SlideShare a Scribd company logo
ปจจัยทีมีผลต่อการ
ซือสินค้าผ่านทาง
แอพพลิเคชันออน
ไลน์ของผู้บริโภคใน
เขตกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล
FACTOR AFFECTING THE DECISION MAKING ON PURCHASING
PRODUCTS FROM THE ONLINE APPLICATION IN BANGKOK
METROPOLITAN REGION
จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
บทคัดย่อย
ในปจจุบันธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ของไทยเติบโตขึน
อย่างต่อเนือง ทังนีเนืองมาจากเทคโนโลยีทีก้าวหน้าผู้บริโภคสามารถเข้าถึง
อินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ผู้ประกอบการในธุรกิจต่างๆเองก็มองว่า
เวลานี E-Commerce เปนช่องทางการขายหลักในการเข้าถึงผู้บริโภค โดยผ่าน
แอพพลิเคชัน
งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพ
พลิ-เคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึงได้แก่
ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ รวมถึงปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดและ
ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี ว่ามีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง
แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือ
ไม่อย่างไร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจํานวน 405 คน ผ่านทาง
แบบสอบถามทางออนไลน์ และนําข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์ผลค่าทางสถิติตาม
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป
ผลการวิจัยพบว่า ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ-
เคชันออนไลน์ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอย่างมีนัย
สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 มีจํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากมากไป
น้อย ดังนี
1) ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี
2) ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ
3) ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน
และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
4) ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียง
ของแอพพลิเคชัน
บทนํา
ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
เนืองจากมือถือสมาร์ทโฟนราคาถูก ยังถือเปนอีกหนึงปจจัยทีทําให้คนไทยเกือบทุก
ระดับสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ทําให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนมากสามารถใช้บริการซือ
สินค้าออนไลน์ผ่านเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชัน (application) ซึงสามารถทําได้ตลอด
24 ชัวโมงจากทีบ้าน ทีทํางาน ทีมหาวิทยาลัย หรือทีใดก็ตามทีอินเทอร์เน็ตเข้าถึง
เพราะสามารถประหยัดเวลาในการออกไปเลือกซือสินค้าเองตามห้างร้านต่างๆ และยัง
เปนตัวเลือกทีดีสําหรับเหล่านักช้อปทีไม่มีเวลา อีกทังการซือสินค้าผ่านช่องทาง
ออนไลน์ในปจจุบันนัน มีความน่าเชือถือและมีประสิทธิภาพมากขึนกว่าแต่ก่อน เช่น
ในกรณีทีสินค้ามีปญหา ชํารุดเสียหาย หรือส่งผิดพลาด หลายๆบริษัทก็มีนโยบายมา
รองรับปญหาเหล่านีแล้ว
นอกจากนียังมีข้อมูลเกียวกับการใช้งานมือถือของประเทศไทยไตรมาสที 1
ป 2558 จากสมาคมโฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) หรือ DAAT ร่วมกับ
เว็บไซต์ MarketingOops.com โดยได้รวบรวมตัวเลขยอดผู้ใช้บริการมือถือ
ในประเทศไทย จากค่ายผู้ให้บริการหลักทังสามรายของประเทศไทย ได้แก่
AIS dtac และ TrueMove พบว่ามียอดผู้ใช้งานรวมทังสิน 91.9 ล้านคน
นันหมายความว่าผู้บริโภคหนึงรายอาจมีโทรศัพท์เคลือนที หรือแท็บเล็ต
มากกว่าหนึงเครือง ซึงสัดส่วนของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือของไทยสูงกว่าถึง
จํานวนประชากรถึง 135% เลยทีเดียวโดยยอดผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตผ่าน
มือถืออยู่ที 56.1 ล้านคน
เมือพิจารณาแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือของ
ประชากรอายุ 6 ปขึนไปในช่วงระยะเวลา 5 ประหว่างป 2553-2557
