SlideShare a Scribd company logo
การนำา Library 2.0 มาใช้ในงานบริหารงานห้องสมุดและ
                    ศูนย์สารสนเทศ

      ในโลกยุคไร้พรมแดน ทีมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่าง
                               ่
รวดเร็ว ในเรื่องปริมาณข้อมูลสารสนเทศที่ล้นหลาม วิธีการสื่อสาร
ที่หลากหลาย และระยะเวลาในการสื่อสารที่สั้นลง ฯลฯ ห้องสมุด
และศูนย์สารสนเทศซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งทีทำาหน้าที่เป็นแหล่ง
                                             ่
รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ข้อมูลและความรู้ จัดการบริการอย่างมี
ประสิทธิภาพ และเมื่อสภาพสังคมและเทคโนโลยีรอบตัว
เปลียนแปลงไป รูปแบบการทำางาน วิธีการปฏิบัติงาน และเครื่อง
    ่
มือในงานห้องสมุดย่อมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย แต่การจะใช้
เทคโนโลยี หรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อให้ปฏิบัติงานให้ได้ประสิทธิภาพ
และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้หรือไม่นั้น สิ่งจำาเป็นและสำาคัญ
ประการหนึ่งสำาหรับห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศคือ การบริหารที่
ดี
      สำาหรับผู้บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ มีภารกิจหลัก
ในการรับผิดชอบงานทุกอย่างที่เกิดขึ้นโดยเจ้าหน้าที่และผู้ใต้
บังคับบัญชาในหน่วยงาน และงานทุกๆอย่างในห้องสมุด เช่น งาน
บริการ งานเทคนิค วัสดุและสถานที่ เป็นต้น ซึ่งภาพรวมของงาน
บริหารมีดังต่อไปนี้ดังต่อไปนี้
            1. ความหมายของ “การบริหารห้องสมุดและศูนย์
               สารสนเทศ”
            2. ลักษณะของงานบริหาร
            3. กระบวนการของงานบริหารและขอบเขตของงาน
               บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
            4. รูปแบบการบริหารงานและองค์กร

ความหมายของ “การบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ”
      ความหมายของการบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ จะ
ขอแจกแจงออกเป็นส่วนๆ ดังต่อไปนี้
      การบริหาร “ตรงกับคำาในภาษาอังกฤษอยู่ 2 คำา คือคำา
ว่า Administration และ Management คำาว่า Administration
มักจะเป็นการบริหารในเรื่องนโยบาย หรือ Policy แต่
Management จะเป็นการบริหารโดยการนำานโยบายไปสู่การ
ปฏิบัติ อย่างไรก็ตามทั้ง 2 คำานี้ สามารถใช้แทนกันได้และหมาย
ถึงการบริหารเช่นเดียวกัน” (ลักษณะทั่วไปของการบริหาร
(Management or Administration)
http://www.nsru.ac.th/e-learning/sonthaya/lesson
%201/lesson1.html มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์)
     มีผู้ให้ความหมายของคำาว่า “บริหาร” ไว้ดังต่อไปนี้
                   การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคล
            ตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกันดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุ
            วัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่างที่
            บุคคลร่วมกันกำาหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบและ
            ใช้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม (
            สมศักดิ์ คงเที่ยง , 2542 : 1)
                   การบริหาร หมายถึง กระบวนการจัดองค์การ
            และการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่
            กำาหนดไว้ลวงหน้า เอเนสย์ เดลล์ (Ernest Dale,
                        ่
            1973 : 4)
                   การบริหาร คือ กระบวนการทางสังคม ซึ่ง
            ประกอบด้วยชุดกิจกรรม อันจะนำาไปสู่ความสำาเร็จตาม
            เป้าหมายและกิจกรรมต่าง ๆ นั้น มักจะเกี่ยวข้องกับ
            การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล นิวต์แมน และ
            ซัมเมอร์ ( Newman and Summer, 1964 : 9 )
                   การบริหาร คือ การดำาเนินงานร่วมกันของคณะ
            บุคคล ซึ่งเป็นกลุ่มผูบริหารขององค์การในส่วนที่เกี่ยว
                                 ้
            กับการวางแผน การจัดตั้งองค์การ การจัดคนเข้า
            ทำางาน การสั่งการ และการควบคุมกิจกรรม ให้
            ดำาเนินไปตามนโยบายจนบรรลุวัตถุประสงค์ของ
            องค์การทีวางไว้อย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ
                      ่
            ที่สุด พงศ์ศรีโรจน์ (2537 : 14)
                   การบริหารหรือการจัดการ คือ กระบวนการอย่าง
            หนึ่งภายในองค์การซึ่งมีลำาดับการทำางานเป็นขั้นตอน
            มีกลุ่มบุคคลเป็นกลไกสำาคัญในการบริหารงาน มีเงิน
            ทุน เครื่องจักร และวัสดุครุภัณฑ์ต่าง ๆ เป็นองค์
            ประกอบ ธีรวุฒิ บุณยโสภณ และวีรพงษ์ เฉลิมจิระ
            วัฒน์ (2537 : 12
                   การบริหาร หมายถึง การใช้ทรัพยากรของ
            องค์การเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการโดยผ่านการ
            วางแผน (Planning) การจัดสรรทรัพยากรมนุษย์
(Staffing) การนำา (Leading) และการควบคุมกำากับ
             (Controlling) (การจัดการศูนย์สารสนเทศ อาจารย์
             ดร. นฤมล รักษาสุข )
       จากความหมายดังที่กล่าวมา สามารถสรุปโดยรวมได้วา การ       ่
บริหาร หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการที่ทำาให้องค์กรหรือหน่วย
งานสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการควบคุมและดูแล
ทรัพยากรต่างๆ ในองค์กรให้ดำาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้
เกิดประสิทธิผล บรรลุเป้าหมาย
       ห้องสมุด หรือ Library คือ สถาบัน หน่วยงาน หรือแหล่ง
รวมวัสดุสารนิเทศเอาไว้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์
วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้ใช้สืบค้นและเข้าถึง
สารสนเทศได้มากขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า โดยมีการ
คัดเลือก จัดหาให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของผู้
ใช้ มีการจัดที่เป็นระบบโดยบรรณารักษ์วิชาชีพ ซึ่งมีความรู้ทาง
ด้านบรรณารักษศาสตร์ เป็นผูบริหารและดำาเนินการ และจัดให้
                              ้
บริการอย่างมีระบบ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540: 17)
         สำาหรับศูนย์สารสนเทศ หรือ Information Center นั้น มี
ต้นกำาเนิดมาจากความต้องการของผูใช้บริการที่ต้องการ
                                     ้
สารสนเทศที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น “เป็นหน่วยงานให้บริการ
สารสนเทศเฉพาะเรื่อง ให้แก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือ เฉพาะหน่วย
งานนั้น เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย แพทย์ นักวิชาการเกษตร
ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารสนเทศมีลักษณะคล้ายห้องสมุดเฉพาะ
ผู้ใช้มักมาใช้ สารสนเทศที่รวบรวมไว้เพื่อการค้นคว้า การวิจย และั
การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ทีมีศูนย์เอกสารนั้นโดยตรง เช่น
                                 ่
ข้อมูลด้านการวิจัย ตัวเลข สถิติ สาระสังเขปและ ดัชนี วารสาร
เฉพาะวิชา ศูนย์สารสนเทศหลายแห่งจัดตั้งขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของ
ห้องสมุด ของสถาบันนั้นเอง” (ครรชิต มาลัยวงศ์ และคนอื่น ๆ.
2537 : 84 - 85)
         ดังนั้น การบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงหมายถึง
กระบวนการควบคุมการปฏิบัติงานห้องสมุดต่างๆ ที่เกิดจากกการ
ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ โดยการ
รู้จักใช้ทรัพยากรต่างๆในองค์กร เช่น ทรัพยากรบุคคล งบ
ประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีต่างๆ เป็นต้น ให้เกิด
ประโยชน์ในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึง สืบค้น
และใช้ข้อมูลสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นเป้าหมาย
สูงสุดของงานห้องสมุด
ปัจจุบันเทคโนโลยีทนำามาใช้ในงานห้องสมุดและศูนย์
                            ี่
สารสนเทศได้พัฒนาขึ้นอย่างมาก ที่กำาลังเป็นที่นิยม และได้รับ
ความสนใจมากที่สุดคือ Web2.0 และ Library2.0 ในแวดวงห้อง
สมุดและศูนย์สารสนเทศ คุณลักษณะสำาคัญของ web2.0 คือ
ลักษณะเว็บไซต์ที่ส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล มีผู้ใช้หลาย
คนเป็นกำาลังผลักดันให้เว็บไซต์เกิดการพัฒนา มีการโต้ตอบกัน
ระหว่างผู้ให้บริการและผูใช้ และการส่งข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยที่
                         ้
ไม่ต้องผ่านเซิร์ฟเวอร์ ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงต้องให้
ความสนใจและนำาเอาหลักการและเทคโนโลยีดังกล่าวเข้ามาใช้
เพื่อความทันสมัย และตอบสนองต่อรูปแบบความต้องการของผู้
ใช้ที่เปลี่ยนไป โดยการคงสายงานหลักๆไว้ แต่ปรับเปลียนวิธีและ
                                                       ่
เครื่องมือในการทำางาน การการเปลียนแปลงย่อมนำามาซึงผลกระ
                                  ่                      ่
ทบทั้งด้านบวกและลบ และการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ได้วางไว้
การบริหารถือเป็นองค์ประกอบสำาคัญ

กระบวนการของงานบริหารและขอบเขตของงาน
บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
        “การบริหารมีลักษณะที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์” (การบริหาร
เล่มแดง หน้า٢٧) คือ การมีแนวคิด และระบบกระบวนการต่างๆ
เพื่อกำาหนดขึ้นเป็นทฤษฎีหรือนโยบาย จากนั้นจึงนำาทำาทฤษฎี
หรือนโยบายดังกล่าวมาใช้ปฏิบัติ ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้ง
ไว้ ทังนี้แนวทาง วิธี หรือทฤษฎีดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับวิสัย
      ้
ทัศน์ วัตถุประสงค์ขององค์กรที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศนั้น
สังกัดอยู่ ผู้บริหารต้องศึกษาและทำาความเข้าใจในงานต่างๆ
ภายในองค์กรคือห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศอย่างถ่องแท้ ว่ามี
งานอะไรบ้าง ลักษณะงานเป็นอย่างไร เพื่ออะไร มีวิธีดำาเนินงาน
อย่างไร มีความสัมพันธ์กันงานใดอีกบ้าง ปัญหาที่มักเกิดจะ
สามารถแก้ไขได้อย่างไร นอกจากนี้ผู้บริหารควรจะคำานึงถึง
ขอบเขตของงานบริหารงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศว่า
เกี่ยวข้อง หรือครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง เพื่อใช้ประกอบการวาง
นโยบาย หรือวิธีการควบคุมดูแล และวางมาตรการในการป้องกัน
และแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น รวมไปถึงการประเมินการทำาดำาเนิน
งานทั้งระหว่างดำาเนินงาน และผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งมีกระบวนการ และ
ขอบเขตของงานในหลายด้านด้วยกัน
     มีนักวิชาการหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหน้าที่หรือ
กระบวนการบริหารไว้หลายแนวทาง แต่แนวความคิดที่แพร่หลาย
ที่สุดเป็นแนวความคิดของนักธุรกิจชื่อ Luther Gulick และ
Lyndall Urick (หลักการบริหาร٣٢) กระบวนการบริหารตามแนว
ความคิดนี้ ได้ระบุกระบวนการต่างๆ ไว้ ٧ ข้อด้วยกันคือ การ
วางแผน(Planning) การจัดการองค์การ(Organizing) การจัดคน
เข้าทำางาน(Staffing) การสั่งการ(Directing) การประสาน
งาน(Co-ordinating) การรายงาน(Reporting) และการงบ
ประมาณ(Budgeting) ซึ่งมีรายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้น
ตอนในงานบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศดังนี้
       1. การวางแผน(Planning)1 คือ หน้าที่ของการจัดการ
          เกี่ยวข้องกับการกำาหนด
วัตถุประสงค์ นโยบาย พันธกิจ วิสัยทัศน์ แผนงานโครงการ และ
กำาหนดกลยุทธ์สำาหรับการปฏิบัติงานและ ทรัพยากรให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทได้ตั้งไว้ โดยการ
                                           ี่
วางแผนนี้ต้องสอดคล้อง และส่งเสริมวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย
ขององค์กร หรือของหน่วยงานที่สังกัดอยู่ และตอบสนองบทบาท
หน้าที่ของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศที่มุ่งให้ผู้ใช้ได้ใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรและบริการหลากหลายทีมี สำาหรับการ
                                               ่
ศึกษาค้นคว้า อย่างมีทักษะ หรือการรู้สารสนเทศ เพื่อนำาไปสู่การ
สร้างนวัตกรรมในสังคมแห่งการเรียนรู้ (การบริหารห้องสมุดยุค
ใหม่, 2548: 126)
       การวางแผนจะต้องมีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงหรือ
เปลียนแปลงได้เสมอ ในกรณีที่เมื่อประเมินแล้วการดำาเนินงานมี
     ่
จุดบกพร่อง ไม่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ซึงผู้บริหารสามารถใช้
                                       ่
เครื่องมือทางการบริหาร เช่น TQM BSC มาปรับใช้กับงานบริหาร
ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพได้

