำนวนรายการ สินคาทั้งหมด * สาขาบริการที่ไทยเสนอเปดตลาดเพิ่มเติมภายใตขอผูกพันชุดที่ 5 ประกอบดวย การรักษาในโรงพยาบาล (ทั้งคนไขนอกและคนไขใน) บริการที่พักประเภท โมเตล และศูนยที่พักแบบตางๆ การติดตั้งวางระบบ คอมพิวเตอร การประมวลผลขอมูล บริการโทรเลข โทรสาร บริการโทรคมนาคมเสริม เชน Electronic mail, voice mail บริการดานการแปล และบริการตรวจเรือเพื่อออกใบสำคัญรับรอง ทั้งนี้ เงื่อนไข การเปดตลาดยังคงอยูภายใตกรอบกฎหมายไทยที่กำหนดในปจจุบัน 28 29
  • 17. ขอผูกพันชุดที่ 5 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2549 ณ เมืองเซบู ประเทศฟลิปปนส ขณะนี้ อยูระหวางการเจรจารอบที่ 5 (ป 2550-2551) โดยไดจัดทำขอผูกพันการเปดตลาดชุดที่ 6 ซึ่งเปนการปรับปรุงขอเสนอการเปดตลาดในขอผูกพันชุดที่ 5 แลวเสร็จ และไดมีการลงนามใชสารอนุวัติขอผูกพันชุดที่ 6 ดังกลาวเมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร 5. การลงทุน สงเสริมการลงทุนภายในภูมิภาคโดยการรวมลงทุน ในสาขาอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และสรางเครือขายดานการ ลงทุนของอาเซียน ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทำรายชื่อเขตสงเสริมการ ลงทุนพิเศษ และเขตนิคมอุตสาหกรรมในอาเซียนแลวเพื่อให เกิดการเชื่อมโยงดานการผลิตและการใชวัตถุดิบภายในภูมิภาค 6. การอำนวยความสะดวกดานพิธีการดานศุลกากร อาเซียนได จัดทำความตกลงวาดวยการอำนวยความสะดวกดานศุลกากร ดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว เมื่อป 2548 ซึ่งกำหนด ใหประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศพัฒนาระบบ National Single Window ใหแลวเสร็จภายในป 2551 และ ประเทศ CLMV ภายในป 2555 เพื่อเชื่อมโยงเปนระบบ ASEAN Single Window ตอไป ซึ่งไทยและฟลิปปนสไดเริ่ม โครงการนำรองการอำนวยความสะดวกดานศุลกากรดวย ระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว เมื่อป 2549 โดยทดลอง ใชกับใบขนสินคาขาออกและแบบฟอรม D กอน เพื่อให ผูประกอบการสามารถยื่นเอกสารและขอมูลที่เกี่ยวของกับ การนำเขา-สงออก ณ จุดเดียว โดยกรมศุลกากรสามารถตัดสินใจ ในการตรวจปลอยสินคาไดในคราวเดียว 7. การพัฒนามาตรฐานและความสอดคลองของผลิตภัณฑ ได จัดทำมาตรฐานการยอมรับรวมสำหรับผลิตภัณฑเครื่องสำอาง และผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกสและเครื่องใชไฟฟาแลว ในระยะ ตอไปจะพัฒนาใหครอบคลุมสินคาอื่นๆ ภายใตการรวมกลุม สาขาสำคัญดวย เชน ผลิตภัณฑไม เครื่องมือแพทย ยาสมุนไพร และผลิตภัณฑเสริมสุขภาพ เปนตน 8. การเคลื่อนยายของนักธุรกิจ ผูเชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝมือ และผูมีความสามารถพิเศษ อยูระหวางการ พัฒนาจัดทำ ASEAN Business Card เพื่ออำนวยความสะดวก ในการเดินทางใหแกนักธุรกิจภายในภูมิภาค และเรงพัฒนา มาตรฐานการยอมรับรวมสำหรับบุคลากรในสาขาวิชาชีพตางๆ ซึ่งขณะนี้ ไดจัดทำขอตกลงยอมรับรวมในสาขาวิศวกรรม