SlideShare a Scribd company logo
ตรรกศาสตร์ 1
PAT 1 (พ.ย. 57)
1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 แทนประพจน์ใดๆ ให้ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แทนประพจน์ที่ประกอบด้วยประพจน์ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟
และค่าความจริงของประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แสดงดังตารางต่อไปนี้
ประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) สมมูลกับประพจน์ใดต่อไปนี้
1. (𝑞 → 𝑝) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 2. (𝑞 → 𝑝) → (𝑝 → ~𝑟)
3. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑞 ∧ 𝑟) 4. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑝 → ~𝑟)
2. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < 𝑥 < 1 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ประพจน์ ∃ 𝑥∀𝑦 [ 𝑥2
− 𝑦2
< 𝑦 − 𝑥 ] มีค่าความจริงเป็นจริง
(ข) ประพจน์ ∀𝑥∀𝑦 [ |𝑥 − 𝑦| < 1 − 𝑥𝑦 ] มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
9 Apr 2015
𝑝 𝑞 𝑟 ค่าความจริงของ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟)
T T T T
T T F T
T F T F
T F F F
F T T T
F T F T
F F T T
F F F T
2 ตรรกศาสตร์
PAT 1 (เม.ย. 57)
3. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟, 𝑠 และ 𝑡 เป็นประพจน์ ซึ่ง 𝑝 → (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็น เท็จ
𝑝 ↔ (𝑠 ∨ 𝑡) มีค่าความจริงเป็น จริง
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น จริง
1. (𝑞 ∧ 𝑠) → (𝑝 ∧ 𝑞) 2. (𝑠 ∧ 𝑡) → ~𝑞
3. (𝑞 ∨ 𝑠) ↔ 𝑝 4. (𝑝 → 𝑟) → 𝑠
PAT 1 (มี.ค. 57)
2. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็นจานวนจริง โดยที่ 𝑎𝑏 > 0
ให้ 𝑝 แทนประพจน์ “ถ้า 𝑎 < 𝑏 แล้ว 1
𝑎
>
1
𝑏
” และ 𝑞 แทนประพจน์ “√𝑎𝑏 = √ 𝑎√𝑏 ”
ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง
1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ∨ (𝑞 ∧ ~𝑝) 2. (~𝑞 ⇒ ~𝑝) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑝)
3. (𝑝 ∧ ~𝑞) ∧ (𝑞 ⇒ 𝑝) 4. (~𝑝 ⇒ 𝑞) ⇒ (𝑝 ∧ 𝑞)
ตรรกศาสตร์ 3
3. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ถ้าประพจน์ (𝑝 ∨ 𝑞) ⇔ (𝑟 ∧ 𝑠) และประพจน์ 𝑝 มีค่าความจริงเป็นจริง
แล้วสรุปได้ว่าประพจน์ 𝑠 มีค่าความจริงเป็นจริง
(ข) ประพจน์ (𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∧ 𝑠) สมมูลกับ ประพจน์ [𝑞 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑟)] ∧ [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑠)]
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
PAT 1 (มี.ค. 56)
1. กาหนดให้ 𝑃 แทน ประพจน์ “ถ้า 𝐴 ∪ 𝐶 ⊂ 𝐵 ∪ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐵 เมื่อ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็นเซตใดๆ”
และให้ 𝑄 แทน ประพจน์ “ถ้า 𝐶 ⊂ 𝐴 ∪ 𝐵 แล้ว 𝐶 ⊂ 𝐴 และ 𝐶 ⊂ 𝐵 เมื่อ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็นเซตใดๆ”
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ประพจน์ [(𝑃 ∨ 𝑄) ∧ ~𝑄] ⇔ 𝑃 มีค่าความจริงเป็น จริง
(ข) ประพจน์ (𝑃 ⇒ 𝑄) ⇒ (~𝑃 ∧ ~𝑄) มีค่าความจริงเป็น เท็จ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
PAT 1 (ต.ค. 55)
2. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์
1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑝) 2. (~𝑝 ∨ ~𝑞) ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞)
3. [(𝑝 ∧ ~𝑞) ⇒ ~𝑝] ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞) 4. [(𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ ~𝑞] ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞)
4 ตรรกศาสตร์
3. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(ก) ถ้า 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์โดยที่ 𝑝 ⇒ (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็นจริง
แล้ว 𝑟 ⇒ [(𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ (~𝑝 ⇒ 𝑟)] มีค่าความจริงเป็นจริง
(ข) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ { 𝑥 ∈ R | 𝑥2
≤ 2𝑥 + 3 } เมื่อ R คือเซตของจานวนจริง
แล้ว ∃𝑥[3 𝑥
+ 6 = 33−𝑥] มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
