SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Organophosphate & Carbamate Poisoning
By Siwaporn Khureerung
3. Organic insecticides from plant
หางไหล ตะไคร ้หอม สะเดาอินเดีย ยาสูบ
ชนิดของสารฆ่าแมลง (Insecticides)
-พวกไฮโดรคาร์บอนที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบในโมเลกุล (chlorinated
hydrocarbons) เช่น DDT
1. Inorganic insecticides
2. Synthetic organic insecticides
ปรอท ตะกั่ว สารหนู บิสมัส พลวง ฟลูออรีน ฟอสฟอรัส
-พวกคาร์บาเมต (carbamates) เช่น Aldicarb Aminocarb Carbofuran
-พวกฟอสเฟตอินทรีย์ (organophosphates) เช่น phodphoryl chloride
cyanophosphate, Parathion, Folidol
2
Enzymes
Axonal membranes
Ions (Na+, K+, Ca++, Cl-)
Enzymes
NeurotransmittersOrganophosphate
Carbamate esters
แสดงตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ระบบเส้นประสำทของ
สำรฆ่ำแมลงกลุ่มสำรอินทรีย์ 3
Organophosphate
ยับยั้งเอ็นไซม์แบบไม่ผันกลับ (irreversible)
Carbamate
ยับยั้งเอ็นไซม์แบบผันกลับได้ (reversible)
**ภาวะเป็นพิษจาก carbamate จึงหายได้เร็วภายในเวลา 48 ชั่วโมงเป็นส่วนใหญ่**
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาระดับ cholinesterase มี 2 ชนิดคือ
- Red blood cell acetyl cholinesterase
- Plasma cholinesterase
การดูแลรักษา
supportive case และ specific case
มีปัญหาและเสียชีวิต จากเรื่องการหายใจล้ม เหลว การดูแลเกี่ยวกับการหายใจจึงเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด
Supportive case
การประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นซึ่งได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และระบบการไหลเวียน หากมีปัญหา
ของส่วนใด ควรให้การดูแลรักษาก่อนได้แก่
- การจัดท่าผู้ป่วยให้นอนตะแคงซ้ายหัวต่า เพื่อเปิดทางเดินหายใจร่วมกับการให้ ดม
ออกซิเจน หรือการใส่ endotracheal tube ทั้งนี้ขึ้นกับสภาพของผู้ป่วยเป็นหลัก พร้อมกัน
นั้นควรเปิดเส้นให้iv.fluid เพราะผู้ป่วยมักมี volume depletion ร่วมด้วย
Specific case
การลดการปนเปื้อน (decontamination) ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษโดยการกิน ควร
พิจารณาทา gastrointestinal decontamination ดังนี้
- Gastric lavage จะทา เมื่อผู้ป่วยกินสารพิษภายใน 1 ชั่วโมงแรกเท่านั้นก่อนทาการล้าง
ท้องใช้น้าสะอาด 5 – 10 ลิตร จะต้องประเมินและดูแลเรื่องทางเดินหายใจ และการหายใจก่อน
เสมอ มิฉะนั้นอาจจะก่อให้เกิดการสาลักและ aspiration pneumonitis ซึ่งเป็น
ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญได้
- Activated charcoal ควรให้ผู้ป่วยกินถ้ายังมีสติอยู่หรือให้ทาง nasogastric
tube ในขนาด 50 กรัม (1 กรัมต่อกก. ในผู้ป่วยเด็ก) ครั้งเดียว
**ผู้มีเครื่องนุ่งห่มเปื้อนสารเหล่านี้ควรถอดออกและล้างตัวด้วยน้า สะอาด **
Atropine
 Loading dose:
แนะนา เริ่มต้น ที่ 1.8 มก. (3 vial) ทางหลอดเลือดดา
แล้วประเมินเรื่องเสมหะในทางเดินหายใจและชีพจร เป้าหมายคือ
- ให้ไม่มีเสมหะในทางเดินหายใจ
- Pluse>80bpm และความดันsystolic>80 mmHg
โดยให้ประเมินทุก 15 นาที หากผลของยายังไม่ถึงเป้าหมาย ควรให้ยาซ้า ขนาด1.8, 3.6 และ 7.2
มก. ตามลาดับ
 Maintenance dose
ควรให้ยา atropine ต่อในขนาดร้อยละ10-20 ของ loading dose ต่อชั่วโมง
โดยผสมใน iv. fluid หยดทางหลอดเลือดดา ผู้ป่วยควรได้รับการติดตามเป็นระยะๆ ทุก 6-12
ชั่วโมงเป็นอย่างน้อยหากอาการและอาการแสดงของ muscarinic cholinergic ดีขึ้น ควร
พิจารณาลดขนาดของ atropine ลงอย่างช้าๆ เพื่อป้องกัน ภาวะ atropine psychosis
Cabamate รักษา 1-2 วัน เท่านั้น
Organophosphate อาจจะต้องให้การรักษาหลายวันหรือเป็นสัปดาห์ได้
Pralidoxime (2 -PAM)
 Loading dose
1,000-2,000 mg หรือ 30 mg/kg ในเด็ก i.v. in 10-20 min
 Maintenance dose
1,000 mg/hr หรือ 8-10 mg/kg/hr i.v.
** ควรให้ยา 2-PAM จนกว่า ผู้ป่วยจะพ้นจากภาวะเป็นพิษไปแล้ว
12-24 ชั่วโมง กรณีที่ไม่สามารถระบุชัดเจนว่า ผู้ป่วยได้รับพิษจาก
organophosphate หรือ carbamate ในช่วง 1-2 วันแรก
อาจพิจารณารักษาแบบ organophosphate ไปก่อนเลย แต่ต้องเฝ้าดู
ผู้ป่วยหลังได้ยา หากผู้ป่วยมีอาการลดลงหลังให้ยา ก็ควรงดการให้ยา **
ข้อบ่งชี้ในการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ทุกรายควรได้รับการพิจารณารับไว้รักษาในโรงพยาบาล