สาขา พยาบาล สถาปนิก และคุณสมบัติผูสำรวจแลว และอยูระหวาง การพัฒนาในสาขาวิชาชีพอื่นๆ เชน นักกฎหมาย นักบัญชี บุคลากรทางการแพทย เปนตน โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ อำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพของผูเชี่ยวชาญ และแรงงานมีฝมือภายในอาเซียน 9. การอำนวยความสะดวกดานการเดินทางภายในอาเซียน อยู ระหวางการปรับประสานกระบวนการ/พิธีการในการตรวจลง ตราใหกับนักเดินทางตางชาติที่เดินทางเขามาในอาเซียน รวม ทั้งการยกเวนการตรวจลงตราใหกับผูเดินทางสัญชาติอาเซียน ที่เดินทางภายในอาเซียน 30 31
  • 18. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เปาหมายของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียน: อาเซียนจะรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจภายในป2558(ค.ศ.2015) โดยมีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน (single market and production base) และมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน และแรงงานฝมืออยางเสรี และ การเคลื่อนยายเงินทุนที่เสรีมากขึ้น (free flows of goods, services, investment, and skilled labors, and freer flow of capital) 32 33
  • 19. ทำไมตองจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ? อาเซียนจำเปนตองเรงรัดการรวมกลุมภายในหรือเรงจัดตั้ง ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เนื่องจากกระแสโลกาภิวัตน และแนวโนมการ ทำขอตกลงการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคตางๆ มากขึ้น ทำให อาเซียนตองเรงแสดงบทบาทการรวมกลุมดวยความมั่นคงมากขึ้นกวาแตกอน และปรับปรุงการดำเนินงานใหทันกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยเฉพาะ อยางยิ่งกระแสการแขงขันทางการคาและการแขงขันเพื่อดึงดูดการลงทุน โดยตรงที่นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นและมีแนวโนมจะถายโอนไปสู ประเทศเศรษฐกิจใหม เชน จีน อินเดีย และรัสเซีย มากขึ้น การรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนจะเปนปจจัยสำคัญที่ ชวยเสริมสรางความแข็งแกรงทางเศรษฐกิจและเพิ่มความสามารถในการ แขงขันของอาเซียนในตลาดโลก เนื่องจากสงเสริมใหเกิดการเปดเสรีการ เคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางประเทศสมาชิกที่ลึกซึ้งและกวางขวาง มากยิ่งขึ้น ทั้งในดานการคาสินคา การคาบริการ การลงทุน เงินทุน และ แรงงาน รวมถึงความรวมมือในดานการอำนวยความสะดวกทางการคาและ การลงทุน เพื่อลดอุปสรรคทางดานการคา การลงทุน ใหเหลือนอยที่สุด เทาที่จะเปนไปได ซึ่งจะนำไปสูการพัฒนามาตรฐานการครองชีพและความ กินดีอยูดีของประชาชนภายในประเทศ และลดชองวางความเหลื่อมล้ำ ทางสังคมใหนอยลง 34 35