PAT 1 (มี.ค. 55)
2. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ใดๆ
ประพจน์ [(𝑝 ∧ ~𝑞) ∨ ~𝑝] ⇒ [(𝑟 ∨ 𝑠) ∧ (𝑟 ∨ ~𝑠)] สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้
1. 𝑝 ⇒ 𝑟 2. 𝑞 ⇒ 𝑟
3. (𝑝 ∨ 𝑟) ∧ (𝑞 ∨ 𝑟) 4. (𝑞 ∨ 𝑟) ∧ (𝑞 ∨ 𝑠)
PAT 1 (ธ.ค. 54)
1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์ใดๆ โดยที่ ~𝑝 → 𝑞 มีค่าความจริงเป็นเท็จ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. (𝑝 ↔ 𝑟) → [(𝑝 ∨ 𝑟) → 𝑞] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ข. (𝑝 → 𝑟) → (~𝑞 → 𝑝) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข้อสรุปใดถูกต้อง
1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด
3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด
ตรรกศาสตร์ 5
2. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็นประโยคเปิด ถ้า ∀𝑥[𝑃(𝑥)] ∧ ∀𝑥[~𝑄(𝑥)] มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว
ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] 2. ∃𝑥[~𝑃(𝑥) ∨ ~𝑄(𝑥)]
3. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ ~𝑄(𝑥)] 4. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → ~𝑄(𝑥)]
PAT 1 (มี.ค. 54)
1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์โดยที่ 𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑟) , 𝑟 ∨ ~𝑝 และ 𝑝 มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ใน
ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ ~𝑟)] ⇔ ~(𝑞 ∧ 𝑟) 2. [𝑝 ⇒ (𝑟 ⇒ q)] ⇔ [(𝑟 ⇒ 𝑝) ⇒ 𝑞]
3. [𝑝 ⇒ ~(𝑟 ∧ 𝑞)] ⇔ [𝑟 ⇒ (𝑝 ∧ 𝑞)] 4. [𝑝 ∨ ~(𝑞 ⇒ 𝑟)] ⇔ [𝑟 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞)]
PAT 1 (ต.ค. 53)
1. กาหนดให้ 𝐴 , 𝐵 และ 𝐶 เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ถ้า 𝐴 ⇔ 𝐵 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว (𝐵 ∧ 𝐶) ⇒ (~𝐴 ⇒ 𝐶) มีค่าความจริงเป็นเท็จ
2. ประพจน์ 𝐴 ⇒ [(𝐴 ∧ 𝐵) ∨ (𝐵 ∨ 𝐶)] เป็นสัจนิรันดร์
3. ประพจน์ [(𝐴 ∧ 𝐵) ⇒ 𝐶] ⇒ [(𝐴 ⇒ 𝐵) ⇒ (𝐴 ⇒ 𝐶)] เป็นสัจนิรันดร์
4. ประพจน์ (𝐴 ⇒ 𝐶) ∧ (𝐵 ⇒ 𝐶) สมมูลกับประพจน์ (𝐴 ∧ 𝐵) ⇒ 𝐶
6 ตรรกศาสตร์
2. กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจานวนจริง และ
𝑃(𝑥) แทน √(𝑥 + 1)2 = 𝑥 + 1
𝑄(𝑥) แทน √ 𝑥 + 1 > 2
ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์ ∃𝑥[𝑃(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
1. ∃𝑥[~𝑃(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[~𝑄(𝑥)] 2. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] ⇒ ∃𝑥[𝑄(𝑥)]
3. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] 4. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
PAT 1 (ก.ค. 53)
1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ที่ ประพจน์ (𝑝 ∨ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∨ 𝑠) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ
ประพจน์ 𝑝 ⇔ 𝑟 มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง
1. (𝑞 ⇒ 𝑝) ∧ (𝑞 ⇒ 𝑟) 2. 𝑞 ⇒ [𝑝 ∨ (𝑞 ∧ ~𝑟)]
3. (𝑝 ⇒ 𝑠) ⇔ (𝑟 ⇔ 𝑞) 4. (𝑟 ⇔ 𝑠) ∧ [𝑞 ⇒ (𝑝 ∧ 𝑟)]
2. กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ {−1, 0, 1} ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 + 2 > 0] มีค่าความจริงเป็นจริง
2. ∀𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 ≥ 0] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 = 1] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
4. ∃𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 > 1] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
ตรรกศาสตร์ 7
PAT 1 (มี.ค. 53)
1. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ∨ 𝑝 2. (~𝑝 ∧ 𝑝) ⇒ 𝑞
3. [(𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ 𝑝] ⇒ 𝑞 4. (~𝑝 ⇒ 𝑞) ⇔ (~𝑝 ∧ ~𝑞)
PAT 1 (ต.ค. 52)
ตอนที่ 1
1. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซต {−2, −1, 1, 2} ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ∃𝑥∃𝑦[𝑥 ≤ 0 ∧ |𝑥| = 𝑦 + 1] 2. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 ≤ 𝑦 ∧ −(𝑥 + 𝑦) ≥ 0]
3. ∀𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 = 0 ∨ 𝑥 − 𝑦 = 0] 4. ∀𝑥∀𝑦[|𝑥| < |𝑦| ∨ |𝑥| > |𝑦|]
2. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า 𝑞 ∧ 𝑟 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว 𝑝 และ 𝑝 ∨ [(𝑞 ∧ 𝑟) ⇒ 𝑝] มีค่าความจริงเหมือนกัน
ข. ถ้า 𝑝 มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว 𝑟 และ (𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ 𝑟 มีค่าความจริงเหมือนกัน
ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
8 ตรรกศาสตร์
PAT 1 (ก.ค. 52)
1. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็นประโยคเปิด
ประโยค ∀𝑥[𝑃(𝑥)] → ∃𝑥[~𝑄(𝑥)] สมมูลกับประโยคในข้อใดต่อไปนี้
1. ∀𝑥[~𝑃(𝑥)] → ∃𝑥[𝑄(𝑥)] 2. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] → ∃𝑥[~𝑃(𝑥)]
3. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] → ∀𝑥[𝑄(𝑥)] 4. ∃𝑥[~𝑄(𝑥)] → ∀𝑥[𝑃(𝑥)]
2. กาหนดให้ U = {𝑛 ∈ 𝐼+ | 𝑛 ≤ 10} ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ∀𝑥∀𝑦[(𝑥2
= 𝑦2) → (𝑥 = 𝑦)] 2. ∀𝑥∃𝑦[(𝑥 ≠ 1) → (𝑥 > 𝑦2)]
3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥𝑦 ≤ 𝑥 + 𝑦] 4. ∃𝑥∃𝑦[(𝑥 − 𝑦)2
≥ 𝑦2
+ 9𝑥𝑦]
PAT 1 (มี.ค. 52)
1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ประพจน์ 𝑝 → (𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟)) สมมูลกับประพจน์ 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟)
ข. ประพจน์ 𝑝 ∧ (𝑞 → 𝑟) สมมูลกับประพจน์ (𝑞 → 𝑝) ∨ ~(𝑝 → ~𝑟)
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
ตรรกศาสตร์ 9
2. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ 𝒰 = {{1, 2}, {1, 3}, {2, 3}}
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 ∩ 𝑦 ≠ ∅] 2. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 ∪ 𝑦 = 𝒰]
3. ∀𝑥∃𝑦[𝑦 ≠ 𝑥 ∧ 𝑦 ⊂ 𝑥] 4. ∃𝑥∀𝑦[𝑦 ≠ 𝑥 ∧ 𝑦 ⊂ 𝑥]
A-NET 51
ตอนที่ 1
1. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า (𝑝 ∨ 𝑞) → 𝑟 และ (𝑞 → 𝑟) → 𝑠 ต่างมีค่าความจริงเป็นเท็จ
แล้ว (𝑝 ∨ 𝑞) → (𝑟 ∨ 𝑠) มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. การอ้างเหตุผลข้างล่างนี้สมเหตุสมผล
เหตุ 1) ~𝑝 → ~(𝑞 ∨ 𝑟) 2) 𝑞 ∧ 𝑠 3) ~𝑟
ผล 𝑠 → 𝑝
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
A-NET 50
ตอนที่ 1
2. พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนเฉพาะบวก
ข้อความ ∀𝑥∃𝑦[𝑥2
+ 𝑥 + 1 = 𝑦] มีค่าความจริงเป็นจริง
ข. นิเสธของข้อความ ∀𝑥[𝑃(𝑥) → [𝑄(𝑥) ∨ 𝑅(𝑥)]]
คือ ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ ~𝑄(𝑥) ∧ ~𝑅(𝑥)]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
10 ตรรกศาสตร์
3. กาหนดเหตุให้ดังนี้
1. เอกภพสัมพัทธ์ไม่เป็นเซตว่าง
2. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)]
3. ∀𝑥[𝑄(𝑥) ∨ 𝑅(𝑥)]
4. ∃𝑥[~𝑅(𝑥)]
ข้อความในข้อใดต่อไปนี้เป็นผลที่ทาให้การอ้างเหตุผล สมเหตุสมผล
1. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] 2. ∃𝑥[𝑄(𝑥)] 3. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] 4. ∀𝑥[𝑄(𝑥)]
A-NET 49
ตอนที่ 1
9. กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ 𝒰 = {−3, − 2, − 1, 1, 2, 3} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 < 𝑦] 2. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 − 𝑦2
< 𝑥]
3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥𝑦2
= 𝑥] 4. ∃𝑥∀𝑦[𝑥2
𝑦 = 𝑦]
10. ให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟) มีค่าความจริงเป็นจริง และ 𝑝 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็น
เท็จ แล้ว ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ
1. ~𝑞 ∨ (𝑝 → 𝑟) 2. ~𝑝 → (~𝑝 ∨ 𝑞)
3. (𝑞 ∨ 𝑟) → ~𝑝 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 4. [(~𝑞) ∨ (~𝑟)] → [𝑝 ∧ (𝑞 ∨ 𝑟)]
ตรรกศาสตร์ 11
เฉลย
PAT 1 (พ.ย. 57) 1. 3 2. 3
PAT 1 (เม.ย. 57) 3. 1
PAT 1 (มี.ค. 57) 2. 3 3. 1
PAT 1 (มี.ค. 56) 1. 2
PAT 1 (ต.ค. 55) 2. 3 3. 1
PAT 1 (มี.ค. 55) 2. 3
PAT 1 (ธ.ค. 54) 1. 4 2. 1
PAT 1 (มี.ค. 54) 1. 3
PAT 1 (ต.ค. 53) 1. 3 2. 2
PAT 1 (ก.ค. 53) 1. 2 2. 3
PAT 1 (มี.ค. 53) 1. 4
PAT 1 (ต.ค. 52) 1/1. 4 1/2. 1
PAT 1 (ก.ค. 52) 1. 2 2. 4
PAT 1 (มี.ค. 52) 1. 2 2. 1
A-NET 51 1/1. 3
A-NET 50 1/2. 3 1/3. 2
A-NET 49 1/9. 3 1/10. 4