     2. การจัดการองค์กร (Organizing) หมายถึง การกำาหนด
        กิจกรรมต่างๆในห้องสมุดและ
ศูนย์สารสนเทศ โดยแยกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะงานที่เหมือนกัน
ซึ่งอาจแยกเป็นแผนก กอง ฝ่าย เป็นต้น แต่การจัดองค์กรนั้น จะ
    1
       การวางแผน(Planning) แบ่งออกได้เป็น ٢ ประเภท คือ ١. แผน
     กลยุทธ์ หรือ แผนแม่บท เป็นแผนที่
กำาหนดทิศทาง และเป้าหมายการทำางาน ٢. แผนปฏิบัติการ หรือแผน
ประจำาปี เป็นแผนสำาหรับการปฏิบัติงานให้เกิดผลตามเป้าหมาย เป็นแผน
ปฏิบัติการเฉพาะเรื่อง ส่วนใหญ่มีกำาหนดระยะเวลา ١ ปี
ต้องศึกษาถึงลักษณะงานทั้งหมดก่อน เพื่อกำาหนดกลุ่มงานให้
ครอบคลุม และครบถ้วน
        การจัดองค์กรเป็นการกำาหนดว่าแต่ละส่วนงานจะมีหน้าทีรับ่
ผิดชอบงานในเรื่องใด ควรอยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมใด ใช้วัสดุ
อุปกรณ์ใดบ้าง งานสัมพันธ์กับกลุ่มงานใด ถือเป็นการป้องกัน
ความสับสน ซำ้าซ้อนในการทำางาน และถือเป็นการประหยัดงบ
ประมาณในกรณีที่แต่ละกลุ่มงานสามารถใช้สถานที่ วัสดุ และ
อุปกรณ์ร่วมกันได้ ในการจัดองค์กรในห้องสมุดและศูนย์
สารสนเทศสามารถจัดแบ่งได้ โดยพิจารณาตามลักษณะงานดัง
ต่อไปนี้
          1. ตามลักษณะการให้บริการ เช่น บริการให้ยืม บริการ
                แนะนำาการอ่าน เป็นต้น
          2. ตามลักษณะของผู้รับบริการ เช่น บริการสำาหรับเด็ก
                บริการสำาหรับผู้พิการ
                เป็นต้น
          3. ตามกระบวนการทำางาน เช่น แผนกคัดเลือก แผนก
                จัดซื้อ แผนกวิเคราะห์และทำารายการ เป็นต้น
          4. ตามลักษณะหน้าที่หรือประเภทของงาน เช่น แผนก
                งานบุคคล แผนกการเงิน
                เป็นต้น
          5. ตามตำาแหน่งที่ตั้งทำาการ เช่น ห้องสมุดกลาง ห้อง
                สมุดประชาชน เป็นต้น
          6. ตามช่วงเวลาทำาการ เช่น บริการภาคเช้า บริการ
                ภาคคำ่า เป็นต้น
     ในการจัดองค์กรนี้สามารถนำาเสนอเป็นแผนผังโครงสร้าง
องค์กรได้ เพื่อให้เห็นภาพทั้งหมดของงานและตรวจสอบได้วาที่มี ่
อยู่ครบถ้วนหรือไม่ บุคลากรทำาความเข้าใจกับสายงานได้วาตนอยู่
                                                         ่
ภายใต้บังคับบัญชาของใคร นอกจากนี้ยังส่งผลดีต่อการคิดค้น
พัฒนาเทคนิค หรือวิธี หรือเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมใหม่ต่างๆ
อันจะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน
     3. การจัดคนเข้าทำางาน (Staffing) หมายถึง การสรรหา คัด
         เลือกบุคคลเข้าทำางานให้
เหมาะสมกับงาน ดังวลีที่วา “Put the right man in the right
                            ่
job” เพื่อให้การทำางานบรรลุผลที่ได้ตั้งไว้ ทรัพยากรมนุษย์ คือผู้
ทีใช้งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ดำาเนินงานตามแบบแผนที่ได้สร้าง
   ่
ขึ้น ซึ่งจะประสบผลสำาเร็จและบรรลุเป้าหมายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ
ว่าหน่วยงานหรือองค์กรนั้นมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถ
และประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ฉะนั้นจึงมีวัตถุประสงค์ในการ
บริหารงานบุคคลคือ “บริหารเพื่อให้หน่วยงานมีคณะผู้ทำางานที่มี
ความรู้ความสามารถ ใช้พลังงานของพวกเขาปฏิบัติงานแก่หน่วย
งานอย่างมีประสิทธิภาพได้นานที่สุด โดยหน่วยงานและบุคคล
ต่างได้รับผลประโยชน์รวมกัน” (หลักการบริหารงานห้องสมุด สี
                          ่
แดง)
         ในการบริหารงานบุคคลในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศมี
   รายละเอียด ประกอบด้วย
การวางแผน
                    การวางแผนในด้านงานบุคคลจะเป็นเรื่องเกี่ยว
                    กับการกำาหนด
            คุณลักษณะของบุคลากรที่จะรับเข้าทำางาน ให้
สอดคล้องกับความต้องการของ
            งานแต่ละแผนก เลือกวิธีการสรรหาเพื่อให้ได้บุคลากร
     ตามที่ต้องการ
            ซึ่งการวางแผนด้านบุคลากร จะต้องคำานึงถึงขอบเขต
     ความรับผิดชอบ
            และความสามารถของบุคลกรที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน
            ความเหมาะสมของปริมาณงานที่ได้รับ และพิจารณา
            ว่างานนั้นๆ ต้องการจำานวนบุคลากรเท่าไรจึงจะเหมาะ
            สม
         1. การกำาหนดตำาแหน่งและเงินเดือน
                    การกำาหนดตำาแหน่งและเงินเดือนจะพิจารณา
               จากงานในห้องสมุดและ
                 ศูนย์สารสนเทศว่าเป็นงานลักษณะใด ต้องการ
         บุคลากรที่มีความรู้ระดับ
                 ไหน ควรให้ค่าตอบแทนเท่าใดจึงจะเหมาะสม และ
         จะมีการสรรหา พัฒนา และ
            ประเมินผลงานบุคลากรอย่างไรในการใช้ประกอบการ
            พิจารณาตำาแหน่งและเงินเดือน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการ
            จูงใจให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพและการทำางาน รวม
            ไปถึงการจูงใจให้บุคลากรทำางานให้องค์กรต่อไป เมื่อ
            รู้สึกพอใจกับความก้าวหน้าของตำาแหน่งงานและเงิน
            เดือนที่รับ
         2. การสรรหาคนเข้าทำางาน
การสรรหาคนเข้าทำางานจะทำาตามแผนที่ได้
    วางไว้ สามารถทำาได้ ٢
            วิธี คือ การสรรหาอย่างเป็นทางการ หรือการประกาศ
            รับสมัคร คัดเลือกตามระเบียบและขั้นตอนของการรับ
            สมัคร และการสรรหาอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การจัด
            บรรยายเพื่อให้ผู้ที่สนใจเจ้ามาสมัครงาน หรือรับ
            ฝึกงานห้องสมุด เป็นต้น
       3. การคัดเลือกและบรรจุตำาแหน่ง
                    การคัดเลือกและบรรจุตำาแหน่ง โดยทัวไปจะทำา
                                                           ่
ตามระเบียบและขั้นตอน
            โดยเฉพาะในงานราชการ หรือถ้าเป็นหน่วยงาน
เอกชน ก็จะขึ้นอยู่กับระเบียบ
            ภายในหน่วยงานนั้นๆ
       4. การมอบหมายงาน
                    การมอบหมายงานจะรวมไปถึงการปฐมนิเทศเพื่อ
ทำาความเข้าใจเรื่อง
            ขอบเขตงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ งานที่ต้องทำา
อุปกรณ์ที่มี และอาจมีคู่มือใน
            การปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เริ่มปฏิบัติงานทำาความคุ้นเคย
กับงาน สถานที่ และเพื่อน
            ร่วมงาน
       5. การฝึกอบรม
                      การฝึกอบรมสามารถเริ่มทำาได้ตั้งแต่ระยะแรก
       ของการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจ
                ทำาโดยวิธีอธิบายรายละเอียดของงาน รวมไปถึงการ
       สาธิตวิธีปฏิบัติจริง ซึ่งบาง
                แห่งอาจทุ่นเวลาด้วยการให้คู่มือปฏิบัติงานแทน
       ส่วนการอบรมที่เป็นการเพิ่มพูน
                ความรู้และทักษะหลังจากการเข้าทำางานนั้น
       สามารถทำาได้โดย
                      ٦.١. การฝึกอบรมระยะสั้น หรือการบรรยาย
       พิเศษเพื่อให้ความรู้
                           เกี่ยวกับงานทีปฏิบัติ ที่จัดขึ้นเองภายใน
                                           ่
       หน่วยงานและ
                           หน่วยงานอื่นเป็นผู้จัดขึ้น ถือเป็นการ
       เพิ่มพูนความรู้ และพัฒนา
บุคลากร
                        6.2. การฝึกอบรมเพื่อการหมุนเวียนการ
        ปฏิบัติงาน เป็นการ
                           ขยายความรู้ ความเข้าใจ และความ
        สามารถของบรรณารักษ์ให้
                           สามารถปฏิบัติงานได้ทุกๆงาน เพื่อ
        ป้องกันความจำาเจ และ
                           ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในกรณีมีการ
        ขาดงาน ซึง ่
                           บรรณารักษ์ท่านอื่นสามารถปฏิบัติงาน
        แทนบรรณารักษ์ท่านนั้นได้
                              ให้งานไม่หยุดชะงัก อีกทั้งยังถือ
        เป็นการแลกเปลียนความรู้ และ
                         ่
                              ทักษะจากการปฏิบัติงานจาก
        บรรณารักษ์ท่านหนึ่งสู่อีกหลายๆท่าน
                              ที่จะมีกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการแลก
        เปลียนความรู้ที่มีประสิทธิภาพ
            ่
                               สูงสุดคือ การทำา KM และ LO2
        ٧. การจัดการด้านระเบียบวินัย
                 การจัดการด้านระเบียบวินัยเริ่มจาการตั้งกฎ
ระเบียบในการทำางาน เพื่อ
           ควบคุมความประพฤติ และปฏิบัติ เพื่อให้การปฏิบัติ
งานเป็นไปด้วยความ
           เรียบร้อย และถูกต้อง
        ٨. การประเมินผล
                     สาเหตุที่จำาเป็นต้องมีการประเมินผล คือ เพื่อ
        วัดความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคล ทังในด้าน     ้
        ปริมาณและคุณภาพของงาน และใช้ประกอบการ
        พิจารณาเลื่อนตำาแหน่งและเงินเดือนของผู้บริหาร
        นอกจากนี้ยังเป็นการประกันคุณภาพแก่ผู้ใช้และสังคม
        ภายนอกว่า การทำางานของบรรณรักษ์และบุคลากรใน
        ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศแห่งนี้มีมาตรฐาน และได้รับ
        การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา อย่างไม่หยุดนิ่ง ซึ่งการประเมิน
2
 จะกล่าวถึงรายละเอียดของ KM และ LO ภายใต้หัวข้อ รูปแบบการ
บริหารงานและองค์กร หน้า...
ผลนี้สามารถทำาได้หลายวิธี เช่น “การให้ผู้ปฏิบัติรายงาน
ผลด้วยวาจา หรือการเขียนรายงานสรุป การตอบแบบ
ประเมินผลงาน” เป็นต้น (หลักการบริหารงาน เล่มแดง
หน้า ٢٩)
            ในการประเมินผลนี้ มีเครื่องมือที่เป็นที่นิยม
คือ SWOT Analysis ทีใช้ในการกำาหนดจุดแข็งและจุด
                       ่
อ่อนภายขององค์กร โอกาสและอุปสรรคจากสภาพ
แวดล้อมภายนอกที่จะมีผลต่อการทำางาน
            SWOT เป็นตัวอักษรที่ย่อมาจากคำาต่อไปนี้
                 S    Strengths จุดเด่นหรือจุดแข็งของ
สภาพแวดล้อมใน
                      องค์กร
                 W Weaknesses จุดอ่อน ของสภาพ
แวดล้อมในองค์กร
                 O    Opportunities ปัจจัยภายนอกที่
จะส่งผลดีต่อองค์กร
                 T    Treats ข้อจำากัดจากภายนอกที่มี
ผลต่อองค์กร
            SWOT จะใช้ประเมินทรัพยากรในองค์กร (4M
และ 6M) เพื่อประโยชน์ในกระบวนการบริหารในการหา
จุดดี จุดบกพร่อง และปัจจัยต่างต่างทีที่จะมีผลต่อการ
                                      ่
บรรลุเป้าหมายขององค์กร
            นอกจากนี้ยังมีตัววัดประเมินที่สำาคัญอีกตัวคือ
KPI
٩. การจูงใจ
      การจูงใจเป็นการทำาผูปฏิบัติงานรู้สึกถึงความ
                           ้
ปลอดภัย มั่นคง ความก้าวหน้า รูสึกว่าเป็นที่ชื่นชมเคารพ
                                 ้
นับถือ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการทำางานด้วยความตั้งใจและ
เต็มความสามารถ กระตือรือร้น รักงานและสถานที่ทำางาน
สามรถทำาได้หลายวิธี เช่น การให้รางวัลหรือค่าตอบแทน
เพื่อทำางานใดงานหนึงสำาเร็จ การให้เงินตอบแทนประจำาปี
                    ่
เงินตอบแทนเมื่อออกจากงาน หรือสวัสดิการ3ต่างๆ
           เป็นต้น
       ในยุค Library 2.0 สิ่งที่ผู้บริหารงานห้องสมุดและศูนย์
สารสนเทศจะต้องคำานึงถึงมากที่สุดในด้านบุคลากร คือ การสร้าง
ความสัมพันธ์และความเป็นไปได้ในการใช้เทคโนโลยีททันสมัย  ี่
และแปลกใหม่ กับตัวบุคลากรที่ยงคงเคยชินกับการปฏิบัติงานใน
                                    ั
รูปแบบ วิธี และอุปกรณ์เดิม ยกตัวอย่างเช่น บรรณารักษ์แผนก
การให้เลขหมู่ ซึ่งยังไม่เห็นความสำาคัญว่า Web2.0 หรือ
Library2.0 จะสามารถนำามาปรับหรือประยุกต์ใช้ในการให้เลขหมู่
ได้อย่างไร มีประโยชน์หรือช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการทำางาน
อย่างไร หรือแม้แต่ปัญหาที่มักพบโดยทั่วไป คือ ปัญหาที่คนและ
เทคโนโลยีก้าวไม่ทันกัน พัฒนาไม่ทันกัน ดังจะเห็นได้จากเจ้า
หน้าที่ในสำานักงานทัวๆไป ทียังขาดทักษะ และประสบการณ์ใน
                      ่       ่
การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร สิ่งเหล่านี้ลวนแต่้
ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ต่อต้าน และทัศนะคติด้านลบในการ
ทำางาน อันส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และคุณภาพผลงานที่ออกมา
ดังนั้น ผู้บริหารจะต้องศึกษาลักษณะของงานห้องสมุดแต่ละงาน
ทำาความเข้าใจให้ลึกซึ้ง เล็งเห็นถึงจุดอ่อนของวิธีการปฏิบัติงาน
แบบเดิม แล้วศึกษารายละเอียดเทคโนโลยีใหม่ๆ ว่ามีข้อดีที่
สามารถนำามาแก้ไขข้อบกพร่องของวิธีการทำางานแบบเดิมได้
อย่างไร แล้วทำาการชี้แจงให้บรรณารักษ์หรือผู้ใต้บังคับบัญชาเห็น
จริงตามนั้น หรือจัดการอบรม ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง
       นอกจากนี้ยังรวมไปถึงปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายนอกต่างๆ
เช่น นโยบายภาครัฐที่ต้องการลดจำานวนบุคลากร ทำาได้การบรรจุ
คนเข้าทำางานในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุดเป็นไป
ได้ยาก ผู้บริหารจึงต้องมีวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ดังเช่นรายงาน
การวิจัย การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานบริการห้อง
สมุดมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน พบกว่าห้องสมุดใน
กลุ่มประเทศเหล่านี้สวนใหญ่ได้เพิ่มแผนกงานจัดการเทคโนโลยี
                        ่
สารสนเทศขึ้นเนื่องจากปัจจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่
ก้าวหน้ามาก ซึ่งบุคลากรทีรับผิดชอบการบริหารจัดการ
                            ่