  • 21. เดินหนาเต็มตัว…มุงหนาสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : “AEC Blueprint …พิมพเขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อไปสูเปาหมายการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน อาเซียนได จัดทำแผนงานในเชิงบูรณาการการดำเนินงานในดานเศรษฐกิจตางๆ เพื่อให เห็นการดำเนินงานในภาพรวมที่จะนำไปสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนภายใน ป ค.ศ. 2015 ไดอยางชัดเจน ซึ่งถาหากเปรียบเทียบกับการสรางบาน แผน งานนี้ก็เปรียบเสมือนพิมพเขียวที่จะชวยบอกองคประกอบและรูปรางหนา ตาของบานหลังนี้วา เมื่อสรางเสร็จแลวจะมีรูปรางหนาตาอยางไร ทำไมตองจัดทำ AEC Blueprint ? z เพื่อกำหนดทิศทางการดำเนินงานในดานเศรษฐกิจใหชัดเจนตาม กรอบระยะเวลาที่กำหนดจนบรรลุเปาหมายAECในปค.ศ.2015 z เพื่อสรางพันธะสัญญาระหวางประเทศสมาชิกที่จะดำเนินการ ไปสูเปาหมายดังกลาวรวมกัน องคประกอบสำคัญของ AEC Blueprint การเปนตลาดเดียว และฐานการผลิตรวม แผนงานที่จะสง เสริมใหมีการเคลื่อน ยายสินคา บริการ การลงทุน และ แรงงานมีฝมือ อยางเสรี และการ เคลื่อนยายเงิน ทุนอยางเสรีมากขึ้น การสรางขีดความ สามารถในการ แขงขันทางเศรษฐกิจ ของอาเซียน แผนงานที่จะสงเสริม การสรางความ สามารถในดานตางๆ เชน นโยบายการ แขงขัน สิทธิใน ทรัพยสินทางปญญา นโยบายภาษี และการ พัฒนาโครงสราง พื้นฐาน (การเงิน การขนสง และ เทคโนโลยสารสนเทศ) การพัฒนาเศรษฐกิจ อยางเสมอภาค แผนงานที่จะสงเสริม การรวมกลุมทาง เศรษฐกิจของสมาชิก และลดชองวางของ ระดับการพัฒนา ระหวางสมาชิกเกา และใหม เชน สนับสนุน การพัฒนา SMEs การบูรณาการเขา กับเศรษฐกิจโลก แผนงานที่จะสงเสริม การรวมกลุมเขากับ ประชาคมโลกโดยเนน การปรับประสาน นโยบายเศรษฐกิจของ อาเซียนกับประเทศ ภายนอกภูมิภาค เชน การจัดทำเขตการคา เสรี และการสราง เครือขายในดานการ ผลิต/จำหนายเปนตน 38 39
  • 22. ความเชื่อมโยงของ AEC Blueprint กับกฎบัตรอาเซียน : กฎบัตรอาเซียน เปนเสมือนธรรมนูญของอาเซียนซึ่งวางกฎเกณฑ สำหรับประชาคมอาเซียน ที่ประกอบดวย 3 เสาหลัก ไดแก ความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยในสวนของเสาเศรษฐกิจ จะมี AEC Blueprint เปนแผนงานที่อาเซียนตองดำเนินการเพื่อใหบรรลุการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 สำหรับองคประกอบอื่นๆ ไดแก การปรับปรุงกลไกดานสถาบันโดย การจัดตั้งกลไกการหารือระดับสูง ประกอบดวยผูแทนระดับรัฐมนตรีทุกสาขา ที่เกี่ยวของ รวมทั้งภาคเอกชนอาเซียน ตลอดจนการพัฒนาระบบกลไกการ ตรวจสอบติดตามผลการดำเนินงาน (Peer Review) และจัดหาแหลง ทรัพยากรสำหรับการดำเนินงานกิจกรรมตางๆ อยางมีประสิทธิภาพ ในชวงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อเดือนพฤศจิกาย น 2550 ณ ประเทศสิงคโปร ผูนำอาเซียนไดลงนามในปฏิญญาวาดวยแผน งานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยประกอบดวยแผนการดำเนิน งาน (AEC Blueprint) และตารางเวลาดำเนินงาน (Strategic Schedule) ซึ่งเปนเอกสารผนวก จึงนับไดวา ขณะนี้อาเซียนไดจัดทำพิมพเขียวของ การดำเนินงานไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเสร็จสมบูรณแลว ขั้นตอไป คือ การเริ่มลงมือดำเนินงานตามแผนงานในดานตางๆ เพื่อรวมกัน สรางประชาคมที่เปนหนึ่งเดียวกันของอาเซียนตอไป (รายละเอียด AEC Blueprint ในภาคผนวก) ทำอยางไรหากบางประเทศไมสามารถปฏิบัติตามแผนงานได ? ในการดำเนินงานสามารถกำหนดใหมีความยืดหยุนในแตละเรื่องไว ลวงหนาได (pre-agreed flexibilities) แตเมื่อตกลงกันไดแลว ประเทศสมาชิก จะตองยึดถือและปฏิบัติตามพันธกรณีที่ไดตกลงกันอยางเครงครัดดวย การติดตามวัดผลการดำเนินงาน : เพื่อใหการดำเนินงานเปนไปตาม แผนงานและกำหนดเวลาที่ตั้งไว อาเซียนจึงตกลงที่จะจัดทำเครื่องมือติดตาม วัดผลการดำเนินการตาม AEC Blueprint หรือที่เรียกวา AEC Scorecard ซึ่งจะใชเปนเครื่องมือหรือกลไกในการติดตามความคืบหนาและประเมินผล การดำเนินงานในดานตางๆ ของประเทศสมาชิกเปนรายประเทศ รวมทั้ง ภาพรวมการดำเนินงานในระดับภูมิภาคดวย โดยจะเสนอ AEC Scorecard ใหผูนำอาเซียนทราบในการประชุมสุดยอดอาเซียนทุกปดวย 40 41
  • 23. กฎบัตรอาเซียน “ASEAN Charter” แนวคิดของการจัดทำกฎบัตรอาเซียนเกิดขึ้นในกรอบกระบวนการ ปฏิรูปอาเซียนเพื่อแกไขปญหาสภาพนิติบุคคลและจัดโครงสรางองคกรเพื่อ รองรับการเปนประชาคมอาเซียน โดยมุงเนนการสรางนิติฐานะ (legal status) ในเวทีระหวางประเทศใหกับอาเซียน วัตถุประสงคของการจัดทำกฎบัตรอาเซียน : เพื่อใหกระบวนการรวมกลุมของอาเซียนมีพื้นฐานทางกฎหมาย รองรับ และมีพันธะสัญญาตอกันมากขึ้น และจะเปนเสมือนธรรมนูญของ อาเซียนซึ่งจะวางกรอบทางกฎหมายและโครงสรางองคกรเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของอาเซียนในการรับมือกับความทาทายใหมๆ และสงเสริม เอกภาพในการรวมตัวกันของประเทศสมาชิก และเปนกาวสำคัญในการ ยกระดับการรวมตัวของประเทศสมาชิกไปสูการจัดตั้งประชาคมอาเซียนใน ป ค.ศ. 2015 ซึ่งประกอบดวย 3 ดานหลัก ไดแก ดานความมั่นคง ดานเศรษฐกิจ ดานสังคมและวัฒนธรรม องคประกอบสำคัญในกฎบัตรอาเซียน : กฎบัตรอาเซียนนอกจากจะระบุเรื่องโครงสรางองคกรและสถานะ ของอาเซียนแลว ยังมีเรื่องของกระบวนการตัดสินใจ และกลไกการระงับขอ พิพาทระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงเรื่องกองทุนและงบประมาณในการ ดำเนินกิจกรรมตางๆ ของอาเซียนดวย ผูนำอาเซียนไดลงนามในกฎบัตรอาเซียนในชวงการประชุมสุดยอด อาเซียน ครั้งที่ 13 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2550 ที่สิงคโปร ดังนั้น จึงเปน ที่นาจับตามองวา ภายหลังจากการลงนามในกฎบัตรอาเซียนนี้แลวจะพลิกโฉม การดำเนินงานของอาเซียนไดมากนอยเพียงใด 42 43