More Related Content

What's hot

Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15703
Pat15703Pat15703
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554Thanawadee Prim
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
PAT1 54 march
PAT1 54 marchPAT1 54 march
PAT1 54 marchpoppysone
 
Pat1 54-03+key
Pat1 54-03+keyPat1 54-03+key
Pat1 54-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat1 53-03+key
Pat1 53-03+keyPat1 53-03+key
Pat1 53-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15803
Pat15803Pat15803
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat1 57-03+key
Pat1 57-03+keyPat1 57-03+key
Pat1 57-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
ThunwaratTrd
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
Sutthi Kunwatananon
 

What's hot (15)

Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat15703
Pat15703Pat15703
Pat15703
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat15704
 
PAT1 54 march
PAT1 54 marchPAT1 54 march
PAT1 54 march
 
Pat1 54-03+key
Pat1 54-03+keyPat1 54-03+key
Pat1 54-03+key
 
Pat1 53-03+key
Pat1 53-03+keyPat1 53-03+key
Pat1 53-03+key
 
Pat15903
Pat15903Pat15903
Pat15903
 
Pat15803
Pat15803Pat15803
Pat15803
 
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
 
Pat1 57-03+key
Pat1 57-03+keyPat1 57-03+key
Pat1 57-03+key
 
Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57Pat1 พ.ย. 57
Pat1 พ.ย. 57
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 

Similar to Logic e

ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1aungdora57
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52
Ploy Gntnd
 
Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
Tippatai
 
gatpat
gatpatgatpat
gatpatNp Vnk
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554peenullt
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554Thanawadee Prim
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
Sutthi Kunwatananon
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat1 expo&log
Pat1 expo&logPat1 expo&log
Pat1 expo&log
Benz Zneba
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
thunnattapat
 
Pat15203
Pat15203Pat15203
Pat15203
Tippatai
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555IRainy Cx'cx
 

Similar to Logic e (20)

ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat15711
Pat15711Pat15711
Pat15711
 
Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52Pat ต.ค.52
Pat ต.ค.52
 
Pat15210
Pat15210Pat15210
Pat15210
 
gatpat
gatpatgatpat
gatpat
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 
Pat 1
Pat 1Pat 1
Pat 1
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
ข้อสอบ Pat1-รอบ-12555-สอบ-ตุลาคม-2554
 
Pat one
Pat onePat one
Pat one
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat15704
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1 expo&log
Pat1 expo&logPat1 expo&log
Pat1 expo&log
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat15203
Pat15203Pat15203
Pat15203
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555คณิต PAT1 มีนาคม 2555
คณิต PAT1 มีนาคม 2555
 