3
  สวัสดิการ หมายถึง ผลประโยชน์ต่างๆที่หน่วยงานจัดให้
พนักงานของตน ผลประโยชน์ดังกล่าวอาจเป็นเงินที่นอกเหนือ
จากค่าจ้างปกติที่หน่วยงานจัดให้ เช่น การช่วยเหลือเนื่องมาจาก
อุบัติเหตุ วันลาพัก เป็นต้น Beach Dale (1971)
เทคโนโลยีสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นบุคลากรในตำาแหน่ง
บรรณารักษ์ โดยส่วนใหญ่มีการกำาหนดชื่อตำาแหน่งว่า “
บรรณารักษ์งานระบบ”(ประไพ จารุทวี และคณะ ٨٠-٧٩ ,٢٥٤١
อ้างถึงใน บรรณารักษ์งานระบบ (Systems Librarian): บุคลากร
ห้องสมุดในยุคดิจิทัล ฐิติมา หิรัญเวชยางกูร โมทัศน์ ปี٢٢ ฉ٢
ก.ค.-ธ.ค.٢٥٤٤ )
       ٤. การการสั่งการ (Directing) เป็นขั้นตอนที่ผู้บริหารสั่งการ
หรือมอบหมายงานให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงาน ให้บรรลุผลที่ได้ตั้งไว้ ซึ่งการสั่งงานนี้
ต้องชัดเจนและเข้าใจง่าย การจัดทำาระเบียบ หรือคู่มือจะช่วยให้
ดำาเนินงานตามต้องการได้ดียิ่งขึ้น เช่นระเบียบการเบิก-จ่ายเงิน
เป็นต้น นอกจากนี้การสั่งการยังหมายถึงการควบคุม เพื่อให้เกิด
การทำางานตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ตามเวลาที่กำาหนด
และภายในงบประมาณที่ตั้งไว้
     5. การประสานงาน (Co-ordinating) การประสานงานเป็นกระ
     บวนการให้
ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเข้าใจร่วมกัน แม้จำาทำางานแยกจากกันตาม
หน้าที่ ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ประสบผลสำาเร็จร่วมกัน สร้าง
ความสัมพันธ์ระหว่างคนในแผนกเดียวกัน และต่างแผนก เป็นการ
ให้ความรู้และความเข้าใจในหน้าที่และบทบาทของคนทำางานใน
แผนกเดียวกันและต่างแผนก ทำาให้บุคลากรเข้าใจบทบาทของตน
ต่อองค์กร ทำาให้เกิดความร่วมมือ การประสานงานนั้นอาจกล่าวได้
อีกทางหนึงว่าคือการสื่อสาร ซึ่งจำาแนกออกเป็นประเภท และมี
            ่
รายละเอียดแตกต่างกันไปดังต่อไปนี้
     การสื่อสาร คือ การส่งข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง
หรือหลายคน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ซึ่งการสื่อสารนี้อาจ
อยู่ในรูปการพูด อ่าน เขียน และแสดงท่าทาง การสื่อสารของ
องค์กรแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้
     1. การติดต่อสื่อสารภายใน หรือการติดต่อระหว่างบุคคล
         ภายในสำานักงานเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์ให้บุคลากรใน
         สำานักงานทราบข่าวความเคลื่อนไหว เพื่อการชี้แจง
         นโยบาย กฎ ระเบียบให้เข้าใจตรงกัน หรือร่วมกันแสดง
         ความคิดเห็น ซึ่งจุดนี้ตรงกับคุณสมบัติของ Library2.0
         และ Web2.0 ซึ่งจะได้กล่าวถึง Tools ของ Web2.0 ด้าน
         การติดต่อสื่อสารในแง่การบริหารต่อไป
2. การติดต่อสื่อสารภายนอก คือการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง
        สำานักงานกับบุคคลภายนอก เพื่อเผยแพร่ข่าวสารให้เกิด
        ความเข้าใจในกิจการ ทังที่ยังหมายความถึงการโฆษณา
                                ้
        ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศตามหลักการบริหารยุคใหม่
        ซึ่งหากเกิดข้อผิดพลาดจะทำาให้เสียความเชื่อถือจาก
        บุคคลภายนอก
            การสื่อสารถือเป็นเครื่องมือสำาคัญในการบริหารงาน ช่วย
     ให้เกิดความเข้าใจระหว่าง
ผู้บริหารและบุคลากร สร้างความสัมพันธ์อันดีอันจะส่งผลดีต่อการ
ปฏิบัติงาน ฉะนั้นรูปแบบ และวิธีการบริหารจึงเป็นองค์ประกอบ
สำาคัญที่จะส่งผลต่อประสิทธิผลของการประสานงาน ดังนั้นการ
สื่อสารจึงได้รับความสนใจ และพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีเป็น
อย่างมาก ผู้บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงต้องศึกษา
เทคโนโลยีใหม่เหล่านี้ แล้วพิจารณาปรับใช้กับงานในห้องสมุด
รวมไปถึงจูงใจและแสดงให้เห็นข้อเด่นแก่บุคลากร
     6. การรายงาน (Reporting) เป็นการรายงานต่อหน่วยงานที่
สังกัด เพื่อรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงาน ตลอดจนกิจกรรมภายใน
และบุคลากรในหน่วยงาน การปฏิบัติงานและผลงาน เพื่อเป็นการ
สร้างหลักฐาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานและใช้ประกอบ
พิจารณางานอื่นๆต่อไป
     7. การงบประมาณ (Budgeting)
     หน้าที่ทางด้านการเงินของผูบริหารห้องสมุดและศูนย์
                                   ้
สารสนเทศส่วนใหญ่เป็นเรื่องการควบคุม และอนุมัติการใช้จาย     ่
เงินซึ่งได้รับจัดสรรมาจากฝ่ายบริหารของหน่วยงานหลัก ตาม
แผนการเงินที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศได้จัดทำาเสนอฝ่าย
บริหารไว้
     ต่อไปนี้จะขอให้รายละเอียดเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของ
ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
              รายได้ ประกอบด้วย
                   ١. เงินงบประมาณ4 คือ เงินที่ได้รับการจัดสรร
จากองค์การหรือหน่วยงาน
                       ตามแผนที่ได้กำาหนดล่วงหน้าและได้รับการ
     พิจารณาอนุมัติจากฝ่าย


4
    เงินงบประมาณ โดยทั่วไปมีกำาหนดช่วงละ ١٢ เดือน เรียกว่าปีงบประมาณ
บริหารขององค์การหรือ หน่วยงาน มีช่วง
    เวลาเป็นเครื่องกำาหนดบังคับใช้
                     จะได้รับมากน้อยขึ้นอยู่กับราได้หลักของ
    หน่วยงาน นโยบายการบริหาร
                     สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในขณะ
    นั้นๆ
                     ٢.เงินทีได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่ง
                               ่
    กำาหนดไว้ในข้อตกลงระหว่าง
                     ห้องสมุดกับผู้ใช้บริการ เช่น เงินค่าสมัคร
    สมาชิกประจำาปี เงินค่าปรับเมื่อ
                     หนังสือสูญหายเป็นต้น
                     ٣.เงินทีได้รับจากการบริการหรือกิจกรรม ที่
                                 ่
    เกิดจากความต้องการของ
                     ผู้ใช้ เช่น ค่าบริการสำาเนาเอกสาร ค่าแปล
    เอกสาร เงินบริจาค อุดหนุน
                     เป็นต้น
           รายจ่าย ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจะมีรายจ่ายใน
           ด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
                 1. เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ทีจ่าให้แก่
                                                     ่
                    บุคลากรประจำา หรือผู้ช่วย
                    ปฏิบัติงานชั่วคราว
                 2. ค่าจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ต่างๆ ในการ
                    ปฏิบัติงาน
                 3. บำารุงและสร้างสถานที่ รวมไปถึงวัสดุครุภัณฑ์
                    และอุปกรณ์ต่างๆ
                 4. ค่าสาธารณูปโภค
                 5. ค่าพาหนะติดต่อ
                 6. ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์
                 7. ค่าพิธีการ การรับรอง
                 8. ค่าบำารุงกิจการต่าง เพื่อประโยชน์ของงาน
                    ห้องสมุด
           ในการจัดเตรียมงบประมาณนั้น ผู้บริหารจะต้องดำาเนิน
การด้วยความรอบคอบ มองเห็นแผนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
รวมไปถึงมาตรการควบคุมการใช้จ่ายทีมีประสิทธิภาพรัดกุม เพื่อ
                                        ่
ให้การใช้งบประมาณหรือเงินรายได้ของห้องสมุดและศูนย์
สารสนเทศให้เกิดให้เป็นไปตามวงเงินที่ได้รับอนุมัติ เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุดและป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น โดยการ
จัดเตรียมงบประมาณนั้นต้องพิจารณาคู่มือในการจัดเตรียมงบ
ประมาณ อัตราค่าใช้จ่ายในแต่ละด้าน พระราชบัญญัติต่างๆที่
เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงดำาเนินการจัดเตรียมแผนงบประมาณเพื่อนำา
เสนอต่อฝ่ายบริหารขององค์กร
     ในการขออนุมัติเห็นชอบจากฝ่ายบริหารขององค์กรนั้น
เนื่องจากห้องสมุดและ
ศูนย์สารสนเทศเป็นองค์กรทีให้บริการแบบไม่หวังผลกำาไรหรือค่า
                               ่
ตอบแทน เงินรายได้ส่วนใหญ่ของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
จึงมีที่มาจากเงินสนับสนุนจากหน่วยงานหลัก ดังนั้นหน้าที่สำาคัญ
ของผู้บริหารจึงเป็นการหาวิธีเพื่อให้ได้รับการสนับสนุนทางการ
เงินจากฝ่ายบริหารที่อยู่เหนือขึ้นไป ซึงหากเป็นหน่วยงานของ
                                       ่
ภาครัฐ จะมีเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณแผ่นดินประกอบการ
อนุมัติงบประมาณ ทั้งนี้ผู้บริหารของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ
จะต้องนำาเสนอ และทำาความเข้าใจถึงภาระหน้าที่ที่สำาคัญของ
ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ ที่จะสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้น
แก่หน่วยงานหลัก และผู้ใช้อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหากผู้บริหาร
สามารถดำาเนินการในเรื่องนีได้ ด้วยการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และ
                             ้
นำาเสนอผลประโยชน์ที่ทางฝ่ายบริหารจะได้รับจากงานห้องสมุด
และศูนย์สารสนเทศ จนฝ่ายบริหารเกิดความสนใจและให้ความ
สำาคัญกับงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ การของบประมาณ
หรือเงินสนับสนุนจะมีโอกาสเป็นไปได้สูง
     นอกจากนี้ในเรื่องการบริหารเงินรายได้และงบประมาณของ
ห้องสมุดและ
ศูนย์สารสนเทศ ยังต้องพิจารณาถึงการแสวงหาความร่วมมือ
ระหว่างสถาบันหรือหน่วยงานประเภทเดียวกัน เช่น ภาคีห้องสมุด
เนื่องจากเองงบประมาณนั้นผู้บริหารต้องคำานึงถึงว่าไม่สามารถได้
รับการสนับสนุนตามทีได้ขออนุมัติไปทั้งหมด ดังนั้นการแสวงหา
                       ่
ความร่วมมือ เพื่อประโยชน์ในการทุ่นเวลาและงบประมาณในงาน
บางด้านจึงถือเป็นวิธีอันชาญฉลาดอย่างหนึ่งในการประหยัดงบ
ประมาณไว้ใช้จ่ายในส่วนอื่นที่สำาคัญกว่า
รูปแบบการบริหารงานและองค์กร
     ในการบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ วัตถุประสงค์ของ
การบริหารคือ จะบริหารจัดการอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผล เพื่อตอบสนองความต้องงการของผู้ใช้ให้มากที่สุด
รูปแบบการบริหารองค์กรจึงเป็นสิ่งสำาคัญที่ผู้บริหารควรพิจารณา
และคัดเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับองค์ประกอบ และสภาพ
แวดล้อมของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศมากที่สุด
     การบริหารบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศโดยปกติจะใช้
หลักการบริหารองค์กรทั่วไป ซึงมีทรัพยากรพื้นฐานสำาคัญคือ 4M
                                           ่
คือ Man Machine Material Money และปัจจุบันได้มีการขยาย
ปัจจัยออกไปเป็น ٦M โดยเพิ่ม Management และ Morale
เข้าไป ทรัพยากรทั้ง ٦ ตัวนี้จะมีความสัมพันธ์ และทำางานร่วมกัน
เพื่อบรรลุเป้าหมายอันเดียวกัน นอกจากนียังมีรปแบบการบริหาร ้ ู
อีกหลายรูปแบบที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาใช้ให้เหมาะสม และ
ทำาให้การทำางานประสบผลสำาเร็จยิ่งขึ้น
       1. รูปแบบการบริหารแบบรวมอำานาจ (Centralization)
           หมายถึงระบบการบริหารทีรวมศูนย์อำานาจอยูที่ผู้บังคับ
                                                    ่         ่
                                                   5
           บัญชา หรือหน่วยงานหลัก เพียงจุดเดียว (การบริหาร
           ห้องสมุดยุคใหม่กับไอที ٨٨) และมีการบังคับบัญชากัน
           ตามสายงานลดหลั่นกันไปตามลำาดับ เช่น การที่ห้อง
           สมุดสาขาในมหาวิทยาลัยขึ้นตรงต่อห้องสมุดกลางซึ่งมี
           อำานาจในการควบคุมห้องสมุดสาขา เป็นต้น ลักษณะ
           การรวมการปกครอง คือ จะมีการรวมอำานาจวินิจฉัยสั่ง
           การไว้ที่ส่วนกลางโดยมอบอำานาจการสั่งการวินิจฉัยให้
           แก่เจ้าหน้าที่ชั้นสูงของหน่วยงานหลัก หรือมอบอำานาจ
           ในการวินิจฉัยสั่งการได้เป็นบางเรื่อง แต่อำานาจวินิจฉัย
           ชี้ขาดที่สำาคัญยังเป็นของหน่วยงาหลัก
            (http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Soci
           al/kunya003/sec5_p1.htm ครูกันญา วงศ์ใหญ่ โรงเรียน
           เชียงม่วนวิทยาคม อำาเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา)
       2. รูปแบบการบริหารแบบกระจายอำานาจ
           (Decentralization) หมายถึง ระบบการบริหารที่กระจาย
           อำานาจลงไปสู่ผู้บริหารระดับล่าง6 หรือหน่วยงานระดับ
           ล่าง เป็นการมอบหมายอำานาจให้แก่ผู้บริหารระดับรอง
           จากผู้บริหารระดับสูงสุด ให้หน่วยงานระดับล่างเป็นผู้
           ตัดสินใจในเรื่องที่อยูในขอบเขตที่ตนรับผิดชอบ ส่วนผู้
                                             ่
5
  หน่วยงานหลัก คือ หน่ วยงานระดับสูงสุด ท่ีทำาหน้ าท่โดยตรงกับวัตถุประสงค์ขององค์กร และ
                                                     ี
ปฏิบัติงานเพ่ ือผลประโยชน์โดยตรงต่อความสำาเร็จขององค์กร ทังมียังมีระดับหน่ วยงานรองลงมา
                                                           ้
อีก ٢ ระดับ คือ หน่ วยงานท่ีปรึกษา หน่ วยงานระดับล่าง
6
  ผู้บริหารระดับล่าง คือ ผู้จัดการระดับปฏิบัติการ หรือหัวหน้ างาน ใกล้ชิดพนั กงานมากท่ีสุด อยู่
ในอันดับสุดท้ายของระดับบุคลากรชันนำ าของหน่ วยงาน ซ่ ึงเรียงลำาดับดังนี้ ١. ผู้บริหารระดับ
                                     ้
สูงสุด ٢.ผู้บริหารระดับกลาง ٣. ผู้บริหารระดับล่างหรือระดับต้น
บริหารระดับสูงสุดหรือหน่วยงานหลักทำาหน้าที่เป็นผู้ให้
            คำาแนะนำา ถือเป็นการบริหารงานแบบประชาธิปไตย
     ระหว่างรูปแบบการบริหารในแง่ของสายงานและอำานาจในการ
   บริหารงาน ٢ แบบนี้ต่างมี
จุดเด่นที่แตกต่างกันไป หากเป็นแบบการรวมอำานาจผู้บริหารจะ
สามารถสื่อสาร ประสานงานและสร้างความสัมพันธ์ได้อย่างทั่วถึง
ขจัดปัญหาในเรื่องการดำาเนินงานเพราะบุคลากรรู้วาตนเองอยู่ภาย
                                                     ่
ใต้สายงานของใคร และต้องขึ้นตรงหรือรายงานการดำาเนินงานกับ
ใคร ในแง่การตัดสินใจจะมีความเด็ดขาด เพราะเป็นการตัดสินใจ
ของผู้บริหารระดับสูงเพียงผู้เดียว แต่การบริหารในรูปแบบนี้จะมี
ผลให้บุคลากรขาดความกระตือรือร้นในการทำางาน เพราะไม่ต้อง
คิดริเริ่ม ไม่มีโอกาสในการตัดสินใจ และผลจากการตัดสินใจอาจ
ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับแต่ละสายงานมากนัก เพราะผู้
บริหารระดับสูงมีโอกาสที่จะพิจารณาโดยขาดข้อมูลสำาคัญปลีก
ย่อยที่มีผู้ปฏิบัติงานเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนรูปแบบการกระจายอำานา
จนั้นถือว่าเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในยุค Web2.0 และ
Library2.0 มากที่สุด เพราะเป็นการเน้นให้บุคลากรทุกคน มีส่วน
ร่วม สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกันได้ ดังนั้นก่อนที่จะเสนอ
ความคิด บุคลากรจำาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูล ความรู้เพื่อใช้
ประกอบและสนับสนุนความคิดเห็นของตน จึงถือเป็นการพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรอีกทางหนึ่ง
   3. แบบ top-down หรือแบบ command and control คือ
       ลักษณะของการสั่งการแล้วพนักงานลงมือทำา(คุณพุฒิเมศ
     เลิศวิริยะเศรษฐ์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไดโดมอนกรุุป
     จำากัด (มหาชน) กล่าวถึงนโยบายในการบริหารงาน
     ทรัพยากรบุคคลในปี ٢٥٥٢ http://www.ejobeasy.com/
     kmdetail.php?n=80825105541)
  4. Bottom Up คือพนั กงานมีสวนในการแสดงความคิด
                                   ่
     เห็นและมีส่วนร่วมในการวางแนวทางของบริษัท ***
      ยังไม่เสร็จ
      จะเห็นได้ว่ารูปแบบการบริหารดังที่กล่าวข้างต้นจะแบ่งได้ ٢
      ลักษณะคือ การบริหารรูป
แบบเดิมที่มีผู้บริหารเจ้านายเป็นใหญ่ เป็นผู้ออกคำาสั่ง และมีลูก
น้องเป็นผู้ปฏิบัติงานตามคำาสั่ง และแบบใหม่คือ การให้ลูกน้องมี
ส่วนร่วมคิด เสนอแนะ และตัวสินใจในการวางแผน รูปแบบการ
ทำางาน ซึงถือว่าเป็นที่นยมและสอดคล้องกับสภาพสังคม ทีให้
            ่               ิ                              ่
ความคำาคัญเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความคิดของคนหมู่มาก และการ
พัฒนาทางเทคโนโลยีที่เอื้อประโยชน์ให้ทุกคนสามารถเข้าถึง
รวมทั้งทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปันความรูแก่กัน และการบริหารรูปแบบ
                          ้         ้
ใหม่นี้จะให้ความสำาคัญกับทรัพยากรมนุษย์เป็นอย่างมาก เน้นใน
เรื่องการพัฒนาศักยภาพบุคคลและการแบ่งปันความรู้ในสังคม ต่อ
ไปนี้จึงเป็นรูปแบบการบริหารที่เน้นในเรื่องการพัฒนามนุษย์ คือ
การจัดการความรู้ หรือ KM
     5. การจัดการความรู้ หรือ KM หมายถึง กระบวนการจัดการ
        ความรู้ ความสามารถ
และทักษะอื่นๆ ของคนที่มีอยูในองค์กร นำาและนำามาบริหารเพื่อ
                              ่
เพิ่มคุณค่าของกิจการภายในองค์การ ซึ่งต้องประกอบไปด้วยการ
ค้นหา การจัดการ และประยุกต์ใช้ความรู้อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง
(การบริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management )
Dr.Pornphan PumiPu The CSTI of Thailand
www1.mod.go.th/opsd/wpcweb/Wpc
%20Intra/km1.../manageknown.ppt)
     ความรู้แบ่งออกเป็น ٢ ประเภท คือ ความรูแจ้ง (Explicit
                                             ้
Knowledge) และความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge)8
                   7