พบว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีสัดส่วนเพิมขึนจากร้อยละ 30.9 (จํานวน 19.1 ล้านคน)
เปนร้อยละ 38.2 (จํานวน 23.8 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิมขึนจากร้อยละ
22.4 (จํานวน 13.8 ล้านคน) เปนร้อยละ 34.9 (จํานวน 21.7ล้านคน)
ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิมขึนจาก ร้อยละ 61.8 (จํานวน 32.8ล้านคน)
เปนร้อยละ 77.2 (จํานวน 48.1ล้านคน)
ตลาดของ Smartphone และ Tablet
IT Technology Trends 2014 for Thailand (IMC Institute, 2013) ระบุว่ากระแส
การใช้ Smartphone และ Tablet ยังสูงขึนอย่างต่อเนือง พบว่าจํานวนผู้ใช้โทรศัพท์
เครืองทีในประเทศเพิมขึนเปน 89.98 ล้าน ซึงคิดเปน 131.84% ของประชากร และใน
จํานวนนีคาดว่า 31% ของประชากรไทยมีการใช้งานสมาร์ทโฟน (Our Mobile Planet,
2013) และบริษัทวิจัยจีเอฟเค (GFK) ก็ระบุว่าใน 4 เดือนของป 2013 มีเครืองสมาร์ท
โฟนจําหน่ายไปแล้วกว่า 2.87 ล้านเครือง โดยคาดการณ์ยอดจําหน่ายทังปประมาณ 7.5
ล้านเครืองจากเครืองโทรศัพท์มือถือ 16 ล้านเครือง
จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตทีเชือมต่อไปต่างประเทศโดยตรง ซึงอัตราการ
เติบโตของอินเตอร์เน็ตนันส่งผลให้ธุรกิจซือ - ขายบนโลกออนไลน์ เติบโตขึน
อย่างรวดเร็ว ในป 2557 ทีผ่านมาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce)
ในประเทศไทย เกิดร้านค้าบนโลกออนไลน์ขึนจํานวนมากจนกระทังเกิด
แอพพลิเคชันเพือรวมร้านค้าออนไลน์ต่างๆไว้ทีเดียว เพือให้ผู้บริโภคได้รับ
ความสะดวกมากยิงขึน แต่อย่างไรจะเห็นได้ว่ายังเปนสัดส่วนทีน้อย และยังมี
โอกาสเติบโตได้อีกมาก
New Relic (2013) ได้อธิบายตลาดของ Mobile Application ตลอดจนตัวเลข
น่าสนใจเกียวกับพฤติกรรมการใช้ ดังต่อไปนี
- คนทัวไปจะมีการโหลดแอพพลิเคชันลงในเครืองประมาณ 41 แอพ
- ปจจุบันมีแอพพลิเคชันอยู่ในตลาดทัง iOS และ Android ประมาณ 1.5 ล้าน แอพ
- มากกว่า 60% ของแอพพลิเคชันใน Apple App Store ไม่เคยถูกดาวน์โหลดเลย
- ในหนึงวัน คนจะเช็คโทรศัพท์มือถือของตัวเองประมาณ 150 ครัง
ดังนันจึงเปนเรืองทีน่าสนใจว่าปจจัยใดทีส่งผลต่อการเลือกซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน
ออนไลน์บ้าง เหตุผลใดทีทําให้ผู้บริโภคตัดสินใจซือหรือไม่ซือ เพือทีจะได้ทราบถึงความ
ต้องการของผู้บริโภค และทัศนคติทีมีต่อการซือสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ เพือทีจะ
สามารถนํามาพัฒนาระบบการซือขายออนไลน์ให้ดียิงขึน โดยเฉพาะอย่างยิงการใช้บริการผ่าน
ช่องทางของ Mobile Application
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพือศึกษาถึงพฤติกรรมการตัดสินใจ
เลือกซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน
ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
2. เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการเลือกซือ
สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์
ประกอบด้วยปจจัยทางด้าน
ประชากรศาสตร์ ปจจัยด้านส่วนประสม
ทางการตลาด (4Ps) และปจจัย
ด้านการยอมรับเทคโนโลยี
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย
ผู้วิจัยคาดหวังว่างานวิจัยนีจะทําให้ได้
ทราบถึงพฤติกรรมและปจจัยด้านต่างๆ
ทีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซือสินค้าผ่าน
ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภค
เพือประโยชน์ของผู้ประกอบการ ทีสนใจ
จะเลือกใช้แอพพลิเคชันเปนช่องทางใน
การขายสินค้าและบริการ จะได้นําไป
พัฒนาแอพพลิชันให้ตรงตามความ
ต้องการของผู้บริโภคมากทีสุด
ทบทวนวรรณกรรม
บททบทวนวรรณกรรมเปนการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้องกับ
ปจจัยที มีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพือนํามาใช้ในการกําหนดสมมติฐาน และกําหนดกรอบงาน
วิจัย โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี
2.1 แนวคิดและทฤษฎีทีเกียวข้อง
2.1.1 แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
2.1.2 แนวคิดเกียวกับ Mobile Application
2.1.3 ทฤษฎีเกียวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
2.1.4 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (4Ps)
2.1.5 แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance
Model: TAM)
2.2 งานวิจัยทีเกียวข้อง
2.2.1 ปจจัยด้านประชากรศาสตร์
2.2.2 ปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ และการยอมรับเทคโนโลยี
2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัย
แนวคิดและทฤษฎีทีเกียวข้อง
1.แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การทําธุรกรรมทุกรูปแบบโดย
ครอบคลุมถึงการ ซือขายสินค้า/บริการ การชําระเงิน การโฆษณาโดยผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์
ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ
- ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B)
- ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C)
- ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G)
- ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)
การสนับสนุนการบริการอืนๆ ให้ลูกค้า มีเครืองมือหลายประเภททีให้บริการ
ลูกค้าออนไลน์ได้ เช่น
- เว็บเพจส่วนตัว (Personalized web Page)
- ห้องสนทนา (Chat rooms)
- อีเมล์ (E-mail)
- FAQs (Frequent Answers and Questions)
- ความสามารถในการติดตามงาน (Tracking Capabilities)
- ศูนย์โทรศัพท์โดยใช้เว็บ (Web-based call centers)
การรักษาความปลอดภัยให้ลูกค้า ได้แก่
- ความสามารถในการระบุตัวตนได้ (Authentication)
- ความเปนหนึงเดียวของข้อมูล (Integrity)
- สิทธิส่วนบุคคล (Privacy)
- ความปลอดภัย (Safety)
Try and
Learn
2.แนวคิดเกียวกับ Mobile Application
ประกอบขึนด้วยคําสองคํา คือ Mobile กับ Application
Mobile คืออุปกรณ์สือสารทีพกพาได้ และทํางานได้คล้ายกับเครืองคอมพิวเตอร์ ใช้ทํา
หน้าทีในการติดต่อสือสาร แลกเปลียนข้อมูล ส่วน Application หมายถึง ซอฟต์แวร์ที
ใช้เพือช่วยการทํางานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมีสิงทีเรียกว่า
ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพือเปนตัวกลางการใช้งานต่างๆ
Mobile Application เปนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สําหรับอุปกรณ์เคลือนที
ปจจุบันโทรศัพท์มือ หรือ สมาร์ทโฟน มีการเขียนหรือ พัฒนาแอพพลิเคชันลงบน
สมาร์ทโฟนเปนอย่างมาก เช่น เกมส์ แผนที โปรแกรมสนทนา และ หลายธุรกิจก็เริม
พัฒนา Mobile Application เพือเพิมช่องทางในการสือสารกับลูกค้ามากขึน
ซึง Mobile Application นันเหมาะสําหรับธุรกิจและองค์กรต่างๆ ในการเข้าถึงกลุ่ม
คนรุ่นใหม่ รวมถึงการขยายการให้บริการผ่านมือถือทีสามารถทําได้ง่ายมากขึน สะดวก
ทุกที ทุกเวลา
3.ทฤษฎีเกียวกับพฤติกรรมผู้บริโภค
ศิวฤทธิ พงศกรรังศิลป (2547, น. 69-78) ได้กล่าวถึงทฤษฎีสิงกระตุ้นการตอบสนอง (S-R
Theory) ว่าเกียวข้องกับความรู้สึกนึกคิดของผู้บริโภค หรือทีเรียกอีกอย่างหนึงว่า กล่องดําการตลาด
(Marketing black box) ซึงประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี
สิงกระตุ้น (Stimuli) สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี
-สิงกระตุ้นทางการตลาด (Marketing stimuli) ประกอบด้วยส่วนประสม ทางการตลาด
(Marketing mix) หรือ 4P’s
-สิงกระตุ้นอืนๆ (Others stimuli) ประกอบด้วยสิงแวดล้อมทางการตลาดที ไม่สามารถควบคุมได้
ปจจัยภายนอก (External factors)
ปจจัยภายใน (Internal factors)
4.ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (4Ps)
ส่วนประสมการตลาด (Marketing mix หรือ 4Ps) หมายถึง ตัวแปรทาง การตลาดทีควบคุมได้ซึง
องค์กรใช้ร่วมกันเพือสนองความพึงพอใจแก่กลุ่มเปาหมาย ประกอบด้วย
-ผลิตภัณฑ์ (Product)
-ราคา (Price)
-การจัดจําหน่าย (Place)
-การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
5.แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model : TAM)
แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยีเปนการศึกษาในเชิงพฤติกรรมมนุษย์ เพืออธิบายวิธี
การและเหตุผลของแต่ละบุคคลในการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ เกิดจากอิทธิพลจาก