  • 24. เมื่อพิจารณารูปแบบการดำเนินงานการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของ อาเซียนในปจจุบันจะพบวา มีการดำเนินงานในลักษณะผสมผสานระหวาง Customs Union (มีการขจัดภาษีภายในภูมิภาค แตสิ่งที่ยังขาดอยู คือ uniform external tariff structure) Common Market (มีการขจัดอุปสรรค ทางการคาทั้งดานภาษีและมิใชภาษี และสงเสริมการเคลื่อนยายสินคา บริการ และการลงทุน แตสิ่งที่ยังขาดอยู คือ common external trade policy) และ Economic Union (มีเปาหมายการเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน และปจจัยการผลิตที่เสรี แตยังขาดนโยบายการเงิน การคลัง และระบบ สกุลเงินรวมกัน) ซึ่งจัดเปนลักษณะเฉพาะที่พัฒนาขึ้นมาใหเหมาะสมกับ การดำเนินงานภายในของอาเซียนเอง นอกจากนี้ เพื่อใหการรวมกลุมทางเศรษฐกิจภายในภูมิภาคเปนไป อยางมีประสิทธิภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน อาเซียนจำเปน ตองคำนึงถึงบริบทภายนอกประกอบ โดยเฉพาะทิศทางนโยบายดานเศรษฐกิจ กับประเทศภายนอกกลุม เพื่อสรางขีดความสามารถในการแขงขันของอาเซียน ในประชาคมโลก และเพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาตอรอง รวมถึงสง เสริมการรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกวางขวางมากขึ้น ซึ่งมีความเปน ไปไดที่จะพัฒนาไปในลักษณะการเปนสหภาพศุลกากร (Customs Union) ตลาดรวม (Common Market) หรือสหภาพเศรษฐกิจ (Economic Union) ในอนาคต กลาวโดยสรุป รูปแบบการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนคงไม สามารถอิงตามหลักการ/รูปแบบตามทฤษฎีที่มีอยู เนื่องจากอาเซียนไดพัฒนา แนวทาง/รูปแบบวิธีดำเนินงานเพื่อใหเหมาะสมกับการดำเนินงานภายในของ อาเซียนเอง และการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของอาเซียนก็เปนไปในลักษณะ ที่ประเทศสมาชิกตางเห็นพองรวมกันที่จะดำเนินการใหเปนไปตามเปาหมาย/ พันธะสัญญาที่ไดตกลงกันไว ซึ่งนับเปนสิ่งสำคัญที่จะนำไปสูความสำเร็จและ การรวมกลุมทางเศรษฐกิจที่ลึกซึ้งมากขึ้นในอนาคต 44 45
  • 25. ปจจัยสำคัญตอความสำเร็จของการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจของอาเซียน ความสำเร็จของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคขึ้นอยูกับ ปจจัยสำคัญหลายประการ แตสิ่งหนึ่งที่นาจะมีสวนสำคัญตอการดำเนินงาน เห็นจะเปนความเปนหนึ่งเดียวกันของประเทศสมาชิกภายในกลุมที่จะตองยึด มั่นและถือมั่นเปาหมายในระดับภูมิภาครวมกันอยางจริงจัง ยอมสละ ผลประโยชนบางประการของแตละประเทศเพื่อผลประโยชนสวนรวมใน ระดับภูมิภาครวมกัน มิเชนนั้น คงไมสามารถผลักดันใหเกิดการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจที่ลึกซึ้งและกวางขวางขึ้นมาได นอกจากปจจัยดังกลาวขางตนแลว ปจจัยอื่นๆ ที่จะชวยสงเสริมการ รวมกลุมทางเศรษฐกิจใหเห็นผลเปนรูปธรรม และสรางขีดความสามารถทาง ดานเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคใหโดดเดน ไดแก 46 47