ซึ่งการจัดการความรู้นมุ่งที่จะดึงและนำาเอาความรู้ที่ฝงแน่นในตัว
                       ี้                            ั
คนออกมา โดยเริ่มจากการสร้างความสะพันธ์ของกลุ่มบุคคลทั้ง
ในและนอกองค์กร แต่มีความสนใจ หรือทำางานในเรื่องเดียวกัน
จากนั้นจัดกิจกรรม เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ของแต่ละคน
ซึ่งได้ผ่านระยะเวลาการทำางานมานาน ลองผิดลองถูก จนเกิด
เทคนิคและความชำานาญ โดยระหว่างการแลกเปลียนความรู้จะมีผู้
                                                  ่
ทีทำาหน้าที่บันทึกความรู้ต่างๆ ออกมาเพื่อรวบรวมออกมาเป็นรูป
   ่
ธรรม หรือสิ่งพิมพ์ เพื่อทำาการจัดเก็บเป็นคลังความรู้ขององค์กร
และเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไป ซึ่งในจุดนี้สามารถใช้เทคโนโลยีเข้า
ช่วยเพื่อขยายความรู้เหล่านี้ในวงกว้าง เมื่อเกิดการเผยแพร่ จะ
7
   ความรู้แจ้ง (Explicit Knowledge) คือ ความรู้ที่สามารถรวบรวม
ถ่ายทอดโดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี
คู่มือต่าง ๆ เป็นรูปธรรม
8
   ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) คือความรู้ที่ได้จากประสบการณ์
พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล ในการทำาความเข้าใจในสิ่งต่าง
ๆ ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำาพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย
เช่น ทักษะในการทำางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ เป็นนามธรรม
เกิดการเรียนรู้ และมีการต่อยอดความคิด จนเกิดเป็นวัตกรรมใน
ที่สุด หรือสามารถนำาความรูไปใช้ประโยชน์ได้จริง
                             ้
    การจัดการความรู้จะต้องทำาอย่างไม่หยุดนิ่ง ผู้บริหารจะต้อง
อำานวย แนะนำา สนับสนุน และผลักดันให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ใน
องค์กร ให้เกิดการแบ่งปันและเรียนรู้ เกิดบุคลากรที่ทำาหน้าที่ต่างๆ
ตามกระบวนการจัดการความรู้ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จน
กลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ หรือ LO
    6. องค์กรแห่งการเรียนรู้ หรือ Learning Organization คือ
       การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้
ในองค์กร ให้คนในองค์กรเกิดการใฝ่รู้ รับรู้ เรียนรู้ ในทางที่จะช่วย
พัฒนาตนเองและส่วนรวม โดยมีพื้นฐานคือ การเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่
ความเป็นเลิศ มีรูปแบบวิธรคิดในมุมมองที่เปิดกว้างมีรูปแบบวิธีคิด
เป็นเหตุและผล ร่วมกันสร้างวิสัยทัศน์ เกิดการเรียนรู้เป็นทีม และ
มีความคิดเชิงระบบ หากองค์กรกลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
แล้วจะก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพความเป็นมนุษย์อย่างเต็มที่
เป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) มองโลกในมุมกว้าง
และสามารถเชื่อมโยงความคิดกับความเป็นจริงได้

การใช้ Library2.0 ในงานบริหารห้องสมุดและศูนย์
สารสนเทศ
   แนวคิดที่เกี่ยวข้องในการใช้ Library2.0 ในงานบริหาร
งานห้องสมุด
  1. ทฤษฎีของ Tim O’ Reailly


  2. ทฤษฎี Long Tail
    ทฤษฎี Long Tail เป็นแนวคิดทางการตลาดของ Chris
  Anderson ซึ่งเขาได้เผยแพร่ทฤษฎีนี้ต่อสังคมในปี ٢٠٠٤ โดย
  ทฤษฎีนี้มที่มาจาก Chris สังเกตปรากฏการณ์การขายสินค้าใน
             ี
  โลกออนไลน์ เขาพบว่าความเป็นจริงนั้นช่างแตกต่างกับหลัก
  เศรษฐศาสตร์หนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับทัวไปในธุรกิจยุคเก่า ทีมีชื่อ
                                           ่                   ่
  ว่ากฎ٨٠/٢٠ ของพาเรลโต้ ซึ่งมีรายละเอียดว่า การมีทรัพยากร
  จำานวนจำากัด ทำาให้คนต้องใช้ทรัพยากรจำานวนจำากัดนี้ให้คุ้ม
  ค่าที่สุด เช่น พื้นที่ชั้นวางหนังสือมีจำากัด ห้องสมุดจึงต้องเลือก
  วางหนังสือที่เป็นที่นิยม เพื่อดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาใช้บริการ
  มากกว่าการวางหนังสือทีไม่เป็นที่นยม เป็นต้น จุดนี้คือลักษณะ
                               ่         ิ
เด่นของ Mass product คือการนำาเสนอสินค้าเดียวให้กับคน
   หมู่มาก ทำาให้บุคคลเหล่านี้ไม่มทางเลือก ต้องใช้สินค้าที่
                                    ี
   ตนเองไม่ได้ชอบ หรือต้องการจริงๆ
              สิ่งที่ Chris สังเกต เห็นคือ การขายสินค้าบนโลก
                      ออนไลน์บางชนิดมีจำานวน
    ยอดขายสินค้าทีไม่ได้รับความนิยม รวมมูลค่าแล้วมากว่ายอด
                      ่
                  ขายสินค้าที่เป็นที่นิยมโดยทัวไป
                                                ่
   เช่น “ยอดขายหนังสือของ ebay หนังสือทีไม่ติดอันดับความ
                                              ่
   นิยมสามารถทำารายได้สูง ٢٥% ของยอดขายรวมทั้งหมด” (
   ทลายรูปแบบธุรกิจดั้งเดิมด้วยกลยุทธ์ Long Tail
ดร. วรัญญู สุจิวรพันธ์พงศ์ (152,223 views) first post: Mon 7
              January 2008 last update:Wed
3 December 2008
http://www.vcharkarn.com/varticle/34495#P3)
จากกราฟ ส่วนสีแดง หรือ Head หรือชื่อที่คริสเรียกคือ Hits
จะแทนปริมาณการขายสินค้าที่ติดอันดันและได้รับความนิยม ส่วน
สีเหลือง หรือ Long Tail หรือที่คริสเรียก Niches (non-hit) แทน
ปริมาณการขายสินค้าที่ไม่ติดอันดับ หรือไม่ได้รบความนิยม แสดง
                                               ั
ให้เห็นว่าปริมาณการขายสินค้า Niches (non-hit) มีแนวโน้ม
ขยายไปทางขวามากกว่าสินค้า Hits ซึ่งเป็นผลมาจากเทคโนโลยี
ดิจิตอลที่ก้าวหน้า ผูใช้จึงสามารถหาซื้อหรือเลือกซื้อสินค้าอื่นที่
                     ้
ไม่มวางขายตามชั้นวางสินค้าได้ง่ายขึ้น หรือในอีกทางหนึ่งคือมี
     ี
”การขายสินค้าทาง Digital มากกว่า Physical ซึ่งเป็น Social
Networking ของคนในยุค Web 2.0” (ทฤษฎี Long Tail กับห้อง
สมุดในยุค Web 2.0

(http://stanglibrary.wordpress.com/2007/12/01/%E0%B8
%97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E
%E0%B8%B5-long-tail-
%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AB
%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA
%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%83
%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84/
ธันวาคม 1, 2007 โดย ruchareka)

  การใช้ทฤษฎี Long Tail กับการบริหารงานห้องสมุดและ
  ศูนย์สารสนเทศ
     เหตุที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศต้องให้ความสำาคัญกับ
     ทฤษฎี Long Tail นั้น Chris Anderson ได้ตอบคำาถามไว้ใน
     OCLC Newsletter ในคอลัมน์ The Long Tail and
     libraries ว่า “ห้องสมุดหลายแห่งมีการใช้ฐานข้อมูลและ
     เครือข่ายการยืมหนังสือระหว่างห้องสมุดเพิ่มขึ้น พวกเขา
     สามารถขยายชั้นวางหนังสือหรือปริมานทรัพยากรด้วยระบบ
     เครือข่ายได้มากกว่าห้องสมุดที่ไม่ได้ร่วมมือหรือใช้เครือข่าย
     ใดเลย” จาการตอบคำาถามของ Chris นีทำาให้เห็นว่า
                                            ้
     Web2.0 และทฤษฎี Long Tail มีความสัมพันธ์และเกื้อหนุน
     ซึ่งกันและกัน Web2.0 เอื้อประโยชน์ให้เกิดการขายสินค้าที่
     หลากหลายและง่ายยิงขึ้น ส่วน Long Tail ก็ใช้เป็นแนวทาง
                            ่
     แก่ผู้ขาย หรือผู้ให้บริการให้ความสำาคัญกับการให้ทางเลือก
     แก่ผู้ใช้ โดยใช้ Web2.0 เป็นเครื่องมือ
Lib2.0
Lib2.0
Lib2.0
Lib2.0
Lib2.0
Lib2.0

More Related Content

Similar to Lib2.0

สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
Chanawit Winn
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
Nona Khet
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
Sircom Smarnbua
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่
Nattaporn Bunmak
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
sangkom
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1pthaiwong
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Similar to Lib2.0 (20)

สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
001
001001
001
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
Yrc 606
Yrc 606Yrc 606
Yrc 606
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่อริสราแซนนี่
อริสราแซนนี่
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
 
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
ชุมชนนักปฏิบัติครั้งที่ 1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 

More from maethaya

E book thai
E book thaiE book thai
E book thai
maethaya
 
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯแจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
maethaya
 
Enlibnews
EnlibnewsEnlibnews
Enlibnews
maethaya
 
New books jun 2014
New books jun 2014New books jun 2014
New books jun 2014
maethaya
 
20042014
2004201420042014
20042014
maethaya
 
15012014
1501201415012014
15012014
maethaya
 
26122013
2612201326122013
26122013
maethaya
 
16112013
1611201316112013
16112013
maethaya
 
12112013
1211201312112013
12112013
maethaya
 
11112013
1111201311112013
11112013
maethaya
 
05112013
0511201305112013
05112013
maethaya
 
15112013
1511201315112013
15112013
maethaya
 
29102013
2910201329102013
29102013
maethaya
 
25102013
2510201325102013
25102013
maethaya
 
22102013
2210201322102013
22102013
maethaya
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศเทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศmaethaya
 