More Related Content

What's hot

Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Utai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
A003
A003A003
A003
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
Principles of Pharmacotherapy in Chronic Heart Failure 56 01 30
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
Principles of Pharmacotherapy in Dyslipidemia 56 01 05
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 

More from Siwaporn Khureerung

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 

More from Siwaporn Khureerung (7)

แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
Cervical trauma
Cervical traumaCervical trauma
Cervical trauma
 
Ultrasound liver
Ultrasound liverUltrasound liver
Ultrasound liver
 
Baker's cyst
Baker's cystBaker's cyst
Baker's cyst
 
Hallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptxHallux valgus.pptx
Hallux valgus.pptx
 
Journal review
Journal reviewJournal review
Journal review
 
Epidermal necrolysis
Epidermal necrolysisEpidermal necrolysis
Epidermal necrolysis
 

Organophosphate and carbamate poisoning

  • 1. Organophosphate & Carbamate Poisoning By Siwaporn Khureerung
  • 2. 3. Organic insecticides from plant หางไหล ตะไคร ้หอม สะเดาอินเดีย ยาสูบ ชนิดของสารฆ่าแมลง (Insecticides) -พวกไฮโดรคาร์บอนที่มีคลอรีนเป็นส่วนประกอบในโมเลกุล (chlorinated hydrocarbons) เช่น DDT 1. Inorganic insecticides 2. Synthetic organic insecticides ปรอท ตะกั่ว สารหนู บิสมัส พลวง ฟลูออรีน ฟอสฟอรัส -พวกคาร์บาเมต (carbamates) เช่น Aldicarb Aminocarb Carbofuran -พวกฟอสเฟตอินทรีย์ (organophosphates) เช่น phodphoryl chloride cyanophosphate, Parathion, Folidol 2
  • 3. Enzymes Axonal membranes Ions (Na+, K+, Ca++, Cl-) Enzymes NeurotransmittersOrganophosphate Carbamate esters แสดงตำแหน่งออกฤทธิ์ที่ระบบเส้นประสำทของ สำรฆ่ำแมลงกลุ่มสำรอินทรีย์ 3
  • 4.
  • 6.
  • 7.
