SlideShare a Scribd company logo
KruFonpian  1 
3. การวัดคากลางของขอมูล 
2. การวัดตําแหนงที่ของขอมูล 
4. การวัดการกระจายของขอมูล 
1. การแจกแจงความถี่ของขอมูล 
หนวยที่ 2 การวิเคราะหขอมูลเบื้องตน
KruFonpian  2 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูล
KruFonpian  3 
คากลางของขอมูล 
1. คาเฉลี่ยเลขคณิต (arithmetic  mean) 
2. มัธยฐาน  (median) 
3. ฐานนิยม (mode) 
จําไดไหม 
4. คาเฉลี่ยเรขาคณิต  (geometric  mean) 
5. คาเฉลี่ยฮารมอนิก  (harmonic  mean) 
•  คาเฉลี่ยเลขคณิตถวงน้ําหนัก 
(weighted arithmetic  mean) 
• คาเฉลี่ยเลขคณิตรวม 
(combined arithmetic  mean)
KruFonpian  4 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูล 
จุดประสงคการเรียนรู 
3. สามารถบอกความหมายและวิธีการวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบ 
ตาง ๆ ในกรณีของขอมูลที่แจกแจงความถี่ได 
2. สามารถหาคาควอรไทล  เดไซด และเปอรเซ็นไทลของขอมูล 
ที่ไมไดแจกแจงความถี่ได 
1. สามารถบอกความหมายและวิธีการวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบ 
ตางๆ ในกรณีของขอมูลไมไดแจกแจงความถี่ได 
4. สามารถหาคาควอรไทล เดไซด และเปอรเซ็นไทลของขอมูล 
ที่แจกแจงความถี่ได
KruFonpian  5 
ถาทวีศักดิ์สอบแขงขันคณิตศาสตร 
ในระดับเขตไดที่ 10 จะสรุปไดไหม 
วาทวีศักดิ์เกงมากนอยเพียงใด 
• ถาในมีนักเรียนสอบแขงขันทั้งหมด 50 คน 
สรุปวานายทวีศักดิ์เกง 
สรุปวานายทวีศักดิ์ไมเกง 
• ถาในมีนักเรียนสอบแขงขันทั้งหมด 10 คน 
บอกไดไหม
KruFonpian  6 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูล ทําได 3 วิธี ไดแก 
1. การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบควอรไทล (quartiles) 
2. การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเดไซด (deciles) 
3. การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเปอรเซ็นไทล 
(percentiles)
KruFonpian  7 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบควอรไทล 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบควอรไทล 
คือ การแบงขอมูลออกเปน 4 สวนเทา ๆ 
กัน โดยเมื่อเรียงลําดับขอมูลจากนอยไปหา 
มากคาที่ตรงจุดแบง 3 จุด เรียกวา
KruFonpian  8 
1 Q  2 Q  3 Q 
ขอมูลที่มีคามาก ขอมูลที่มีคานอย 
ควอรไทลที่ 1  ใชสัญลักษณ Q 1 
ควอรไทลที่ 2  ใชสัญลักษณ Q 2 
ควอรไทลที่ 3  ใชสัญลักษณ Q 3
KruFonpian  9 
1 Q  2 Q  3 Q 
คือ คาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยู 
ประมาณ 1 ใน 4 ของจํานวนขอมูลทั้งหมด 
Q 2 
Q 3 
แตละคามีความหมาย ดังนี้ 
Q 1 
คือ คาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยู 
ประมาณ 2 ใน 4 ของจํานวนขอมูลทั้งหมด 
คือ คาที่มีจํานวนขอมูลนอยกวาคานี้อยู 
ประมาณ 3 ใน 4 ของจํานวนขอมูลทั้งหมด
KruFonpian  10 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเดไซล 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเดไซล คือ 
การแบงขอมูลออกเปน 10 สวนเทา ๆ กัน 
โดยเมื่อเรียงลําดับขอมูลจากนอยไปหามาก 