Web of science
Web of scienceWeb of science
Web of science
maethaya
 
Pro quest dissertations & theses
Pro quest dissertations & thesesPro quest dissertations & theses
Pro quest dissertations & theses
maethaya
 
Acm digital library
Acm digital libraryAcm digital library
Acm digital library
maethaya
 
Abi inform
Abi informAbi inform
Abi inform
maethaya
 

More from maethaya (20)

E book thai
E book thaiE book thai
E book thai
 
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯแจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
แจ้งเวลาเปิดบริการห้องสมุดคณะวิศวฯ
 
Enlibnews
EnlibnewsEnlibnews
Enlibnews
 
New books jun 2014
New books jun 2014New books jun 2014
New books jun 2014
 
20042014
2004201420042014
20042014
 
15012014
1501201415012014
15012014
 
26122013
2612201326122013
26122013
 
16112013
1611201316112013
16112013
 
12112013
1211201312112013
12112013
 
11112013
1111201311112013
11112013
 
05112013
0511201305112013
05112013
 
15112013
1511201315112013
15112013
 
29102013
2910201329102013
29102013
 
25102013
2510201325102013
25102013
 
22102013
2210201322102013
22102013
 
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศเทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ
 
Web of science
Web of scienceWeb of science
Web of science
 
Pro quest dissertations & theses
Pro quest dissertations & thesesPro quest dissertations & theses
Pro quest dissertations & theses
 