  • 9. การดูแลรักษา supportive case และ specific case มีปัญหาและเสียชีวิต จากเรื่องการหายใจล้ม เหลว การดูแลเกี่ยวกับการหายใจจึงเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด Supportive case การประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นซึ่งได้แก่ ทางเดินหายใจ การหายใจ และระบบการไหลเวียน หากมีปัญหา ของส่วนใด ควรให้การดูแลรักษาก่อนได้แก่ - การจัดท่าผู้ป่วยให้นอนตะแคงซ้ายหัวต่า เพื่อเปิดทางเดินหายใจร่วมกับการให้ ดม ออกซิเจน หรือการใส่ endotracheal tube ทั้งนี้ขึ้นกับสภาพของผู้ป่วยเป็นหลัก พร้อมกัน นั้นควรเปิดเส้นให้iv.fluid เพราะผู้ป่วยมักมี volume depletion ร่วมด้วย
  • 10. Specific case การลดการปนเปื้อน (decontamination) ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษโดยการกิน ควร พิจารณาทา gastrointestinal decontamination ดังนี้ - Gastric lavage จะทา เมื่อผู้ป่วยกินสารพิษภายใน 1 ชั่วโมงแรกเท่านั้นก่อนทาการล้าง ท้องใช้น้าสะอาด 5 – 10 ลิตร จะต้องประเมินและดูแลเรื่องทางเดินหายใจ และการหายใจก่อน เสมอ มิฉะนั้นอาจจะก่อให้เกิดการสาลักและ aspiration pneumonitis ซึ่งเป็น ภาวะแทรกซ้อนที่สาคัญได้ - Activated charcoal ควรให้ผู้ป่วยกินถ้ายังมีสติอยู่หรือให้ทาง nasogastric tube ในขนาด 50 กรัม (1 กรัมต่อกก. ในผู้ป่วยเด็ก) ครั้งเดียว **ผู้มีเครื่องนุ่งห่มเปื้อนสารเหล่านี้ควรถอดออกและล้างตัวด้วยน้า สะอาด **
  • 11. Atropine  Loading dose: แนะนา เริ่มต้น ที่ 1.8 มก. (3 vial) ทางหลอดเลือดดา แล้วประเมินเรื่องเสมหะในทางเดินหายใจและชีพจร เป้าหมายคือ - ให้ไม่มีเสมหะในทางเดินหายใจ - Pluse>80bpm และความดันsystolic>80 mmHg โดยให้ประเมินทุก 15 นาที หากผลของยายังไม่ถึงเป้าหมาย ควรให้ยาซ้า ขนาด1.8, 3.6 และ 7.2 มก. ตามลาดับ  Maintenance dose ควรให้ยา atropine ต่อในขนาดร้อยละ10-20 ของ loading dose ต่อชั่วโมง โดยผสมใน iv. fluid หยดทางหลอดเลือดดา ผู้ป่วยควรได้รับการติดตามเป็นระยะๆ ทุก 6-12 ชั่วโมงเป็นอย่างน้อยหากอาการและอาการแสดงของ muscarinic cholinergic ดีขึ้น ควร พิจารณาลดขนาดของ atropine ลงอย่างช้าๆ เพื่อป้องกัน ภาวะ atropine psychosis Cabamate รักษา 1-2 วัน เท่านั้น Organophosphate อาจจะต้องให้การรักษาหลายวันหรือเป็นสัปดาห์ได้
  • 12. Pralidoxime (2 -PAM)  Loading dose 1,000-2,000 mg หรือ 30 mg/kg ในเด็ก i.v. in 10-20 min  Maintenance dose 1,000 mg/hr หรือ 8-10 mg/kg/hr i.v. ** ควรให้ยา 2-PAM จนกว่า ผู้ป่วยจะพ้นจากภาวะเป็นพิษไปแล้ว 12-24 ชั่วโมง กรณีที่ไม่สามารถระบุชัดเจนว่า ผู้ป่วยได้รับพิษจาก organophosphate หรือ carbamate ในช่วง 1-2 วันแรก อาจพิจารณารักษาแบบ organophosphate ไปก่อนเลย แต่ต้องเฝ้าดู ผู้ป่วยหลังได้ยา หากผู้ป่วยมีอาการลดลงหลังให้ยา ก็ควรงดการให้ยา **