Logic e

  • 1. ตรรกศาสตร์ 1 PAT 1 (พ.ย. 57) 1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 แทนประพจน์ใดๆ ให้ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แทนประพจน์ที่ประกอบด้วยประพจน์ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 และค่าความจริงของประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) แสดงดังตารางต่อไปนี้ ประพจน์ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) สมมูลกับประพจน์ใดต่อไปนี้ 1. (𝑞 → 𝑝) ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 2. (𝑞 → 𝑝) → (𝑝 → ~𝑟) 3. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑞 ∧ 𝑟) 4. (𝑝 ∧ ~𝑞) → (𝑝 → ~𝑟) 2. ให้ ℝ แทนเซตของจานวนจริง กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ { 𝑥 ∈ ℝ | 0 < 𝑥 < 1 } พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (ก) ประพจน์ ∃ 𝑥∀𝑦 [ 𝑥2 − 𝑦2 < 𝑦 − 𝑥 ] มีค่าความจริงเป็นจริง (ข) ประพจน์ ∀𝑥∀𝑦 [ |𝑥 − 𝑦| < 1 − 𝑥𝑦 ] มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด 9 Apr 2015 𝑝 𝑞 𝑟 ค่าความจริงของ 𝑆(𝑝, 𝑞, 𝑟) T T T T T T F T T F T F T F F F F T T T F T F T F F T T F F F T
  • 2. 2 ตรรกศาสตร์ PAT 1 (เม.ย. 57) 3. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟, 𝑠 และ 𝑡 เป็นประพจน์ ซึ่ง 𝑝 → (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็น เท็จ 𝑝 ↔ (𝑠 ∨ 𝑡) มีค่าความจริงเป็น จริง ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็น จริง 1. (𝑞 ∧ 𝑠) → (𝑝 ∧ 𝑞) 2. (𝑠 ∧ 𝑡) → ~𝑞 3. (𝑞 ∨ 𝑠) ↔ 𝑝 4. (𝑝 → 𝑟) → 𝑠 PAT 1 (มี.ค. 57) 2. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็นจานวนจริง โดยที่ 𝑎𝑏 > 0 ให้ 𝑝 แทนประพจน์ “ถ้า 𝑎 < 𝑏 แล้ว 1 𝑎 > 1 𝑏 ” และ 𝑞 แทนประพจน์ “√𝑎𝑏 = √ 𝑎√𝑏 ” ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นจริง 1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ∨ (𝑞 ∧ ~𝑝) 2. (~𝑞 ⇒ ~𝑝) ∧ (~𝑞 ∨ 𝑝) 3. (𝑝 ∧ ~𝑞) ∧ (𝑞 ⇒ 𝑝) 4. (~𝑝 ⇒ 𝑞) ⇒ (𝑝 ∧ 𝑞)
  • 3. ตรรกศาสตร์ 3 3. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ใดๆ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (ก) ถ้าประพจน์ (𝑝 ∨ 𝑞) ⇔ (𝑟 ∧ 𝑠) และประพจน์ 𝑝 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้วสรุปได้ว่าประพจน์ 𝑠 มีค่าความจริงเป็นจริง (ข) ประพจน์ (𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∧ 𝑠) สมมูลกับ ประพจน์ [𝑞 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑟)] ∧ [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑠)] ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด PAT 1 (มี.ค. 56) 1. กาหนดให้ 𝑃 แทน ประพจน์ “ถ้า 𝐴 ∪ 𝐶 ⊂ 𝐵 ∪ 𝐶 แล้ว 𝐴 ⊂ 𝐵 เมื่อ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็นเซตใดๆ” และให้ 𝑄 แทน ประพจน์ “ถ้า 𝐶 ⊂ 𝐴 ∪ 𝐵 แล้ว 𝐶 ⊂ 𝐴 และ 𝐶 ⊂ 𝐵 เมื่อ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็นเซตใดๆ” พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (ก) ประพจน์ [(𝑃 ∨ 𝑄) ∧ ~𝑄] ⇔ 𝑃 มีค่าความจริงเป็น จริง (ข) ประพจน์ (𝑃 ⇒ 𝑄) ⇒ (~𝑃 ∧ ~𝑄) มีค่าความจริงเป็น เท็จ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด PAT 1 (ต.