Acm digital library
Acm digital libraryAcm digital library
Acm digital library
 
Abi inform
Abi informAbi inform
Abi inform
 

Lib2.0

  • 1. การนำา Library 2.0 มาใช้ในงานบริหารงานห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศ ในโลกยุคไร้พรมแดน ทีมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่าง ่ รวดเร็ว ในเรื่องปริมาณข้อมูลสารสนเทศที่ล้นหลาม วิธีการสื่อสาร ที่หลากหลาย และระยะเวลาในการสื่อสารที่สั้นลง ฯลฯ ห้องสมุด และศูนย์สารสนเทศซึ่งเป็นหน่วยงานหนึ่งทีทำาหน้าที่เป็นแหล่ง ่ รวบรวม จัดเก็บ เผยแพร่ข้อมูลและความรู้ จัดการบริการอย่างมี ประสิทธิภาพ และเมื่อสภาพสังคมและเทคโนโลยีรอบตัว เปลียนแปลงไป รูปแบบการทำางาน วิธีการปฏิบัติงาน และเครื่อง ่ มือในงานห้องสมุดย่อมเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย แต่การจะใช้ เทคโนโลยี หรือวิธีการใหม่ๆ เพื่อให้ปฏิบัติงานให้ได้ประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้หรือไม่นั้น สิ่งจำาเป็นและสำาคัญ ประการหนึ่งสำาหรับห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศคือ การบริหารที่ ดี สำาหรับผู้บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ มีภารกิจหลัก ในการรับผิดชอบงานทุกอย่างที่เกิดขึ้นโดยเจ้าหน้าที่และผู้ใต้ บังคับบัญชาในหน่วยงาน และงานทุกๆอย่างในห้องสมุด เช่น งาน บริการ งานเทคนิค วัสดุและสถานที่ เป็นต้น ซึ่งภาพรวมของงาน บริหารมีดังต่อไปนี้ดังต่อไปนี้ 1. ความหมายของ “การบริหารห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศ” 2. ลักษณะของงานบริหาร 3. กระบวนการของงานบริหารและขอบเขตของงาน บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ 4. รูปแบบการบริหารงานและองค์กร ความหมายของ “การบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ” ความหมายของการบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ จะ ขอแจกแจงออกเป็นส่วนๆ ดังต่อไปนี้ การบริหาร “ตรงกับคำาในภาษาอังกฤษอยู่ 2 คำา คือคำา ว่า Administration และ Management คำาว่า Administration มักจะเป็นการบริหารในเรื่องนโยบาย หรือ Policy แต่ Management จะเป็นการบริหารโดยการนำานโยบายไปสู่การ ปฏิบัติ อย่างไรก็ตามทั้ง 2 คำานี้ สามารถใช้แทนกันได้และหมาย
  • 2. ถึงการบริหารเช่นเดียวกัน” (ลักษณะทั่วไปของการบริหาร (Management or Administration) http://www.nsru.ac.th/e-learning/sonthaya/lesson %201/lesson1.html มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์) มีผู้ให้ความหมายของคำาว่า “บริหาร” ไว้ดังต่อไปนี้ การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคล ตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกันดำาเนินการ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่างที่ บุคคลร่วมกันกำาหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบและ ใช้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม ( สมศักดิ์ คงเที่ยง , 2542 : 1) การบริหาร หมายถึง กระบวนการจัดองค์การ และการใช้ทรัพยากรต่างๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ กำาหนดไว้ลวงหน้า เอเนสย์ เดลล์ (Ernest Dale, ่ 1973 : 4) การบริหาร คือ กระบวนการทางสังคม ซึ่ง ประกอบด้วยชุดกิจกรรม อันจะนำาไปสู่ความสำาเร็จตาม เป้าหมายและกิจกรรมต่าง ๆ นั้น มักจะเกี่ยวข้องกับ การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล นิวต์แมน และ ซัมเมอร์ ( Newman and Summer, 1964 : 9 ) การบริหาร คือ การดำาเนินงานร่วมกันของคณะ บุคคล ซึ่งเป็นกลุ่มผูบริหารขององค์การในส่วนที่เกี่ยว ้ กับการวางแผน การจัดตั้งองค์การ การจัดคนเข้า ทำางาน การสั่งการ และการควบคุมกิจกรรม ให้ ดำาเนินไปตามนโยบายจนบรรลุวัตถุประสงค์ของ องค์การทีวางไว้อย่างประหยัด และมีประสิทธิภาพ ่ ที่สุด พงศ์ศรีโรจน์ (2537 : 14) การบริหารหรือการจัดการ คือ กระบวนการอย่าง หนึ่งภายในองค์การซึ่งมีลำาดับการทำางานเป็นขั้นตอน มีกลุ่มบุคคลเป็นกลไกสำาคัญในการบริหารงาน มีเงิน ทุน เครื่องจักร และวัสดุครุภัณฑ์ต่าง ๆ เป็นองค์ ประกอบ ธีรวุฒิ บุณยโสภณ และวีรพงษ์ เฉลิมจิระ วัฒน์ (2537 : 12 การบริหาร หมายถึง การใช้ทรัพยากรของ องค์การเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการโดยผ่านการ วางแผน (Planning) การจัดสรรทรัพยากรมนุษย์
  • 3. (Staffing) การนำา (Leading) และการควบคุมกำากับ (Controlling) (การจัดการศูนย์สารสนเทศ อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข ) จากความหมายดังที่กล่าวมา สามารถสรุปโดยรวมได้วา การ ่ บริหาร หมายถึง กระบวนการหรือวิธีการที่ทำาให้องค์กรหรือหน่วย งานสามารถบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ โดยการควบคุมและดูแล ทรัพยากรต่างๆ ในองค์กรให้ดำาเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ ให้ เกิดประสิทธิผล บรรลุเป้าหมาย ห้องสมุด หรือ Library คือ สถาบัน หน่วยงาน หรือแหล่ง รวมวัสดุสารนิเทศเอาไว้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ผู้ใช้สืบค้นและเข้าถึง สารสนเทศได้มากขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า โดยมีการ คัดเลือก จัดหาให้สอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของผู้ ใช้ มีการจัดที่เป็นระบบโดยบรรณารักษ์วิชาชีพ ซึ่งมีความรู้ทาง ด้านบรรณารักษศาสตร์ เป็นผูบริหารและดำาเนินการ และจัดให้ ้ บริการอย่างมีระบบ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540: 17) สำาหรับศูนย์สารสนเทศ หรือ Information Center นั้น มี ต้นกำาเนิดมาจากความต้องการของผูใช้บริการที่ต้องการ ้ สารสนเทศที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น “เป็นหน่วยงานให้บริการ สารสนเทศเฉพาะเรื่อง ให้แก่ผู้ใช้เฉพาะกลุ่มหรือ เฉพาะหน่วย งานนั้น เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย แพทย์ นักวิชาการเกษตร ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารสนเทศมีลักษณะคล้ายห้องสมุดเฉพาะ ผู้ใช้มักมาใช้ สารสนเทศที่รวบรวมไว้เพื่อการค้นคว้า การวิจย และั การปฏิบัติงานของหน่วยงาน ทีมีศูนย์เอกสารนั้นโดยตรง เช่น ่ ข้อมูลด้านการวิจัย ตัวเลข สถิติ สาระสังเขปและ ดัชนี วารสาร เฉพาะวิชา ศูนย์สารสนเทศหลายแห่งจัดตั้งขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของ ห้องสมุด ของสถาบันนั้นเอง” (ครรชิต มาลัยวงศ์ และคนอื่น ๆ. 2537 : 84 - 85) ดังนั้น การบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงหมายถึง กระบวนการควบคุมการปฏิบัติงานห้องสมุดต่างๆ ที่เกิดจากกการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ โดยการ รู้จักใช้ทรัพยากรต่างๆในองค์กร เช่น ทรัพยากรบุคคล งบ ประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีต่างๆ เป็นต้น ให้เกิด ประโยชน์ในการให้บริการแก่ผู้ใช้ ให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึง สืบค้น และใช้ข้อมูลสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็นเป้าหมาย สูงสุดของงานห้องสมุด
  • 4. ปัจจุบันเทคโนโลยีทนำามาใช้ในงานห้องสมุดและศูนย์ ี่ สารสนเทศได้พัฒนาขึ้นอย่างมาก ที่กำาลังเป็นที่นิยม และได้รับ ความสนใจมากที่สุดคือ Web2.0 และ Library2.0 ในแวดวงห้อง สมุดและศูนย์สารสนเทศ คุณลักษณะสำาคัญของ web2.0 คือ ลักษณะเว็บไซต์ที่ส่งเสริมให้เกิดการแบ่งปันข้อมูล มีผู้ใช้หลาย คนเป็นกำาลังผลักดันให้เว็บไซต์เกิดการพัฒนา มีการโต้ตอบกัน ระหว่างผู้ให้บริการและผูใช้ และการส่งข้อมูลอย่างรวดเร็วโดยที่ ้ ไม่ต้องผ่านเซิร์ฟเวอร์ ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงต้องให้ ความสนใจและนำาเอาหลักการและเทคโนโลยีดังกล่าวเข้ามาใช้ เพื่อความทันสมัย และตอบสนองต่อรูปแบบความต้องการของผู้ ใช้ที่เปลี่ยนไป โดยการคงสายงานหลักๆไว้ แต่ปรับเปลียนวิธีและ ่ เครื่องมือในการทำางาน การการเปลียนแปลงย่อมนำามาซึงผลกระ ่ ่ ทบทั้งด้านบวกและลบ และการที่จะบรรลุเป้าหมายที่ได้วางไว้ การบริหารถือเป็นองค์ประกอบสำาคัญ กระบวนการของงานบริหารและขอบเขตของงาน บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ “การบริหารมีลักษณะที่เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์” (การบริหาร เล่มแดง หน้า٢٧) คือ การมีแนวคิด และระบบกระบวนการต่างๆ เพื่อกำาหนดขึ้นเป็นทฤษฎีหรือนโยบาย จากนั้นจึงนำาทำาทฤษฎี หรือนโยบายดังกล่าวมาใช้ปฏิบัติ ให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้ง ไว้ ทังนี้แนวทาง วิธี หรือทฤษฎีดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับวิสัย ้ ทัศน์ วัตถุประสงค์ขององค์กรที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศนั้น สังกัดอยู่ ผู้บริหารต้องศึกษาและทำาความเข้าใจในงานต่างๆ ภายในองค์กรคือห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศอย่างถ่องแท้ ว่ามี งานอะไรบ้าง ลักษณะงานเป็นอย่างไร เพื่ออะไร มีวิธีดำาเนินงาน อย่างไร มีความสัมพันธ์กันงานใดอีกบ้าง ปัญหาที่มักเกิดจะ สามารถแก้ไขได้อย่างไร นอกจากนี้ผู้บริหารควรจะคำานึงถึง ขอบเขตของงานบริหารงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศว่า เกี่ยวข้อง หรือครอบคลุมในเรื่องใดบ้าง เพื่อใช้ประกอบการวาง นโยบาย หรือวิธีการควบคุมดูแล และวางมาตรการในการป้องกัน และแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น รวมไปถึงการประเมินการทำาดำาเนิน งานทั้งระหว่างดำาเนินงาน และผลลัพธ์ที่ได้ ซึ่งมีกระบวนการ และ ขอบเขตของงานในหลายด้านด้วยกัน มีนักวิชาการหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหน้าที่หรือ กระบวนการบริหารไว้หลายแนวทาง แต่แนวความคิดที่แพร่หลาย
  • 5. ที่สุดเป็นแนวความคิดของนักธุรกิจชื่อ Luther Gulick และ Lyndall Urick (หลักการบริหาร٣٢) กระบวนการบริหารตามแนว ความคิดนี้ ได้ระบุกระบวนการต่างๆ ไว้ ٧ ข้อด้วยกันคือ การ วางแผน(Planning) การจัดการองค์การ(Organizing) การจัดคน เข้าทำางาน(Staffing) การสั่งการ(Directing) การประสาน งาน(Co-ordinating) การรายงาน(Reporting) และการงบ ประมาณ(Budgeting) ซึ่งมีรายละเอียดของกระบวนการแต่ละขั้น ตอนในงานบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศดังนี้ 1. การวางแผน(Planning)1 คือ หน้าที่ของการจัดการ เกี่ยวข้องกับการกำาหนด วัตถุประสงค์ นโยบาย พันธกิจ วิสัยทัศน์ แผนงานโครงการ และ กำาหนดกลยุทธ์สำาหรับการปฏิบัติงานและ ทรัพยากรให้เกิด ประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทได้ตั้งไว้ โดยการ ี่ วางแผนนี้ต้องสอดคล้อง และส่งเสริมวัตถุประสงค์ หรือเป้าหมาย ขององค์กร หรือของหน่วยงานที่สังกัดอยู่ และตอบสนองบทบาท หน้าที่ของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศที่มุ่งให้ผู้ใช้ได้ใช้ ประโยชน์จากทรัพยากรและบริการหลากหลายทีมี สำาหรับการ ่ ศึกษาค้นคว้า อย่างมีทักษะ หรือการรู้สารสนเทศ เพื่อนำาไปสู่การ สร้างนวัตกรรมในสังคมแห่งการเรียนรู้ (การบริหารห้องสมุดยุค ใหม่, 2548: 126) การวางแผนจะต้องมีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุงหรือ เปลียนแปลงได้เสมอ ในกรณีที่เมื่อประเมินแล้วการดำาเนินงานมี ่ จุดบกพร่อง ไม่บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ซึงผู้บริหารสามารถใช้ ่ เครื่องมือทางการบริหาร เช่น TQM BSC มาปรับใช้กับงานบริหาร ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพได้ 2. การจัดการองค์กร (Organizing) หมายถึง การกำาหนด กิจกรรมต่างๆในห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศ โดยแยกเป็นกลุ่มๆ ตามลักษณะงานที่เหมือนกัน ซึ่งอาจแยกเป็นแผนก กอง ฝ่าย เป็นต้น แต่การจัดองค์กรนั้น จะ 1 การวางแผน(Planning) แบ่งออกได้เป็น ٢ ประเภท คือ ١. แผน กลยุทธ์ หรือ แผนแม่บท เป็นแผนที่ กำาหนดทิศทาง และเป้าหมายการทำางาน ٢. แผนปฏิบัติการ หรือแผน ประจำาปี เป็นแผนสำาหรับการปฏิบัติงานให้เกิดผลตามเป้าหมาย เป็นแผน ปฏิบัติการเฉพาะเรื่อง ส่วนใหญ่มีกำาหนดระยะเวลา ١ ปี
  • 6. ต้องศึกษาถึงลักษณะงานทั้งหมดก่อน เพื่อกำาหนดกลุ่มงานให้ ครอบคลุม และครบถ้วน การจัดองค์กรเป็นการกำาหนดว่าแต่ละส่วนงานจะมีหน้าทีรับ่ ผิดชอบงานในเรื่องใด ควรอยู่ภายใต้สิ่งแวดล้อมใด ใช้วัสดุ อุปกรณ์ใดบ้าง งานสัมพันธ์กับกลุ่มงานใด ถือเป็นการป้องกัน ความสับสน ซำ้าซ้อนในการทำางาน และถือเป็นการประหยัดงบ ประมาณในกรณีที่แต่ละกลุ่มงานสามารถใช้สถานที่ วัสดุ และ อุปกรณ์ร่วมกันได้ ในการจัดองค์กรในห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศสามารถจัดแบ่งได้ โดยพิจารณาตามลักษณะงานดัง ต่อไปนี้ 1. ตามลักษณะการให้บริการ เช่น บริการให้ยืม บริการ แนะนำาการอ่าน เป็นต้น 2. ตามลักษณะของผู้รับบริการ เช่น บริการสำาหรับเด็ก บริการสำาหรับผู้พิการ เป็นต้น 3. ตามกระบวนการทำางาน เช่น แผนกคัดเลือก แผนก จัดซื้อ แผนกวิเคราะห์และทำารายการ เป็นต้น 4. ตามลักษณะหน้าที่หรือประเภทของงาน เช่น แผนก งานบุคคล แผนกการเงิน เป็นต้น 5. ตามตำาแหน่งที่ตั้งทำาการ เช่น ห้องสมุดกลาง ห้อง สมุดประชาชน เป็นต้น 6. ตามช่วงเวลาทำาการ เช่น บริการภาคเช้า บริการ ภาคคำ่า เป็นต้น ในการจัดองค์กรนี้สามารถนำาเสนอเป็นแผนผังโครงสร้าง องค์กรได้ เพื่อให้เห็นภาพทั้งหมดของงานและตรวจสอบได้วาที่มี ่ อยู่ครบถ้วนหรือไม่ บุคลากรทำาความเข้าใจกับสายงานได้วาตนอยู่ ่ ภายใต้บังคับบัญชาของใคร นอกจากนี้ยังส่งผลดีต่อการคิดค้น พัฒนาเทคนิค หรือวิธี หรือเทคโนโลยี หรือนวัตกรรมใหม่ต่างๆ อันจะเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน 3. การจัดคนเข้าทำางาน (Staffing) หมายถึง การสรรหา คัด เลือกบุคคลเข้าทำางานให้ เหมาะสมกับงาน ดังวลีที่วา “Put the right man in the right ่ job” เพื่อให้การทำางานบรรลุผลที่ได้ตั้งไว้ ทรัพยากรมนุษย์ คือผู้ ทีใช้งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ ดำาเนินงานตามแบบแผนที่ได้สร้าง ่ ขึ้น ซึ่งจะประสบผลสำาเร็จและบรรลุเป้าหมายหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับ
  • 7. ว่าหน่วยงานหรือองค์กรนั้นมีทรัพยากรบุคคลที่มีความสามารถ และประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด ฉะนั้นจึงมีวัตถุประสงค์ในการ บริหารงานบุคคลคือ “บริหารเพื่อให้หน่วยงานมีคณะผู้ทำางานที่มี ความรู้ความสามารถ ใช้พลังงานของพวกเขาปฏิบัติงานแก่หน่วย งานอย่างมีประสิทธิภาพได้นานที่สุด โดยหน่วยงานและบุคคล ต่างได้รับผลประโยชน์รวมกัน” (หลักการบริหารงานห้องสมุด สี ่ แดง) ในการบริหารงานบุคคลในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศมี รายละเอียด ประกอบด้วย การวางแผน การวางแผนในด้านงานบุคคลจะเป็นเรื่องเกี่ยว กับการกำาหนด คุณลักษณะของบุคลากรที่จะรับเข้าทำางาน ให้ สอดคล้องกับความต้องการของ งานแต่ละแผนก เลือกวิธีการสรรหาเพื่อให้ได้บุคลากร ตามที่ต้องการ ซึ่งการวางแผนด้านบุคลากร จะต้องคำานึงถึงขอบเขต ความรับผิดชอบ และความสามารถของบุคลกรที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน ความเหมาะสมของปริมาณงานที่ได้รับ และพิจารณา ว่างานนั้นๆ ต้องการจำานวนบุคลากรเท่าไรจึงจะเหมาะ สม 1. การกำาหนดตำาแหน่งและเงินเดือน การกำาหนดตำาแหน่งและเงินเดือนจะพิจารณา จากงานในห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศว่าเป็นงานลักษณะใด ต้องการ บุคลากรที่มีความรู้ระดับ ไหน ควรให้ค่าตอบแทนเท่าใดจึงจะเหมาะสม และ จะมีการสรรหา พัฒนา และ ประเมินผลงานบุคลากรอย่างไรในการใช้ประกอบการ พิจารณาตำาแหน่งและเงินเดือน ซึ่งจะส่งผลดีต่อการ จูงใจให้บุคลากรพัฒนาศักยภาพและการทำางาน รวม ไปถึงการจูงใจให้บุคลากรทำางานให้องค์กรต่อไป เมื่อ รู้สึกพอใจกับความก้าวหน้าของตำาแหน่งงานและเงิน เดือนที่รับ 2. การสรรหาคนเข้าทำางาน
  • 8. การสรรหาคนเข้าทำางานจะทำาตามแผนที่ได้ วางไว้ สามารถทำาได้ ٢ วิธี คือ การสรรหาอย่างเป็นทางการ หรือการประกาศ รับสมัคร คัดเลือกตามระเบียบและขั้นตอนของการรับ สมัคร และการสรรหาอย่างไม่เป็นทางการ เช่น การจัด บรรยายเพื่อให้ผู้ที่สนใจเจ้ามาสมัครงาน หรือรับ ฝึกงานห้องสมุด เป็นต้น 3. การคัดเลือกและบรรจุตำาแหน่ง การคัดเลือกและบรรจุตำาแหน่ง โดยทัวไปจะทำา ่ ตามระเบียบและขั้นตอน โดยเฉพาะในงานราชการ หรือถ้าเป็นหน่วยงาน เอกชน ก็จะขึ้นอยู่กับระเบียบ ภายในหน่วยงานนั้นๆ 4. การมอบหมายงาน การมอบหมายงานจะรวมไปถึงการปฐมนิเทศเพื่อ ทำาความเข้าใจเรื่อง ขอบเขตงาน หน้าที่ความรับผิดชอบ งานที่ต้องทำา อุปกรณ์ที่มี และอาจมีคู่มือใน การปฏิบัติงาน เพื่อให้ผู้เริ่มปฏิบัติงานทำาความคุ้นเคย กับงาน สถานที่ และเพื่อน ร่วมงาน 5. การฝึกอบรม การฝึกอบรมสามารถเริ่มทำาได้ตั้งแต่ระยะแรก ของการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจ ทำาโดยวิธีอธิบายรายละเอียดของงาน รวมไปถึงการ สาธิตวิธีปฏิบัติจริง ซึ่งบาง แห่งอาจทุ่นเวลาด้วยการให้คู่มือปฏิบัติงานแทน ส่วนการอบรมที่เป็นการเพิ่มพูน ความรู้และทักษะหลังจากการเข้าทำางานนั้น สามารถทำาได้โดย ٦.١. การฝึกอบรมระยะสั้น หรือการบรรยาย พิเศษเพื่อให้ความรู้ เกี่ยวกับงานทีปฏิบัติ ที่จัดขึ้นเองภายใน ่ หน่วยงานและ หน่วยงานอื่นเป็นผู้จัดขึ้น ถือเป็นการ เพิ่มพูนความรู้ และพัฒนา
  • 9. บุคลากร 6.2. การฝึกอบรมเพื่อการหมุนเวียนการ ปฏิบัติงาน เป็นการ ขยายความรู้ ความเข้าใจ และความ สามารถของบรรณารักษ์ให้ สามารถปฏิบัติงานได้ทุกๆงาน เพื่อ ป้องกันความจำาเจ และ ป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในกรณีมีการ ขาดงาน ซึง ่ บรรณารักษ์ท่านอื่นสามารถปฏิบัติงาน แทนบรรณารักษ์ท่านนั้นได้ ให้งานไม่หยุดชะงัก อีกทั้งยังถือ เป็นการแลกเปลียนความรู้ และ ่ ทักษะจากการปฏิบัติงานจาก บรรณารักษ์ท่านหนึ่งสู่อีกหลายๆท่าน ที่จะมีกลวิธีที่ส่งเสริมให้เกิดการแลก เปลียนความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ่ สูงสุดคือ การทำา KM และ LO2 ٧. การจัดการด้านระเบียบวินัย การจัดการด้านระเบียบวินัยเริ่มจาการตั้งกฎ ระเบียบในการทำางาน เพื่อ ควบคุมความประพฤติ และปฏิบัติ เพื่อให้การปฏิบัติ งานเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย และถูกต้อง ٨. การประเมินผล สาเหตุที่จำาเป็นต้องมีการประเมินผล คือ เพื่อ วัดความสามารถในการปฏิบัติงานของบุคคล ทังในด้าน ้ ปริมาณและคุณภาพของงาน และใช้ประกอบการ พิจารณาเลื่อนตำาแหน่งและเงินเดือนของผู้บริหาร นอกจากนี้ยังเป็นการประกันคุณภาพแก่ผู้ใช้และสังคม ภายนอกว่า การทำางานของบรรณรักษ์และบุคลากรใน ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศแห่งนี้มีมาตรฐาน และได้รับ การพัฒนาอยู่ตลอดเวลา อย่างไม่หยุดนิ่ง ซึ่งการประเมิน 2 จะกล่าวถึงรายละเอียดของ KM และ LO ภายใต้หัวข้อ รูปแบบการ บริหารงานและองค์กร หน้า...
  • 10. ผลนี้สามารถทำาได้หลายวิธี เช่น “การให้ผู้ปฏิบัติรายงาน ผลด้วยวาจา หรือการเขียนรายงานสรุป การตอบแบบ ประเมินผลงาน” เป็นต้น (หลักการบริหารงาน เล่มแดง หน้า ٢٩) ในการประเมินผลนี้ มีเครื่องมือที่เป็นที่นิยม คือ SWOT Analysis ทีใช้ในการกำาหนดจุดแข็งและจุด ่ อ่อนภายขององค์กร โอกาสและอุปสรรคจากสภาพ แวดล้อมภายนอกที่จะมีผลต่อการทำางาน SWOT เป็นตัวอักษรที่ย่อมาจากคำาต่อไปนี้ S Strengths จุดเด่นหรือจุดแข็งของ สภาพแวดล้อมใน องค์กร W Weaknesses จุดอ่อน ของสภาพ แวดล้อมในองค์กร O Opportunities ปัจจัยภายนอกที่ จะส่งผลดีต่อองค์กร T Treats ข้อจำากัดจากภายนอกที่มี ผลต่อองค์กร SWOT จะใช้ประเมินทรัพยากรในองค์กร (4M และ 6M) เพื่อประโยชน์ในกระบวนการบริหารในการหา จุดดี จุดบกพร่อง และปัจจัยต่างต่างทีที่จะมีผลต่อการ ่ บรรลุเป้าหมายขององค์กร นอกจากนี้ยังมีตัววัดประเมินที่สำาคัญอีกตัวคือ KPI ٩. การจูงใจ การจูงใจเป็นการทำาผูปฏิบัติงานรู้สึกถึงความ ้ ปลอดภัย มั่นคง ความก้าวหน้า รูสึกว่าเป็นที่ชื่นชมเคารพ ้ นับถือ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการทำางานด้วยความตั้งใจและ เต็มความสามารถ กระตือรือร้น รักงานและสถานที่ทำางาน สามรถทำาได้หลายวิธี เช่น การให้รางวัลหรือค่าตอบแทน เพื่อทำางานใดงานหนึงสำาเร็จ การให้เงินตอบแทนประจำาปี ่
  • 11. เงินตอบแทนเมื่อออกจากงาน หรือสวัสดิการ3ต่างๆ เป็นต้น ในยุค Library 2.0 สิ่งที่ผู้บริหารงานห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศจะต้องคำานึงถึงมากที่สุดในด้านบุคลากร คือ การสร้าง ความสัมพันธ์และความเป็นไปได้ในการใช้เทคโนโลยีททันสมัย ี่ และแปลกใหม่ กับตัวบุคลากรที่ยงคงเคยชินกับการปฏิบัติงานใน ั รูปแบบ วิธี และอุปกรณ์เดิม ยกตัวอย่างเช่น บรรณารักษ์แผนก การให้เลขหมู่ ซึ่งยังไม่เห็นความสำาคัญว่า Web2.0 หรือ Library2.0 จะสามารถนำามาปรับหรือประยุกต์ใช้ในการให้เลขหมู่ ได้อย่างไร มีประโยชน์หรือช่วยส่งเสริมประสิทธิภาพการทำางาน อย่างไร หรือแม้แต่ปัญหาที่มักพบโดยทั่วไป คือ ปัญหาที่คนและ เทคโนโลยีก้าวไม่ทันกัน พัฒนาไม่ทันกัน ดังจะเห็นได้จากเจ้า หน้าที่ในสำานักงานทัวๆไป ทียังขาดทักษะ และประสบการณ์ใน ่ ่ การใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสาร สิ่งเหล่านี้ลวนแต่้ ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ต่อต้าน และทัศนะคติด้านลบในการ ทำางาน อันส่งผลต่อการปฏิบัติงาน และคุณภาพผลงานที่ออกมา ดังนั้น ผู้บริหารจะต้องศึกษาลักษณะของงานห้องสมุดแต่ละงาน ทำาความเข้าใจให้ลึกซึ้ง เล็งเห็นถึงจุดอ่อนของวิธีการปฏิบัติงาน แบบเดิม แล้วศึกษารายละเอียดเทคโนโลยีใหม่ๆ ว่ามีข้อดีที่ สามารถนำามาแก้ไขข้อบกพร่องของวิธีการทำางานแบบเดิมได้ อย่างไร แล้วทำาการชี้แจงให้บรรณารักษ์หรือผู้ใต้บังคับบัญชาเห็น จริงตามนั้น หรือจัดการอบรม ให้ความรู้เฉพาะเรื่อง นอกจากนี้ยังรวมไปถึงปัญหาที่เกิดจากปัจจัยภายนอกต่างๆ เช่น นโยบายภาครัฐที่ต้องการลดจำานวนบุคลากร ทำาได้การบรรจุ คนเข้าทำางานในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของห้องสมุดเป็นไป ได้ยาก ผู้บริหารจึงต้องมีวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ดังเช่นรายงาน การวิจัย การศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานบริการห้อง สมุดมหาวิทยาลัยในกลุ่มประเทศอาเซียน พบกว่าห้องสมุดใน กลุ่มประเทศเหล่านี้สวนใหญ่ได้เพิ่มแผนกงานจัดการเทคโนโลยี ่ สารสนเทศขึ้นเนื่องจากปัจจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ก้าวหน้ามาก ซึ่งบุคลากรทีรับผิดชอบการบริหารจัดการ ่ 3 สวัสดิการ หมายถึง ผลประโยชน์ต่างๆที่หน่วยงานจัดให้ พนักงานของตน ผลประโยชน์ดังกล่าวอาจเป็นเงินที่นอกเหนือ จากค่าจ้างปกติที่หน่วยงานจัดให้ เช่น การช่วยเหลือเนื่องมาจาก อุบัติเหตุ วันลาพัก เป็นต้น Beach Dale (1971)
  • 12. เทคโนโลยีสารสนเทศส่วนใหญ่เป็นบุคลากรในตำาแหน่ง บรรณารักษ์ โดยส่วนใหญ่มีการกำาหนดชื่อตำาแหน่งว่า “ บรรณารักษ์งานระบบ”(ประไพ จารุทวี และคณะ ٨٠-٧٩ ,٢٥٤١ อ้างถึงใน บรรณารักษ์งานระบบ (Systems Librarian): บุคลากร ห้องสมุดในยุคดิจิทัล ฐิติมา หิรัญเวชยางกูร โมทัศน์ ปี٢٢ ฉ٢ ก.ค.-ธ.ค.٢٥٤٤ ) ٤. การการสั่งการ (Directing) เป็นขั้นตอนที่ผู้บริหารสั่งการ หรือมอบหมายงานให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงาน ให้บรรลุผลที่ได้ตั้งไว้ ซึ่งการสั่งงานนี้ ต้องชัดเจนและเข้าใจง่าย การจัดทำาระเบียบ หรือคู่มือจะช่วยให้ ดำาเนินงานตามต้องการได้ดียิ่งขึ้น เช่นระเบียบการเบิก-จ่ายเงิน เป็นต้น นอกจากนี้การสั่งการยังหมายถึงการควบคุม เพื่อให้เกิด การทำางานตามปริมาณและคุณภาพที่ต้องการ ตามเวลาที่กำาหนด และภายในงบประมาณที่ตั้งไว้ 5. การประสานงาน (Co-ordinating) การประสานงานเป็นกระ บวนการให้ ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเข้าใจร่วมกัน แม้จำาทำางานแยกจากกันตาม หน้าที่ ให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ประสบผลสำาเร็จร่วมกัน สร้าง ความสัมพันธ์ระหว่างคนในแผนกเดียวกัน และต่างแผนก เป็นการ ให้ความรู้และความเข้าใจในหน้าที่และบทบาทของคนทำางานใน แผนกเดียวกันและต่างแผนก ทำาให้บุคลากรเข้าใจบทบาทของตน ต่อองค์กร ทำาให้เกิดความร่วมมือ การประสานงานนั้นอาจกล่าวได้ อีกทางหนึงว่าคือการสื่อสาร ซึ่งจำาแนกออกเป็นประเภท และมี ่ รายละเอียดแตกต่างกันไปดังต่อไปนี้ การสื่อสาร คือ การส่งข่าวสารจากบุคคลหนึ่งไปยังบุคคลหนึ่ง หรือหลายคน เพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกัน ซึ่งการสื่อสารนี้อาจ อยู่ในรูปการพูด อ่าน เขียน และแสดงท่าทาง การสื่อสารของ องค์กรแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. การติดต่อสื่อสารภายใน หรือการติดต่อระหว่างบุคคล ภายในสำานักงานเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์ให้บุคลากรใน สำานักงานทราบข่าวความเคลื่อนไหว เพื่อการชี้แจง นโยบาย กฎ ระเบียบให้เข้าใจตรงกัน หรือร่วมกันแสดง ความคิดเห็น ซึ่งจุดนี้ตรงกับคุณสมบัติของ Library2.0 และ Web2.0 ซึ่งจะได้กล่าวถึง Tools ของ Web2.0 ด้าน การติดต่อสื่อสารในแง่การบริหารต่อไป
  • 13. 2. การติดต่อสื่อสารภายนอก คือการติดต่อสื่อสารกันระหว่าง สำานักงานกับบุคคลภายนอก เพื่อเผยแพร่ข่าวสารให้เกิด ความเข้าใจในกิจการ ทังที่ยังหมายความถึงการโฆษณา ้ ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศตามหลักการบริหารยุคใหม่ ซึ่งหากเกิดข้อผิดพลาดจะทำาให้เสียความเชื่อถือจาก บุคคลภายนอก การสื่อสารถือเป็นเครื่องมือสำาคัญในการบริหารงาน ช่วย ให้เกิดความเข้าใจระหว่าง ผู้บริหารและบุคลากร สร้างความสัมพันธ์อันดีอันจะส่งผลดีต่อการ ปฏิบัติงาน ฉะนั้นรูปแบบ และวิธีการบริหารจึงเป็นองค์ประกอบ สำาคัญที่จะส่งผลต่อประสิทธิผลของการประสานงาน ดังนั้นการ สื่อสารจึงได้รับความสนใจ และพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีเป็น อย่างมาก ผู้บริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจึงต้องศึกษา เทคโนโลยีใหม่เหล่านี้ แล้วพิจารณาปรับใช้กับงานในห้องสมุด รวมไปถึงจูงใจและแสดงให้เห็นข้อเด่นแก่บุคลากร 6. การรายงาน (Reporting) เป็นการรายงานต่อหน่วยงานที่ สังกัด เพื่อรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงาน ตลอดจนกิจกรรมภายใน และบุคลากรในหน่วยงาน การปฏิบัติงานและผลงาน เพื่อเป็นการ สร้างหลักฐาน เพื่อเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงานและใช้ประกอบ พิจารณางานอื่นๆต่อไป 7. การงบประมาณ (Budgeting) หน้าที่ทางด้านการเงินของผูบริหารห้องสมุดและศูนย์ ้ สารสนเทศส่วนใหญ่เป็นเรื่องการควบคุม และอนุมัติการใช้จาย ่ เงินซึ่งได้รับจัดสรรมาจากฝ่ายบริหารของหน่วยงานหลัก ตาม แผนการเงินที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศได้จัดทำาเสนอฝ่าย บริหารไว้ ต่อไปนี้จะขอให้รายละเอียดเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของ ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ รายได้ ประกอบด้วย ١. เงินงบประมาณ4 คือ เงินที่ได้รับการจัดสรร จากองค์การหรือหน่วยงาน ตามแผนที่ได้กำาหนดล่วงหน้าและได้รับการ พิจารณาอนุมัติจากฝ่าย 4 เงินงบประมาณ โดยทั่วไปมีกำาหนดช่วงละ ١٢ เดือน เรียกว่าปีงบประมาณ
  • 14. บริหารขององค์การหรือ หน่วยงาน มีช่วง เวลาเป็นเครื่องกำาหนดบังคับใช้ จะได้รับมากน้อยขึ้นอยู่กับราได้หลักของ หน่วยงาน นโยบายการบริหาร สภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองในขณะ นั้นๆ ٢.เงินทีได้รับจากการปฏิบัติหน้าที่ ซึ่ง ่ กำาหนดไว้ในข้อตกลงระหว่าง ห้องสมุดกับผู้ใช้บริการ เช่น เงินค่าสมัคร สมาชิกประจำาปี เงินค่าปรับเมื่อ หนังสือสูญหายเป็นต้น ٣.เงินทีได้รับจากการบริการหรือกิจกรรม ที่ ่ เกิดจากความต้องการของ ผู้ใช้ เช่น ค่าบริการสำาเนาเอกสาร ค่าแปล เอกสาร เงินบริจาค อุดหนุน เป็นต้น รายจ่าย ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศจะมีรายจ่ายใน ด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ทีจ่าให้แก่ ่ บุคลากรประจำา หรือผู้ช่วย ปฏิบัติงานชั่วคราว 2. ค่าจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ต่างๆ ในการ ปฏิบัติงาน 3. บำารุงและสร้างสถานที่ รวมไปถึงวัสดุครุภัณฑ์ และอุปกรณ์ต่างๆ 4. ค่าสาธารณูปโภค 5. ค่าพาหนะติดต่อ 6. ค่าใช้จ่ายในการประชาสัมพันธ์ 7. ค่าพิธีการ การรับรอง 8. ค่าบำารุงกิจการต่าง เพื่อประโยชน์ของงาน ห้องสมุด ในการจัดเตรียมงบประมาณนั้น ผู้บริหารจะต้องดำาเนิน การด้วยความรอบคอบ มองเห็นแผนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมไปถึงมาตรการควบคุมการใช้จ่ายทีมีประสิทธิภาพรัดกุม เพื่อ ่ ให้การใช้งบประมาณหรือเงินรายได้ของห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศให้เกิดให้เป็นไปตามวงเงินที่ได้รับอนุมัติ เกิด