คาที่ตรงจุดแบง 9 จุด เรียกวา
KruFonpian  11 
1 D  2 D  3 D  4 D  5 D  6 D  7 D  8 D  9 D 
ขอมูลที่มีคามาก ขอมูลที่มีคานอย 
เดไซลที่ 1  ใชสัญลักษณ D 1 
เดไซลที่ 3  ใชสัญลักษณ D 3 
เดไซลที่ 2  ใชสัญลักษณ D 2 
เดไซลที่ 9  ใชสัญลักษณ D 9 
·
·
·
KruFonpian  12 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเปอรเซ็นไทล 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลแบบเปอรเซ็นไทล 
คือ การแบงขอมูลออกเปน 100 สวนเทา ๆ กัน 
โดยเมื่อเรียงลําดับขอมูลจากนอยไปหามากคาที่ 
ตรงจุดแบง 99 จุด เรียกวา
KruFonpian  13 
เปอรเซ็นไทลที่ 1  ใชสัญลักษณ P 1 
·
·
· 
เปอรเซ็นไทลที่ 2  ใชสัญลักษณ P 2 
เปอรเซ็นไทลที่ 3  ใชสัญลักษณ P 3 
เปอรเซ็นไทลที่ 99  ใชสัญลักษณ P 99 
10 P  20 P  30 P  40 P  50 P  60 P  70 P  80 P 
99 P 
90 P 
1 P 
2 P 
ขอมูลเรียงจากนอยไปหามาก 3 P
KruFonpian  14 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ 
ขั้นตอนการหาคาของขอมูล ณ ตําแหนงของควอรไทล 
เดไซล และเปอรเซ็นไทลที่กําหนด  มี 3 ขั้นตอน  ดังนี้ 
ขั้นที่ 1  จัดเรียงขอมูลจากคานอยไปหาคามาก 
ขั้นที่ 2  หาตําแหนงของของควอรไทล เดไซล และ 
เปอรเซ็นไทล ที่ตองการหา จากสูตร
KruFonpian  15 
ถา N เปนจํานวนขอมูลทั้งหมด 
Q r อยูในตําแหนงที่  r(N+1) 
4 
เมื่อ r Î {1,2,3} 
D r อยูในตําแหนงที่  r(N+1) 
10 
เมื่อ r Î {1,2,3…,9} 
P r อยูในตําแหนงที่  r(N+1) 
100 
เมื่อ r Î {1,2,3…,99}
KruFonpian  16 
การวัดตําแหนงที่ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ 
ขั้นที่ 3  หาคาที่อยูในตําแหนงของควอรไทล เดไซล 
และเปอรเซ็นไทล ที่คํานวณไดในขั้นตอนที่ 2 
• ถาตําแหนงที่ได เปนจํานวนเต็ม  คาขอมูลที่ตรงกับ 
ตําแหนงนั้น จะเปนคําตอบของควอรไทล เดไซล และ 
เปอรเซ็นไทล ที่ตองการ 
• ถาตําแหนงที่ได ไมเปนจํานวนเต็ม  ใหหาคาควอรไทล 
เดไซล และเปอรเซ็นไทล โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค
KruFonpian  17 
กําหนดขอมูลใหดังตอไปนี้ ตัวอยางที่ 1 
3 , 6 , 8 , 1 , 7 , 11 , 14 , 15 
16 , 5 , 7 , 30 , 27 , 25 , 23 
จงหาคา ควอรไทลที่ 1  เดไซลที่ 5 
และเปอรเซ็นไทลที่ 70
KruFonpian  18 
วิธีทํา 
ขั้นที่ 1 นําขอมูลมาเรียงจากคานอยไปหาคามาก ไดดังนี้ 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11  14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
จากการนับขอมูลพบวามีจํานวนขอมูลทั้งหมด 15 จํานวน 
ดังนั้น N = 15 
ขั้นที่ 2 หาตําแหนงที่ของควอรไทลที่ 1  จากสูตร 
1. หาคาควอรไทลที่ 1 
ตําแหนงที่ Q r  r(N+1) 
4 
= 
แทนคา N = 15 จะได ดังนั้นตําแหนงที่ Q 1  (N+1) 
4 
=
KruFonpian  19 
ดังนั้นตําแหนงที่ Q 1  (15+1) 
4 
= 
16 
4 
=  = 4 
ขั้นที่ 3 หาคาของขอมูลในตําแหนงที่ 4  มีคาเปน 6 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
ดังนั้น  คาของขอมูล ณ ตําแหนงควอรไทลที่ 1 คือ 6
KruFonpian  20 
วิธีทํา 