ค. 55) 2. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็นประพจน์ ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นสัจนิรันดร์ 1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑝) 2. (~𝑝 ∨ ~𝑞) ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞) 3. [(𝑝 ∧ ~𝑞) ⇒ ~𝑝] ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞) 4. [(𝑝 ∧ 𝑞) ⇒ ~𝑞] ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞)
  • 4. 4 ตรรกศาสตร์ 3. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (ก) ถ้า 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์โดยที่ 𝑝 ⇒ (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว 𝑟 ⇒ [(𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ (~𝑝 ⇒ 𝑟)] มีค่าความจริงเป็นจริง (ข) กาหนดเอกภพสัมพัทธ์คือ { 𝑥 ∈ R | 𝑥2 ≤ 2𝑥 + 3 } เมื่อ R คือเซตของจานวนจริง แล้ว ∃𝑥[3 𝑥 + 6 = 33−𝑥] มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต่ (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต่ (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด PAT 1 (มี.ค. 55) 2. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ใดๆ ประพจน์ [(𝑝 ∧ ~𝑞) ∨ ~𝑝] ⇒ [(𝑟 ∨ 𝑠) ∧ (𝑟 ∨ ~𝑠)] สมมูลกับประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้ 1. 𝑝 ⇒ 𝑟 2. 𝑞 ⇒ 𝑟 3. (𝑝 ∨ 𝑟) ∧ (𝑞 ∨ 𝑟) 4. (𝑞 ∨ 𝑟) ∧ (𝑞 ∨ 𝑠) PAT 1 (ธ.ค. 54) 1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์ใดๆ โดยที่ ~𝑝 → 𝑞 มีค่าความจริงเป็นเท็จ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. (𝑝 ↔ 𝑟) → [(𝑝 ∨ 𝑟) → 𝑞] มีค่าความจริงเป็นเท็จ ข. (𝑝 → 𝑟) → (~𝑞 → 𝑝) มีค่าความจริงเป็นจริง ข้อสรุปใดถูกต้อง 1. ก. ถูก ข. ถูก 2. ก. ถูก ข. ผิด 3. ก. ผิด ข. ถูก 4. ก. ผิด ข. ผิด
  • 5. ตรรกศาสตร์ 5 2. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็นประโยคเปิด ถ้า ∀𝑥[𝑃(𝑥)] ∧ ∀𝑥[~𝑄(𝑥)] มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] 2. ∃𝑥[~𝑃(𝑥) ∨ ~𝑄(𝑥)] 3. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ ~𝑄(𝑥)] 4. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → ~𝑄(𝑥)] PAT 1 (มี.ค. 54) 1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็นประพจน์โดยที่ 𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ 𝑟) , 𝑟 ∨ ~𝑝 และ 𝑝 มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ใน ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. [𝑝 ⇒ (𝑞 ⇒ ~𝑟)] ⇔ ~(𝑞 ∧ 𝑟) 2. [𝑝 ⇒ (𝑟 ⇒ q)] ⇔ [(𝑟 ⇒ 𝑝) ⇒ 𝑞] 3. [𝑝 ⇒ ~(𝑟 ∧ 𝑞)] ⇔ [𝑟 ⇒ (𝑝 ∧ 𝑞)] 4. [𝑝 ∨ ~(𝑞 ⇒ 𝑟)] ⇔ [𝑟 ⇒ (𝑝 ⇒ 𝑞)] PAT 1 (ต.ค. 53) 1. กาหนดให้ 𝐴 , 𝐵 และ 𝐶 เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ถ้า 𝐴 ⇔ 𝐵 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว (𝐵 ∧ 𝐶) ⇒ (~𝐴 ⇒ 𝐶) มีค่าความจริงเป็นเท็จ 2. ประพจน์ 𝐴 ⇒ [(𝐴 ∧ 𝐵) ∨ (𝐵 ∨ 𝐶)] เป็นสัจนิรันดร์ 3. ประพจน์ [(𝐴 ∧ 𝐵) ⇒ 𝐶] ⇒ [(𝐴 ⇒ 𝐵) ⇒ (𝐴 ⇒ 𝐶)] เป็นสัจนิรันดร์ 4. ประพจน์ (𝐴 ⇒ 𝐶) ∧ (𝐵 ⇒ 𝐶) สมมูลกับประพจน์ (𝐴 ∧ 𝐵) ⇒ 𝐶