  • 26. 1) โครงสรางพื้นฐานภายในภูมิภาค โดยเฉพาะระบบการขนสง ที่จะตองเชื่อมโยงถึงกันในระดับภูมิภาค เพื่อใหเกิดการ เคลื่อนยายสินคา และผูคนไดอยางสะดวกตลอดเสนทาง รวม ถึงการอำนวยความสะดวก ณ จุดผานแดนตางๆ และสงเสริม ความรวมมืออยางจริงจังในสาขาที่มีผลเชื่อมโยงตอการพัฒนา สาขาอื่นๆ (spin over effect) ในอาเซียน เชน สาขาพลังงาน สาขาการคมนาคม และการศึกษา เปนตน 2) นโยบายรวมในระดับภูมิภาค อาเซียนจำเปนตองพิจารณา แนวทางการกำหนดนโยบายดานเศรษฐกิจรวมกันในระดับ ภูมิภาคเพื่อชวยเพิ่มขีดความสามารถในการเจรจาตอรอง รวมถึง สรางผลประโยชนรวมกันในระดับภูมิภาค ซึ่งมีความจำเปน อยางยิ่งที่แตละประเทศจะตองใหความสำคัญกับการปรับปรุง กฎเกณฑ/กฎระเบียบ/กฎหมายภายในใหสอดคลองกับความ ตกลงอาเซียนที่มีอยูดวย 3) กลไกการตัดสินใจ อาเซียนควรพิจารณารูปแบบการตัดสินใจ แบบอื่นๆ ในการพิจารณากำหนดนโยบายหรือตัดสินใจเกี่ยวกับ กิจกรรมภายในของอาเซียน นอกเหนือจากระบบฉันทามติ (consensus) ที่ใชมาตั้งแตเริ่มตนของการรวมตัวทางเศรษฐกิจ จนถึงปจจุบัน ซึ่งมีความเปนไปไดที่จะผลักดันใหมีการนำเอา ระบบเสียงสวนใหญ (majority vote) มาใชกับกระบวนการ ตัดสินใจของอาเซียนแตสมาชิกคงตองหารือที่จะกำหนดแนวทาง และขอบเขตของระบบเสียงสวนใหญเพื่อใหมีความชัดเจนและ โปรงใสในการพิจารณาเรื่องสำคัญๆ ที่ประเทศสมาชิกจะไดรับ ประโยชนรวมกัน 4) การสรางสังคมกฎระเบียบ อาเซียนจำเปนตองพัฒนาไปสู สังคมกฎระเบียบ (Rule-based Society) และสรางนโยบาย ดานการคาและการลงทุนที่สอดประสานในระดับภูมิภาค โดย ใชจุดแข็งของประเทศสมาชิกใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อ สรางขีดความสามารถและขอไดเปรียบในการแขงขันใหกับ อาเซียน และเนนย้ำการปฏิบัติตามพันธกรณีของประเทศ สมาชิกอยางเครงครัด 48 49
  • 27. โอกาสและผลกระทบของการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ ของอาเซียน : นัยตอไทย การรวมกลุมทางเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียนจะชวยสงเสริมใหเกิด การขยายตัวในดานการคาและการลงทุนอันเนื่องมาจากการลดอุปสรรคใน การเขาสูตลาด ทั้งดานมาตรการภาษีและมาตรการที่มิใชภาษี รวมถึงการ สงเสริมความรวมมือเพื่ออำนวยความสะดวกทางการคาและการลงทุน ดังนั้น จึงนับเปนโอกาสสำคัญสำหรับผูประกอบการไทยที่จะตองเรงปรับตัวและใช โอกาสจากการลดอุปสรรคทางการคาและการลงทุนตางๆ ลง ใหเกิดประโยชน อยางเต็มที่ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความพรอมและมีขีดความสามารถใน การแขงขันสูง อยางเชน สาขาผลิตภัณฑอาหาร ผลิตภัณฑยานยนต ผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกส รวมถึงสาขาบริการ อาทิ สาขาการทองเที่ยว การบริการสาขาสุขภาพ และสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งสาขาตางๆ เหลานี้ ลวนเปนสาขาที่อาเซียนจะเรงรัดการรวมกลุมทางเศรษฐกิจให เห็นผลเปนรูปธรรมภายในป ค.ศ. 2010 50 51