ขั้นที่ 1 นําขอมูลมาเรียงจากคานอยไปหาคามาก ไดดังนี้ 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11  14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
จากการนับขอมูลพบวามีจํานวนขอมูลทั้งหมด 15 จํานวน 
ดังนั้น N = 15 
ขั้นที่ 2 หาตําแหนงที่ของเดไซลที่ 5  จากสูตร 
2. หาคาเดไซลที่ 5 
ตําแหนงที่ D r  r(N+1) 
10 
= 
แทนคา N = 15 จะได ดังนั้นตําแหนงที่ D 5  5(N+1) 
10 
=
KruFonpian  21 
ดังนั้นตําแหนงที่ D 5  5(15+1) 
10 
=  = 8 
ขั้นที่ 3 หาคาของขอมูลในตําแหนงที่ 8  มีคาเปน 11 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11 , 14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
ดังนั้น  คาของขอมูล ณ ตําแหนงเดไซลที่ 5 คือ 11 
80 
10 
=
KruFonpian  22 
วิธีทํา 
ขั้นที่ 1 นําขอมูลมาเรียงจากคานอยไปหาคามาก ไดดังนี้ 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11  14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
จากการนับขอมูลพบวามีจํานวนขอมูลทั้งหมด 15 จํานวน 
ดังนั้น N = 15 
ขั้นที่ 2 หาตําแหนงที่ของเปอรเซ็นไทลที่ 70  จากสูตร 
3. หาคาเปอรเซ็นไทลที่ 70 
ตําแหนงที่ P r  r(N+1) 
100 
= 
แทนคา N = 15 จะได ดังนั้นตําแหนงที่ D 70  70(N+1) 
100 
=
KruFonpian  23 
ดังนั้นตําแหนงที่ P 70  70(15+1) 
100 
=  = 11.2 
โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค 
1,120 
100 
= 
ขั้นที่ 3 หาคาของขอมูลในตําแหนงที่ 11.2 
1 , 3 , 5 , 6 , 7 , 7 , 8 , 11  14 , 15 , 16 , 23 , 25 , 27 , 30 
ตําแหนงของขอมูล 
คาของขอมูล 
11
16 
12
23 
11.2 
16+x 
หาคา  x โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค  ดังนี้ 
11.2
KruFonpian  24 
ดังนั้น  คาของขอมูล ณ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 70 คือ 17.4 
ตําแหนงของขอมูล 
คาของขอมูล 
11
16 
12
23 
11.2 
16+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 12 – 11 = 1  คาของขอมูลเพิ่มขึ้น  23 – 16 = 7 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 11.2 – 11 = 0.2  คาของขอมูลเพิ่มขึ้น  0.2 ´ 7 
1 
=1.4 
X= 1.4 
นั่นคือ  คาของขอมูล ณ ตําแหนง 11.2 คือ 16 + 1.4 = 17.4
KruFonpian  25 
ลองดูหนูทําได 
กําหนดขอมูลใหดังตอไปนี้ 
24 , 12 , 10 , 12 , 23 , 16 , 20 , 27 , 16 , 12 
10 , 16  16 , 20 , 20 , 20 , 23 , 25 , 25 
จงหาคา ควอรไทลที่ 3  เดไซลที่ 3 และ 
เปอรเซ็นไทลที่ 67 
เฉลย
KruFonpian  26 
เรียงจากคานอยไปหาคามาก ไดดังนี้ 
10 , 10 , 12 , 12 , 12 , 16 , 16 , 16  16 , 20 , 20 , 20 , 20 
23 , 23, 24 , 25 , 25 , 27 
จากการนับขอมูลพบวามีจํานวนขอมูลทั้งหมด 19 จํานวน 
ดังนั้น N = 19 
1. หาคาควอรไทลที่ 3 
วิธีทํา 
ตรวจดูหนูถูกไหม
KruFonpian  27 
หาตําแหนงที่ Q 3  จากสูตร 
แทนคา N = 19 จะได 
ตําแหนงที่ Q 3  3(N+1) 
4 
= 
ดังนั้น คาของขอมูล ณ ตําแหนงควอรไทลที่ 3  คือ 23 
ตําแหนงที่ Q 3  3(19+1) 
4 
=  = 15
KruFonpian  28 
2. หาคาเดไซลที่ 3 
วิธีทํา  หาตําแหนงที่ D 3  จากสูตร 
แทนคา N = 19 จะได 
ตําแหนงที่ D 3  3(N+1) 
10 
= 