  • 6. 6 ตรรกศาสตร์ 2. กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตของจานวนจริง และ 𝑃(𝑥) แทน √(𝑥 + 1)2 = 𝑥 + 1 𝑄(𝑥) แทน √ 𝑥 + 1 > 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงตรงข้ามกับประพจน์ ∃𝑥[𝑃(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑄(𝑥)] 1. ∃𝑥[~𝑃(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[~𝑄(𝑥)] 2. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] ⇒ ∃𝑥[𝑄(𝑥)] 3. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ 𝑄(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑃(𝑥)] 4. ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∨ 𝑄(𝑥)] ⇒ ∀𝑥[𝑄(𝑥)] PAT 1 (ก.ค. 53) 1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 และ 𝑠 เป็นประพจน์ที่ ประพจน์ (𝑝 ∨ 𝑞) ⇒ (𝑟 ∨ 𝑠) มีค่าความจริงเป็นเท็จ และ ประพจน์ 𝑝 ⇔ 𝑟 มีค่าความจริงเป็นจริง ประพจน์ในข้อใดมีค่าความจริงเป็นจริง 1. (𝑞 ⇒ 𝑝) ∧ (𝑞 ⇒ 𝑟) 2. 𝑞 ⇒ [𝑝 ∨ (𝑞 ∧ ~𝑟)] 3. (𝑝 ⇒ 𝑠) ⇔ (𝑟 ⇔ 𝑞) 4. (𝑟 ⇔ 𝑠) ∧ [𝑞 ⇒ (𝑝 ∧ 𝑟)] 2. กาหนดเอกภพสัมพัทธ์ คือ {−1, 0, 1} ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง 1. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 + 2 > 0] มีค่าความจริงเป็นจริง 2. ∀𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 ≥ 0] มีค่าความจริงเป็นเท็จ 3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 = 1] มีค่าความจริงเป็นเท็จ 4. ∃𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 > 1] มีค่าความจริงเป็นเท็จ
  • 7. ตรรกศาสตร์ 7 PAT 1 (มี.ค. 53) 1. กาหนดให้ 𝑝 และ 𝑞 เป็นประพจน์ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. (𝑝 ⇒ 𝑞) ∨ 𝑝 2. (~𝑝 ∧ 𝑝) ⇒ 𝑞 3. [(𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ 𝑝] ⇒ 𝑞 4. (~𝑝 ⇒ 𝑞) ⇔ (~𝑝 ∧ ~𝑞) PAT 1 (ต.ค. 52) ตอนที่ 1 1. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซต {−2, −1, 1, 2} ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. ∃𝑥∃𝑦[𝑥 ≤ 0 ∧ |𝑥| = 𝑦 + 1] 2. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 ≤ 𝑦 ∧ −(𝑥 + 𝑦) ≥ 0] 3. ∀𝑥∃𝑦[𝑥 + 𝑦 = 0 ∨ 𝑥 − 𝑦 = 0] 4. ∀𝑥∀𝑦[|𝑥| < |𝑦| ∨ |𝑥| > |𝑦|] 2. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ถ้า 𝑞 ∧ 𝑟 มีค่าความจริงเป็นจริง แล้ว 𝑝 และ 𝑝 ∨ [(𝑞 ∧ 𝑟) ⇒ 𝑝] มีค่าความจริงเหมือนกัน ข. ถ้า 𝑝 มีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว 𝑟 และ (𝑝 ⇒ 𝑞) ∧ 𝑟 มีค่าความจริงเหมือนกัน ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