  • 28. อยางไรก็ตาม สำหรับสาขาอุตสาหกรรมที่ไมพรอมในการแขงขัน หรือไมมีความไดเปรียบในดานตนทุน คงหลีกหนีไมพนกับผลกระทบที่จะเกิด ขึ้นอันเนื่องมาจากการลดอุปสรรคในดานการคาและการลงทุนตางๆ ลง ทำให ผูประกอบการจากตางชาติสามารถเขาสูตลาดไดสะดวกมากขึ้น และเพิ่มการ แขงขันในตลาดใหสูงขึ้น ดังนั้น ผูประกอบการที่ไมมีความพรอม หรือมีขีด ความสามารถในการแขงขันต่ำอาจถูกกดดันใหตองออกจากตลาดไป ภาครัฐ จึงจำเปนตองเตรียมแผนการรองรับที่รอบคอบและรัดกุมเพื่อลดผลกระทบที่ จะเกิดขึ้น เชน การจัดตั้งกองทุนเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปดเสรีทาง การคา การกำหนดแนวนโยบายดานเศรษฐกิจในระดับมหภาคที่ชัดเจน ซึ่ง จะชวยสงสัญญาณใหภาคเอกชนไดรับทราบและเตรียมความพรอมใน การปรับตัวไดอีกทางหนึ่ง 52 53
  • 29. นโยบายของภาครัฐตออาเซียน ภาครัฐไดใหความสำคัญกับการดำเนินงานของอาเซียนเปนลำดับ แรกมาโดยตลอดในฐานะที่อาเซียนเปนกลุมภูมิภาคที่มีความใกลชิดทั้งในดาน การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยรัฐบาลไดใชนโยบาย ASEAN First Policy คือ อาเซียนตองมากอน เนื่องจากเห็นวา การรวมตัวอยาง แนนแฟนของอาเซียนจะชวยเพิ่มศักยภาพการแขงขันของอาเซียนรวมทั้งไทย ในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ รวมทั้งชวยสรางอำนาจ ในการตอรองในกรอบการเจรจาระดับภูมิภาค และพหุภาคี และจากพื้นฐาน ที่แข็งแกรงนี้ จะทำใหการเชื่อมโยงกับประเทศอื่นๆ ของไทยเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพมากขึ้นดวย รัฐบาลมีโครงการสรางเครือขายและขยายความรวมมือทางธุรกิจใน อาเซียน หรือ ASEAN Hub โดยมีกระทรวงพาณิชยเปนหนวยงานรับผิดชอบ ซึ่งกำหนดยุทธศาสตรที่มีตออาเซียนไว 4 ดาน คือ 54 55
  • 30. 1) การเปนพันธมิตรและหุนสวน คือ ตองทำใหอาเซียนเปนทั้ง พันธมิตรและหุนสวนเพื่อใหประเทศไทยเปน gateway ของ อาเซียน ทั้งการคาและการลงทุน โดยการใชเวทีทวิภาคีที่มีอยู และความรวมมือในกรอบอนุภูมิภาคตางๆ เชน ACMECS GMS และ IMT-GT เปนตัวชวยผลักดัน และตองเปลี่ยนแนวคิด การมองอาเซียนจากคูแขงมาเปนหุนสวน โดยการสรางความ ไววางใจใหเกิดขึ้นทั้งแกคนไทย และผูประกอบการไทย โดยการ ใหความชวยเหลือแกประเทศเพื่อนบาน การเขาไปลงทุนผลิต สินคาเกษตรที่ขาดแคลน และการชักจูงประเทศที่สามเขารวม ในการพัฒนา เปนตน 2) การเปนแหลงวัตถุดิบที่สำคัญ คงตองยอมรับวา ประเทศใน อาเซียนมีความหลากหลายและความพรอมทางเศรษฐกิจที่ แตกตางกันไป มีทั้งกลุมที่มีความชำนาญในดานเทคโนโลยี กลุมที่เปนฐานการผลิต และกลุมที่มีทรัพยากรและแรงงาน สำหรับการผลิต ดังนั้น ไทยจึงจำเปนตองพิจารณาเลือกใช ประโยชนจากจุดแข็งที่มีอยูของแตละประเทศใหเหมาะสม 3) การเปนฐานการผลิตใหอุตสาหกรรมไทย ซึ่งอาจจำเปนตอง พิจารณาเรื่องการยายฐานการผลิตของบางอุตสาหกรรมออกไป ยังประเทศเพื่อนบานเพื่อสรางความไดเปรียบในการแขงขัน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใชแรงงาน และแรงงานกึ่งฝมือ เชน อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร สิ่งทอ เฟอรนิเจอร แปรรูป ผลิตภัณฑไม หรือการรวมลงทุนกับประเทศเพื่อนบาน 4) การเปนตลาดที่มีประชากรกวา 550 ลานคน ซึ่งไทยจะตอง รักษาตลาดเดิมนี้ไวใหมั่นคง และพยายามขยายออกไปให กวางขวางมากขึ้น 56 57