ดังนั้น คาของขอมูล ณ ตําแหนงเดไซลที่ 3  คือ 16 
ตําแหนงที่ D 3  3(19+1) 
10 
=  = 6 
ตรวจดูหนูถูกไหม
KruFonpian  29 
หาตําแหนงที่ Q 3  จากสูตร 
แทนคา N = 19 จะได 
ตําแหนงที่ Q 3  3(N+1) 
4 
= 
ดังนั้น คาของขอมูล ณ ตําแหนงควอรไทลที่ 3  คือ 23 
ตําแหนงที่ Q 3  3(19+1) 
4 
=  = 15
KruFonpian  30 
ตรวจดูหนูถูกไหม 
3. หาคาเปอรเซ็นไซลที่ 67 
วิธีทํา 
แทนคา N = 19 จะได 
หาตําแหนงที่ P 67  จากสูตร ตําแหนงที่ P 67  67(N+1) 
100 
= 
หาคาของขอมูล ณ ตําแหนง 13.4 โดยการเทียบ 
บัญญัติไตรยางค  ไดดังนี้ 
ตําแหนงที่ P 3 
67(19+1) 
100 
=  = 13.4
KruFonpian  31 
ดังนั้น  คาของขอมูล ณ ตําแหนงเปอรเซ็นไทลที่ 67 คือ 21.2 
ตําแหนงของขอมูล 
คาของขอมูล 
13
20 
14
23 
13.4 
20+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 14 – 13 = 1  คาของขอมูลเพิ่มขึ้น  23 – 20 = 3 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 13.4 – 13 = 0.4  คาของขอมูลเพิ่มขึ้น  0.4 ´ 3 
1 
=1.2 
X= 1.2 
นั่นคือ  คาของขอมูล ณ ตําแหนง 13.4 คือ 20 + 1.2 = 21.2
KruFonpian  32 
ผลการทดสอบที่เกี่ยวกับระดับ 
ตัวอยางที่ 2 
98 , 111 , 108 , 100 , 96 , 103 , 115 , 99 
103 , 101 , 114 , 90 , 122 , 113 , 95 , 104 
116 , 100 , 99 , 101 , 89 , 107 , 113 , 102 
สติปญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 
กลุมหนึ่งปรากฎคะแนนดังนี้
KruFonpian  33 
1) นักเรียนจะตองสอบไดคะแนนเทาไร  จึงจะมี 
นักเรียนประมาณครึ่งหนึ่งของชั้นไดคะแนนต่ํากวา 
2) นักเรียนจะตองสอบไดคะแนนเทาไร  จึงจะมี 
นักเรียนประมาณหนึ่งในสี่ของชั้นไดคะแนนสูงกวา 
3)  นักเรียนจะตองสอบไดกี่คะแนน จึงจะมีผูสอบได 
คะแนนนอยกวาอยูประมาณ 8 ใน 10
KruFonpian  34 
1)  คะแนนที่มีจํานวนนักเรียนไดต่ํากวาคานี้อยูประมาณครึ่งหนึ่ง 
ของชั้น  คือ คะแนนที่เปอรเซ็นไทลที่ 50 
89  90  95  96  98  99  99  100 
100  101  101  102  103  103  104  107 
108  111  113  113  114  115  116  122 
วิธีทํา  นําขอมูลมาเรียงจากคานอยไปหาคามาก  ไดดังนี้ 
จากการนับขอมูลพบวามีจํานวนขอมูลทั้งหมด  24 ดังนั้น N = 24 
หา  P 50 ไดดังนี้ 
หาตําแหนงของเปอรเซ็นไทลที่ 50  จากสูตร 
50(N+1) 
100 
= P 50 ตําแหนงที่ของ  แทนคา N = 24 จะได
KruFonpian  35 
50(24+1) 
100 
= P 50 ตําแหนงที่ของ  =12.5 
หาคะแนน ณ ตําแหนง 12.5 โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค  ไดดังนี้ 
ตําแหนงของขอมูล 
คะแนน 
12
102 
13
103 
12.5 
102+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 13 – 12 = 1  คะแนนเพิ่มขึ้น  103 – 102 = 1 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 12.5 – 12 = 0.5  คะแนนเพิ่มขึ้น  0.5 ´ 1 
1 
= 0.5 
X= 0.5 
ดังนั้น  P 50  =  102+0.5 = 102.5  คะแนน
KruFonpian  36 
นั่นคือ นักเรียนจะตองสอบได 102.5 คะแนน 
จึงจะมีนักเรียนประมาณครึ่งหนึ่งของชั้นไดคะแนน 
ต่ํากวา
KruFonpian  37 
คือ คะแนนที่ควอรไทลที่ 3  หา  Q 3 ไดดังนี้ 
หาตําแหนงของควอรไทลที่ 3  จากสูตร 
แทนคา N = 24 จะได 
ตําแหนงที่ของ 
ตําแหนงที่ของ Q 3 
3(N+1) 
4 
= 
= 
4 
75 
18.75 = 
หาคะแนน ณ ตําแหนง 18.75 โดยการเทียบบัญญัติไตรยางค 
วิธีทํา  2) คะแนนที่มีนักเรียนประมาณหนึ่งในสี่ของชั้นไดคะแนนสูงกวา 
4 
3(24+1) 
Q 3  =
KruFonpian  38 
ตําแหนงของขอมูล 
คะแนน 
18
111 
19
113 
18.75 
111+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 19 – 18 = 1  คะแนนเพิ่มขึ้น  113 – 111 = 2 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 18.75 – 18 = 0.75  คะแนนเพิ่มขึ้น  0.75 ´ 2 
1 
=1.5 
X= 1.5 ดังนั้น  Q 3  = 111 + 1.5 = 112.5 คะแนน 
นั่นคือ  นักเรียนจะตองสอบได  112.5  คะแนน  จึงจะมี 
นักเรียนประมาณหนึ่งในสี่ของชั้นไดคะแนนสูงกวา
KruFonpian  39 
คือ คะแนนที่เดไซลที่ 8 หา  D 8 ไดดังนี้ 
หาตําแหนงของเดไซลที่ 8  จากสูตร 
แทนคา N = 24 จะได ตําแหนงที่ของ D 8 
8(N+1) 
10 
= 
วิธีทํา  3)คะแนนที่มีจํานวนนักเรียนสอบไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ 
อยูประมาณ 8 ใน 10 
20 = = 
10 
200 
ตําแหนงที่ของ 
10 
8(24+1) 
D 8  = 
คะแนนที่อยูในตําแหนงของขอมูลที่ 20  คือ  113  คะแนน 
ดังนั้น  D 8  =  113  คะแนน
KruFonpian  40 
นั่นคือ  นักเรียนจะตองสอบได  113  คะแนน 
จึงจะมีนักเรียนที่ไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้ 
อยูประมาณ 8 ใน 10
KruFonpian  41 
ลองดูหนูทําได 
ในการสอบวิชาคณิตศาสตรมีนักเรียนเขาสอบ 40 คน 
คะแนนที่นักเรียนทําไดเปนดังนี้ 
96  78  80  76  84  77  74  85  65  69 
82  53  45  67  58  54  56  62  56  54 
43  48  49  50  60  65  54  51  55  60 
65  66  75  98  97  63  92  94  76  78
KruFonpian  42 
ลองดูหนูทําได 
2)  นักเรียนจะตองสอบไดกี่คะแนน  จึงจะมีนักเรียน 
ประมาณ 3 ใน 4 ของชั้นที่ไดคะแนนสูงกวา 
1)  จงหาคะแนนที่มีจํานวนนักเรียนซึ่งไดคะแนน 
นอยกวาคะแนนนี้อยูประมาณรอยละ 25 
3)  นักเรียนจะตองสอบไดกี่คะแนนจึงจะมีผูที่สอบ 
ไดคะแนนนอยกวาอยู  7  ใน 10 
เฉลย
KruFonpian  43 
วิธีทํา  เรียงคะแนนจากคานอยไปหาคามาก  ไดดังนี้ 
43  45  48  49  50  51  53  54  54  54 
55  56  56  58  60  60  62  63  65  65 
65  66  67  69  74  75  76  76  77  78 
78  80  82  84  85  92  94  96  97  98
KruFonpian  44 
1) คะแนนที่มีจํานวนนักเรียนซึ่งไดคะแนนนอยกวา 
คะแนนนี้อยูประมาณรอยละ 25 
วิธีทํา 
คือ คะแนนที่  P 25 
หาตําแหนงของเปอรเซ็นไทลที่ 25  จากสูตร 
25(N+1) 
100 
= P 25 ตําแหนงที่ของ  แทนคา N = 40 จะได 
25(40+1) 
100 
= P 25 ตําแหนงที่ของ  1,025 
100 =  10.25 = 
หาคะแนน ณ ตําแหนง 10.25 โดยการเทียบ 
บัญญัติไตรยางค ไดดังนี้
KruFonpian  45 
ตําแหนงของขอมูล 
คะแนน 
10
54 
11
55 
10.25 
54+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 11 – 10 = 1  คะแนนเพิ่มขึ้น  55 – 54 = 1 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 11.25 – 10 = 0.25  คะแนนเพิ่มขึ้น  0.25 ´ 1 
1 
=0.25 