  • 8. 8 ตรรกศาสตร์ PAT 1 (ก.ค. 52) 1. กาหนดให้ 𝑃(𝑥) และ 𝑄(𝑥) เป็นประโยคเปิด ประโยค ∀𝑥[𝑃(𝑥)] → ∃𝑥[~𝑄(𝑥)] สมมูลกับประโยคในข้อใดต่อไปนี้ 1. ∀𝑥[~𝑃(𝑥)] → ∃𝑥[𝑄(𝑥)] 2. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] → ∃𝑥[~𝑃(𝑥)] 3. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] → ∀𝑥[𝑄(𝑥)] 4. ∃𝑥[~𝑄(𝑥)] → ∀𝑥[𝑃(𝑥)] 2. กาหนดให้ U = {𝑛 ∈ 𝐼+ | 𝑛 ≤ 10} ประโยคในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. ∀𝑥∀𝑦[(𝑥2 = 𝑦2) → (𝑥 = 𝑦)] 2. ∀𝑥∃𝑦[(𝑥 ≠ 1) → (𝑥 > 𝑦2)] 3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥𝑦 ≤ 𝑥 + 𝑦] 4. ∃𝑥∃𝑦[(𝑥 − 𝑦)2 ≥ 𝑦2 + 9𝑥𝑦] PAT 1 (มี.ค. 52) 1. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ประพจน์ 𝑝 → (𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟)) สมมูลกับประพจน์ 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟) ข. ประพจน์ 𝑝 ∧ (𝑞 → 𝑟) สมมูลกับประพจน์ (𝑞 → 𝑝) ∨ ~(𝑝 → ~𝑟) ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
  • 9. ตรรกศาสตร์ 9 2. กาหนดให้เอกภพสัมพัทธ์คือ 𝒰 = {{1, 2}, {1, 3}, {2, 3}} ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 ∩ 𝑦 ≠ ∅] 2. ∀𝑥∀𝑦[𝑥 ∪ 𝑦 = 𝒰] 3. ∀𝑥∃𝑦[𝑦 ≠ 𝑥 ∧ 𝑦 ⊂ 𝑥] 4. ∃𝑥∀𝑦[𝑦 ≠ 𝑥 ∧ 𝑦 ⊂ 𝑥] A-NET 51 ตอนที่ 1 1. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ถ้า (𝑝 ∨ 𝑞) → 𝑟 และ (𝑞 → 𝑟) → 𝑠 ต่างมีค่าความจริงเป็นเท็จ แล้ว (𝑝 ∨ 𝑞) → (𝑟 ∨ 𝑠) มีค่าความจริงเป็นจริง ข. การอ้างเหตุผลข้างล่างนี้สมเหตุสมผล เหตุ 1) ~𝑝 → ~(𝑞 ∨ 𝑟) 2) 𝑞 ∧ 𝑠 3) ~𝑟 ผล 𝑠 → 𝑝 ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด A-NET 50 ตอนที่ 1 2. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ก. ให้เอกภพสัมพัทธ์คือเซตของจานวนเฉพาะบวก ข้อความ ∀𝑥∃𝑦[𝑥2 + 𝑥 + 1 = 𝑦] มีค่าความจริงเป็นจริง ข. นิเสธของข้อความ ∀𝑥[𝑃(𝑥) → [𝑄(𝑥) ∨ 𝑅(𝑥)]] คือ ∃𝑥[𝑃(𝑥) ∧ ~𝑄(𝑥) ∧ ~𝑅(𝑥)] ข้อใดต่อไปนี้ถูก 1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด 3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
  • 10. 10 ตรรกศาสตร์ 3. กาหนดเหตุให้ดังนี้ 1. เอกภพสัมพัทธ์ไม่เป็นเซตว่าง 2. ∀𝑥[𝑃(𝑥) → 𝑄(𝑥)] 3. ∀𝑥[𝑄(𝑥) ∨ 𝑅(𝑥)] 4. ∃𝑥[~𝑅(𝑥)] ข้อความในข้อใดต่อไปนี้เป็นผลที่ทาให้การอ้างเหตุผล สมเหตุสมผล 1. ∃𝑥[𝑃(𝑥)] 2. ∃𝑥[𝑄(𝑥)] 3. ∀𝑥[𝑃(𝑥)] 4. ∀𝑥[𝑄(𝑥)] A-NET 49 ตอนที่ 1 9. กาหนดให้ เอกภพสัมพัทธ์คือ 𝒰 = {−3, − 2, − 1, 1, 2, 3} ข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 + 𝑦 < 𝑦] 2. ∃𝑥∀𝑦[𝑥 − 𝑦2 < 𝑥] 3. ∃𝑥∀𝑦[𝑥𝑦2 = 𝑥] 4. ∃𝑥∀𝑦[𝑥2 𝑦 = 𝑦] 10. ให้ 𝑝, 𝑞, 𝑟 เป็นประพจน์ ถ้าประพจน์ 𝑝 → (𝑞 ∨ 𝑟) มีค่าความจริงเป็นจริง และ 𝑝 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) มีค่าความจริงเป็น เท็จ แล้ว ประพจน์ในข้อใดต่อไปนี้มีค่าความจริงเป็นเท็จ 1. ~𝑞 ∨ (𝑝 → 𝑟) 2. ~𝑝 → (~𝑝 ∨ 𝑞) 3. (𝑞 ∨ 𝑟) → ~𝑝 ∨ (𝑞 ∧ 𝑟) 4. [(~𝑞) ∨ (~𝑟)] → [𝑝 ∧ (𝑞 ∨ 𝑟)]
  • 11. ตรรกศาสตร์ 11 เฉลย PAT 1 (พ.ย. 57) 1. 3 2. 3 PAT 1 (เม.ย. 57) 3. 1 PAT 1 (มี.ค. 57) 2. 3 3. 1 PAT 1 (มี.ค. 56) 1. 2 PAT 1 (ต.ค. 55) 2. 3 3. 1 PAT 1 (มี.ค. 55) 2. 3 PAT 1 (ธ.ค. 54) 1. 4 2. 1 PAT 1 (มี.ค. 54) 1. 3 PAT 1 (ต.ค. 53) 1. 3 2. 2 PAT 1 (ก.ค. 53) 1. 2 2. 3 PAT 1 (มี.ค. 53) 1. 4 PAT 1 (ต.ค. 52) 1/1. 4 1/2. 1 PAT 1 (ก.ค. 52) 1. 2 2. 4 PAT 1 (มี.ค. 52) 1. 2 2. 1 A-NET 51 1/1. 3 A-NET 50 1/2. 3 1/3. 2 A-NET 49 1/9. 3 1/10. 4