  • 15. ประสิทธิภาพสูงสุดและป้องกันข้อผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น โดยการ จัดเตรียมงบประมาณนั้นต้องพิจารณาคู่มือในการจัดเตรียมงบ ประมาณ อัตราค่าใช้จ่ายในแต่ละด้าน พระราชบัญญัติต่างๆที่ เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงดำาเนินการจัดเตรียมแผนงบประมาณเพื่อนำา เสนอต่อฝ่ายบริหารขององค์กร ในการขออนุมัติเห็นชอบจากฝ่ายบริหารขององค์กรนั้น เนื่องจากห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศเป็นองค์กรทีให้บริการแบบไม่หวังผลกำาไรหรือค่า ่ ตอบแทน เงินรายได้ส่วนใหญ่ของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ จึงมีที่มาจากเงินสนับสนุนจากหน่วยงานหลัก ดังนั้นหน้าที่สำาคัญ ของผู้บริหารจึงเป็นการหาวิธีเพื่อให้ได้รับการสนับสนุนทางการ เงินจากฝ่ายบริหารที่อยู่เหนือขึ้นไป ซึงหากเป็นหน่วยงานของ ่ ภาครัฐ จะมีเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณแผ่นดินประกอบการ อนุมัติงบประมาณ ทั้งนี้ผู้บริหารของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ จะต้องนำาเสนอ และทำาความเข้าใจถึงภาระหน้าที่ที่สำาคัญของ ห้องสมุดหรือศูนย์สารสนเทศนั้นๆ ที่จะสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้น แก่หน่วยงานหลัก และผู้ใช้อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ซึ่งหากผู้บริหาร สามารถดำาเนินการในเรื่องนีได้ ด้วยการสร้างภาพลักษณ์ที่ดี และ ้ นำาเสนอผลประโยชน์ที่ทางฝ่ายบริหารจะได้รับจากงานห้องสมุด และศูนย์สารสนเทศ จนฝ่ายบริหารเกิดความสนใจและให้ความ สำาคัญกับงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ การของบประมาณ หรือเงินสนับสนุนจะมีโอกาสเป็นไปได้สูง นอกจากนี้ในเรื่องการบริหารเงินรายได้และงบประมาณของ ห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศ ยังต้องพิจารณาถึงการแสวงหาความร่วมมือ ระหว่างสถาบันหรือหน่วยงานประเภทเดียวกัน เช่น ภาคีห้องสมุด เนื่องจากเองงบประมาณนั้นผู้บริหารต้องคำานึงถึงว่าไม่สามารถได้ รับการสนับสนุนตามทีได้ขออนุมัติไปทั้งหมด ดังนั้นการแสวงหา ่ ความร่วมมือ เพื่อประโยชน์ในการทุ่นเวลาและงบประมาณในงาน บางด้านจึงถือเป็นวิธีอันชาญฉลาดอย่างหนึ่งในการประหยัดงบ ประมาณไว้ใช้จ่ายในส่วนอื่นที่สำาคัญกว่า รูปแบบการบริหารงานและองค์กร ในการบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ วัตถุประสงค์ของ การบริหารคือ จะบริหารจัดการอย่างไร ให้เกิดประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล เพื่อตอบสนองความต้องงการของผู้ใช้ให้มากที่สุด รูปแบบการบริหารองค์กรจึงเป็นสิ่งสำาคัญที่ผู้บริหารควรพิจารณา
  • 16. และคัดเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับองค์ประกอบ และสภาพ แวดล้อมของห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศมากที่สุด การบริหารบริหารห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศโดยปกติจะใช้ หลักการบริหารองค์กรทั่วไป ซึงมีทรัพยากรพื้นฐานสำาคัญคือ 4M ่ คือ Man Machine Material Money และปัจจุบันได้มีการขยาย ปัจจัยออกไปเป็น ٦M โดยเพิ่ม Management และ Morale เข้าไป ทรัพยากรทั้ง ٦ ตัวนี้จะมีความสัมพันธ์ และทำางานร่วมกัน เพื่อบรรลุเป้าหมายอันเดียวกัน นอกจากนียังมีรปแบบการบริหาร ้ ู อีกหลายรูปแบบที่ผู้บริหารสามารถเลือกมาใช้ให้เหมาะสม และ ทำาให้การทำางานประสบผลสำาเร็จยิ่งขึ้น 1. รูปแบบการบริหารแบบรวมอำานาจ (Centralization) หมายถึงระบบการบริหารทีรวมศูนย์อำานาจอยูที่ผู้บังคับ ่ ่ 5 บัญชา หรือหน่วยงานหลัก เพียงจุดเดียว (การบริหาร ห้องสมุดยุคใหม่กับไอที ٨٨) และมีการบังคับบัญชากัน ตามสายงานลดหลั่นกันไปตามลำาดับ เช่น การที่ห้อง สมุดสาขาในมหาวิทยาลัยขึ้นตรงต่อห้องสมุดกลางซึ่งมี อำานาจในการควบคุมห้องสมุดสาขา เป็นต้น ลักษณะ การรวมการปกครอง คือ จะมีการรวมอำานาจวินิจฉัยสั่ง การไว้ที่ส่วนกลางโดยมอบอำานาจการสั่งการวินิจฉัยให้ แก่เจ้าหน้าที่ชั้นสูงของหน่วยงานหลัก หรือมอบอำานาจ ในการวินิจฉัยสั่งการได้เป็นบางเรื่อง แต่อำานาจวินิจฉัย ชี้ขาดที่สำาคัญยังเป็นของหน่วยงาหลัก (http://www.cmw.ac.th/elibrary/fileselibrary/Soci al/kunya003/sec5_p1.htm ครูกันญา วงศ์ใหญ่ โรงเรียน เชียงม่วนวิทยาคม อำาเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา) 2. รูปแบบการบริหารแบบกระจายอำานาจ (Decentralization) หมายถึง ระบบการบริหารที่กระจาย อำานาจลงไปสู่ผู้บริหารระดับล่าง6 หรือหน่วยงานระดับ ล่าง เป็นการมอบหมายอำานาจให้แก่ผู้บริหารระดับรอง จากผู้บริหารระดับสูงสุด ให้หน่วยงานระดับล่างเป็นผู้ ตัดสินใจในเรื่องที่อยูในขอบเขตที่ตนรับผิดชอบ ส่วนผู้ ่ 5 หน่วยงานหลัก คือ หน่ วยงานระดับสูงสุด ท่ีทำาหน้ าท่โดยตรงกับวัตถุประสงค์ขององค์กร และ ี ปฏิบัติงานเพ่ ือผลประโยชน์โดยตรงต่อความสำาเร็จขององค์กร ทังมียังมีระดับหน่ วยงานรองลงมา ้ อีก ٢ ระดับ คือ หน่ วยงานท่ีปรึกษา หน่ วยงานระดับล่าง 6 ผู้บริหารระดับล่าง คือ ผู้จัดการระดับปฏิบัติการ หรือหัวหน้ างาน ใกล้ชิดพนั กงานมากท่ีสุด อยู่ ในอันดับสุดท้ายของระดับบุคลากรชันนำ าของหน่ วยงาน ซ่ ึงเรียงลำาดับดังนี้ ١. ผู้บริหารระดับ ้ สูงสุด ٢.ผู้บริหารระดับกลาง ٣. ผู้บริหารระดับล่างหรือระดับต้น
  • 17. บริหารระดับสูงสุดหรือหน่วยงานหลักทำาหน้าที่เป็นผู้ให้ คำาแนะนำา ถือเป็นการบริหารงานแบบประชาธิปไตย ระหว่างรูปแบบการบริหารในแง่ของสายงานและอำานาจในการ บริหารงาน ٢ แบบนี้ต่างมี จุดเด่นที่แตกต่างกันไป หากเป็นแบบการรวมอำานาจผู้บริหารจะ สามารถสื่อสาร ประสานงานและสร้างความสัมพันธ์ได้อย่างทั่วถึง ขจัดปัญหาในเรื่องการดำาเนินงานเพราะบุคลากรรู้วาตนเองอยู่ภาย ่ ใต้สายงานของใคร และต้องขึ้นตรงหรือรายงานการดำาเนินงานกับ ใคร ในแง่การตัดสินใจจะมีความเด็ดขาด เพราะเป็นการตัดสินใจ ของผู้บริหารระดับสูงเพียงผู้เดียว แต่การบริหารในรูปแบบนี้จะมี ผลให้บุคลากรขาดความกระตือรือร้นในการทำางาน เพราะไม่ต้อง คิดริเริ่ม ไม่มีโอกาสในการตัดสินใจ และผลจากการตัดสินใจอาจ ไม่สอดคล้องหรือเหมาะสมกับแต่ละสายงานมากนัก เพราะผู้ บริหารระดับสูงมีโอกาสที่จะพิจารณาโดยขาดข้อมูลสำาคัญปลีก ย่อยที่มีผู้ปฏิบัติงานเท่านั้นที่จะรู้ ส่วนรูปแบบการกระจายอำานา จนั้นถือว่าเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในยุค Web2.0 และ Library2.0 มากที่สุด เพราะเป็นการเน้นให้บุคลากรทุกคน มีส่วน ร่วม สามารถแสดงความคิดเห็นร่วมกันได้ ดังนั้นก่อนที่จะเสนอ ความคิด บุคลากรจำาเป็นต้องมีการศึกษาข้อมูล ความรู้เพื่อใช้ ประกอบและสนับสนุนความคิดเห็นของตน จึงถือเป็นการพัฒนา ศักยภาพบุคลากรอีกทางหนึ่ง 3. แบบ top-down หรือแบบ command and control คือ ลักษณะของการสั่งการแล้วพนักงานลงมือทำา(คุณพุฒิเมศ เลิศวิริยะเศรษฐ์ ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ไดโดมอนกรุุป จำากัด (มหาชน) กล่าวถึงนโยบายในการบริหารงาน ทรัพยากรบุคคลในปี ٢٥٥٢ http://www.ejobeasy.com/ kmdetail.php?n=80825105541) 4. Bottom Up คือพนั กงานมีสวนในการแสดงความคิด ่ เห็นและมีส่วนร่วมในการวางแนวทางของบริษัท *** ยังไม่เสร็จ จะเห็นได้ว่ารูปแบบการบริหารดังที่กล่าวข้างต้นจะแบ่งได้ ٢ ลักษณะคือ การบริหารรูป แบบเดิมที่มีผู้บริหารเจ้านายเป็นใหญ่ เป็นผู้ออกคำาสั่ง และมีลูก น้องเป็นผู้ปฏิบัติงานตามคำาสั่ง และแบบใหม่คือ การให้ลูกน้องมี ส่วนร่วมคิด เสนอแนะ และตัวสินใจในการวางแผน รูปแบบการ
  • 18. ทำางาน ซึงถือว่าเป็นที่นยมและสอดคล้องกับสภาพสังคม ทีให้ ่ ิ ่ ความคำาคัญเรื่องสิทธิเสรีภาพ ความคิดของคนหมู่มาก และการ พัฒนาทางเทคโนโลยีที่เอื้อประโยชน์ให้ทุกคนสามารถเข้าถึง รวมทั้งทำาหน้าที่เป็นผูแบ่งปันความรูแก่กัน และการบริหารรูปแบบ ้ ้ ใหม่นี้จะให้ความสำาคัญกับทรัพยากรมนุษย์เป็นอย่างมาก เน้นใน เรื่องการพัฒนาศักยภาพบุคคลและการแบ่งปันความรู้ในสังคม ต่อ ไปนี้จึงเป็นรูปแบบการบริหารที่เน้นในเรื่องการพัฒนามนุษย์ คือ การจัดการความรู้ หรือ KM 5. การจัดการความรู้ หรือ KM หมายถึง กระบวนการจัดการ ความรู้ ความสามารถ และทักษะอื่นๆ ของคนที่มีอยูในองค์กร นำาและนำามาบริหารเพื่อ ่ เพิ่มคุณค่าของกิจการภายในองค์การ ซึ่งต้องประกอบไปด้วยการ ค้นหา การจัดการ และประยุกต์ใช้ความรู้อย่างเป็นระบบต่อเนื่อง (การบริหารองค์ความรู้ (Knowledge Management ) Dr.Pornphan PumiPu The CSTI of Thailand www1.mod.go.th/opsd/wpcweb/Wpc %20Intra/km1.../manageknown.ppt) ความรู้แบ่งออกเป็น ٢ ประเภท คือ ความรูแจ้ง (Explicit ้ Knowledge) และความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge)8 7 ซึ่งการจัดการความรู้นมุ่งที่จะดึงและนำาเอาความรู้ที่ฝงแน่นในตัว ี้ ั คนออกมา โดยเริ่มจากการสร้างความสะพันธ์ของกลุ่มบุคคลทั้ง ในและนอกองค์กร แต่มีความสนใจ หรือทำางานในเรื่องเดียวกัน จากนั้นจัดกิจกรรม เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ของแต่ละคน ซึ่งได้ผ่านระยะเวลาการทำางานมานาน ลองผิดลองถูก จนเกิด เทคนิคและความชำานาญ โดยระหว่างการแลกเปลียนความรู้จะมีผู้ ่ ทีทำาหน้าที่บันทึกความรู้ต่างๆ ออกมาเพื่อรวบรวมออกมาเป็นรูป ่ ธรรม หรือสิ่งพิมพ์ เพื่อทำาการจัดเก็บเป็นคลังความรู้ขององค์กร และเผยแพร่ให้บุคคลทั่วไป ซึ่งในจุดนี้สามารถใช้เทคโนโลยีเข้า ช่วยเพื่อขยายความรู้เหล่านี้ในวงกว้าง เมื่อเกิดการเผยแพร่ จะ 7 ความรู้แจ้ง (Explicit Knowledge) คือ ความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดโดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ เป็นรูปธรรม 8 ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) คือความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคล ในการทำาความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำาพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำางาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ เป็นนามธรรม
  • 19. เกิดการเรียนรู้ และมีการต่อยอดความคิด จนเกิดเป็นวัตกรรมใน ที่สุด หรือสามารถนำาความรูไปใช้ประโยชน์ได้จริง ้ การจัดการความรู้จะต้องทำาอย่างไม่หยุดนิ่ง ผู้บริหารจะต้อง อำานวย แนะนำา สนับสนุน และผลักดันให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ใน องค์กร ให้เกิดการแบ่งปันและเรียนรู้ เกิดบุคลากรที่ทำาหน้าที่ต่างๆ ตามกระบวนการจัดการความรู้ มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จน กลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ หรือ LO 6. องค์กรแห่งการเรียนรู้ หรือ Learning Organization คือ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ ในองค์กร ให้คนในองค์กรเกิดการใฝ่รู้ รับรู้ เรียนรู้ ในทางที่จะช่วย พัฒนาตนเองและส่วนรวม โดยมีพื้นฐานคือ การเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่ ความเป็นเลิศ มีรูปแบบวิธรคิดในมุมมองที่เปิดกว้างมีรูปแบบวิธีคิด เป็นเหตุและผล ร่วมกันสร้างวิสัยทัศน์ เกิดการเรียนรู้เป็นทีม และ มีความคิดเชิงระบบ หากองค์กรกลายเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ แล้วจะก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพความเป็นมนุษย์อย่างเต็มที่ เป็นคนที่มีความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) มองโลกในมุมกว้าง และสามารถเชื่อมโยงความคิดกับความเป็นจริงได้ การใช้ Library2.0 ในงานบริหารห้องสมุดและศูนย์ สารสนเทศ แนวคิดที่เกี่ยวข้องในการใช้ Library2.0 ในงานบริหาร งานห้องสมุด 1. ทฤษฎีของ Tim O’ Reailly 2. ทฤษฎี Long Tail ทฤษฎี Long Tail เป็นแนวคิดทางการตลาดของ Chris Anderson ซึ่งเขาได้เผยแพร่ทฤษฎีนี้ต่อสังคมในปี ٢٠٠٤ โดย ทฤษฎีนี้มที่มาจาก Chris สังเกตปรากฏการณ์การขายสินค้าใน ี โลกออนไลน์ เขาพบว่าความเป็นจริงนั้นช่างแตกต่างกับหลัก เศรษฐศาสตร์หนึ่งซึ่งเป็นที่ยอมรับทัวไปในธุรกิจยุคเก่า ทีมีชื่อ ่ ่ ว่ากฎ٨٠/٢٠ ของพาเรลโต้ ซึ่งมีรายละเอียดว่า การมีทรัพยากร จำานวนจำากัด ทำาให้คนต้องใช้ทรัพยากรจำานวนจำากัดนี้ให้คุ้ม ค่าที่สุด เช่น พื้นที่ชั้นวางหนังสือมีจำากัด ห้องสมุดจึงต้องเลือก วางหนังสือที่เป็นที่นิยม เพื่อดึงดูดผู้ใช้ให้เข้ามาใช้บริการ มากกว่าการวางหนังสือทีไม่เป็นที่นยม เป็นต้น จุดนี้คือลักษณะ ่ ิ
  • 20. เด่นของ Mass product คือการนำาเสนอสินค้าเดียวให้กับคน หมู่มาก ทำาให้บุคคลเหล่านี้ไม่มทางเลือก ต้องใช้สินค้าที่ ี ตนเองไม่ได้ชอบ หรือต้องการจริงๆ สิ่งที่ Chris สังเกต เห็นคือ การขายสินค้าบนโลก ออนไลน์บางชนิดมีจำานวน ยอดขายสินค้าทีไม่ได้รับความนิยม รวมมูลค่าแล้วมากว่ายอด ่ ขายสินค้าที่เป็นที่นิยมโดยทัวไป ่ เช่น “ยอดขายหนังสือของ ebay หนังสือทีไม่ติดอันดับความ ่ นิยมสามารถทำารายได้สูง ٢٥% ของยอดขายรวมทั้งหมด” ( ทลายรูปแบบธุรกิจดั้งเดิมด้วยกลยุทธ์ Long Tail ดร. วรัญญู สุจิวรพันธ์พงศ์ (152,223 views) first post: Mon 7 January 2008 last update:Wed 3 December 2008 http://www.vcharkarn.com/varticle/34495#P3)
  • 21. จากกราฟ ส่วนสีแดง หรือ Head หรือชื่อที่คริสเรียกคือ Hits จะแทนปริมาณการขายสินค้าที่ติดอันดันและได้รับความนิยม ส่วน สีเหลือง หรือ Long Tail หรือที่คริสเรียก Niches (non-hit) แทน ปริมาณการขายสินค้าที่ไม่ติดอันดับ หรือไม่ได้รบความนิยม แสดง ั ให้เห็นว่าปริมาณการขายสินค้า Niches (non-hit) มีแนวโน้ม ขยายไปทางขวามากกว่าสินค้า Hits ซึ่งเป็นผลมาจากเทคโนโลยี ดิจิตอลที่ก้าวหน้า ผูใช้จึงสามารถหาซื้อหรือเลือกซื้อสินค้าอื่นที่ ้ ไม่มวางขายตามชั้นวางสินค้าได้ง่ายขึ้น หรือในอีกทางหนึ่งคือมี ี ”การขายสินค้าทาง Digital มากกว่า Physical ซึ่งเป็น Social Networking ของคนในยุค Web 2.0” (ทฤษฎี Long Tail กับห้อง สมุดในยุค Web 2.0 (http://stanglibrary.wordpress.com/2007/12/01/%E0%B8 %97%E0%B8%A4%E0%B8%A9%E0%B8%8E %E0%B8%B5-long-tail- %E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AB %E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%AA %E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%83 %E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%84/ ธันวาคม 1, 2007 โดย ruchareka) การใช้ทฤษฎี Long Tail กับการบริหารงานห้องสมุดและ ศูนย์สารสนเทศ เหตุที่ห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศต้องให้ความสำาคัญกับ ทฤษฎี Long Tail นั้น Chris Anderson ได้ตอบคำาถามไว้ใน OCLC Newsletter ในคอลัมน์ The Long Tail and libraries ว่า “ห้องสมุดหลายแห่งมีการใช้ฐานข้อมูลและ เครือข่ายการยืมหนังสือระหว่างห้องสมุดเพิ่มขึ้น พวกเขา สามารถขยายชั้นวางหนังสือหรือปริมานทรัพยากรด้วยระบบ เครือข่ายได้มากกว่าห้องสมุดที่ไม่ได้ร่วมมือหรือใช้เครือข่าย ใดเลย” จาการตอบคำาถามของ Chris นีทำาให้เห็นว่า ้ Web2.0 และทฤษฎี Long Tail มีความสัมพันธ์และเกื้อหนุน ซึ่งกันและกัน Web2.0 เอื้อประโยชน์ให้เกิดการขายสินค้าที่ หลากหลายและง่ายยิงขึ้น ส่วน Long Tail ก็ใช้เป็นแนวทาง ่ แก่ผู้ขาย หรือผู้ให้บริการให้ความสำาคัญกับการให้ทางเลือก แก่ผู้ใช้ โดยใช้ Web2.0 เป็นเครื่องมือ