X= 0.25 ดังนั้น  P 25  = 54 + 0.25 = 54.25 คะแนน 
นั่นคือ  นักเรียนจะตองสอบได  54.25  คะแนน จึงจะมี 
นักเรียนซึ่งไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้อยูประมาณรอยละ25
KruFonpian  46 
2) คะแนนที่มีจํานวนนักเรียนประมาณ 3 ใน 4 ของชั้น 
ที่ไดคะแนนสูงกวา 
วิธีทํา 
คือ คะแนนที่  Q 1 
หาตําแหนงของควอรไทลที่ 1  จากสูตร 
(N+1) 
4 
= Q 1 ตําแหนงที่ของ  แทนคา N = 40 จะได 
(40+1) 
4 
= Q 1 ตําแหนงที่ของ 
41 
4 =  10.25 = 
ซึ่งเปนตําแหนงที่ตรงกับตําแหนงในขอ 1) 
ดังนั้น  Q 1 = 54.25
KruFonpian  47 
นั่นคือ  นักเรียนจะตองสอบได  54.25  คะแนน 
จึงจะมีนักเรียนประมาณ 3 ใน 4 ของชั้นที่ได 
คะแนนสูงกวา
KruFonpian  48 
3) คะแนนที่มีจํานวนนักเรียนซึ่งไดคะแนนนอยกวา 
คะแนนนี้อยูประมาณ7 ใน 10 
วิธีทํา 
คือ คะแนนที่  D 7 
หาตําแหนงของเดไซลที่ 7  จากสูตร 
7(N+1) 
10 
= D 7 ตําแหนงที่ของ  แทนคา N = 40 จะได 
7(40+1) 
10 
= D 7 ตําแหนงที่ของ 
287 
10 
=  28.7 = 
หาคะแนน ณ ตําแหนง 28.7 โดยการเทียบ 
บัญญัติไตรยางค ไดดังนี้
KruFonpian  49 
ตําแหนงของขอมูล 
คะแนน 
28
76 
29
77 
28.7 
76+x 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 29 – 28 = 1  คะแนนเพิ่มขึ้น  77 – 76 = 1 
ตําแหนงเพิ่มขึ้น 28.7 – 28 = 0.7  คะแนนเพิ่มขึ้น  0.7´ 1 
1 
=0.7 
X= 0.7 ดังนั้น  D 7  = 76 + 0.7 = 76.7 คะแนน 
นั่นคือ  นักเรียนจะตองสอบได  76.7  คะแนน จึงจะมีนักเรียน 
ซึ่งไดคะแนนนอยกวาคะแนนนี้อยูประมาณ 7 ใน 10
KruFonpian  50 
นักเรียนทําใบงาน 
เรื่อง การวัดตําแหนงที่ของขอมูลที่ไมแจกแจงความถี่ 
ขอ 1 - 5
KruFonpian  51
KruFonpian  52
KruFonpian  53
KruFonpian  54 
2)  นักเรียนจะตองสอบไดกี่คะแนน  จึงจะมีนักเรียน 
ประมาณ 3 ใน 4 ของชั้นที่ไดคะแนนสูงกวา 
1)  จงหาคะแนนที่มีจํานวนนักเรียนซึ่งไดคะแนน 
นอยกวาคะแนนนี้อยูประมาณรอยละ 25 
3)  นักเรียนจะตองสอบไดกี่คะแนนจึงจะมีผูที่สอบ 
ไดคะแนนนอยกวาอยู  7  ใน 10
KruFonpian  55 
43  45  48  49  50  51  53  54  54  54 
55  56  56  58  60  60  62  63  65  65 
65  66  67  69  74  75  76  76  77  78 
78  80  82  84  85  92  94  96  97  98 
คือ คะแนนที่  P 25

More Related Content

What's hot

เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
krurutsamee
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
Teetut Tresirichod
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey th
pingkung
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรAomJi Math-ed
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
KruGift Girlz
 

What's hot (14)

90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
บทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติบทที่ 3 หลักสถิติ
บทที่ 3 หลักสถิติ
 
01 test&survey th
01 test&survey th01 test&survey th
01 test&survey th
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 

Microsoft power point การวัดตำแหน่งที่ใช้สอน3