ตัวแปรภายนอก ได้แก่เรืองของความรู้ ความเชือ ประสบการณ์หรือพฤติกรรมทางสังคม ซึงนําไป
สู่ 4 ขันตอน ดังต่อไปนี
1. การรับรู้ว่ามีประโยชน์ (Perceived Usefulness: PU)
2. การรับรู้ว่าใช้งานง่าย (Perceived Ease of Use: PEOU)
3. พฤติกรรมของผู้ใช้งาน (Behavior Intention to Use: BI)
4. การใช้งานจริง (Actual System Use)
งานวิจัยทีเกียวข้อง
1.ปจจัยด้านประชากรศาสตร์
วรัญญา โพธิไพรทอง (2556) ทําการศึกษาปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือ เสือผ้าออนไลน์จากร้านค้า
ออนไลน์ พบว่าเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ทีต่างกันมีการ ตัดสินใจซือเสือผ้าจากร้านค้าออนไลน์
แตกต่างกัน โดยเพศหญิงมีแนวโน้มซือมากกว่าเพศชาย และ กลุ่มอายุ 30 ป เปนกลุ่มทีมีแนวโน้มซือ
เสือผ้าจากร้านค้าออนไลน์มากทีสุด
2.ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์
อุษา ภูมิถาวร (2551) ได้ศึกษาปจจัยทีมีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกซือ สินค้าจากร้านค้าปลีกทาง
อินเตอร์เน็ต พบว่าคุณลักษณะของสินค้า กล่าวคือความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และตรายีห้อ รวมทัง
การตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และรูปแบบการนําเสนอทีน่าสนใจ มีผลกับการเข้าเปนสมาชิก
ของกลุ่มผู้ซือสินค้าจากร้านค้าปลีกทางอินเตอร์เน็ต
3.ปจจัยด้านราคา
ธัญญพัสส์ เกตุประดิษฐ์ (2554) ศึกษาปจจัยทีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซือ สินค้าทางอินเทอร์เน็ต
ของผู้หญิงในกรุงเทพมหานคร พบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสําคัญเรืองปจจัยด้านราคามากทีสุด ว่าสินค้ามี
ราคาทีเหมาะสมกับคุณภาพหรือไม่ และเรืองความคุ้มค่า
4.ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย
นพวรรณ มีสมบูรณ์ (2552) ศึกษาปจจัยการตลาดทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าและ
บริการผ่านการทางการตลาดออนไลน์บนโทรศัพท์เคลือนที กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัย
ธุรกิจบัณฑิตย์ ระบุว่าช่องทางการจัดจําหน่ายเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจซือสินค้า
5.ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด
วรัญญา โพธิไพรทอง (2556) ได้ทําการศึกษาปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือเสือผ้า
ออนไลน์จากร้านค้าออนไลน์ พบว่าการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น ลด แลก แจก แถม หรือ
การจัดโปรโมชันประจําเดือน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือของผู้บริโภค
6.ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance: TA)
Ha and Stole (2008) ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการซือสินค้าออนไลน์ (e-shopping)
ของผู้บริโภคทีเปนนักศึกษา พบว่าความง่ายในการใช้งาน การออกแบบ รูปลักษณ์ภายนอกของ
เว็บไซต์ ความรวดเร็วในการดําเนินงาน ความปลอดภัยและรักษาข้อมูลส่วน บุคคลรวมถึงข้อมูล
ทางการเงิน มีผลทําให้เกิดการยอมรับในเทคโนโลยี
7. ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ (Security & Reliability)
บุษบา มาลาศรี (2544) ได้ทําการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
ในประเทศไทย พบว่าความปลอดภัยของวิธีการชําระเงินเปนปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือ
ของผู้บริโภค
8.ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล (Personalization)
ณัฐปรียา ทัพมาลี (2551) ศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือผลิตภัณฑ์ผ่านระบบ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต พบว่าผู้บริโภคส่วนมากให้ความสําคัญในเรืองของการติดตาม
สอบถามหลังการขาย
ตัวแปรอิสระ
ปจจัยด้านประชากรศาสตร์
1. เพศ (Sex)
2. อายุ (Age)
3. ระดับการศึกษา (Education)
4. อาชีพ (Occupation)
5. รายได้เฉลียต่อเดือน (Income)
ปจจัยส่วนประสมทางการตลาดและปจจัยด้าน
การยอมรับเทคโนโลยี
1. ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์(Product)
2. ปจจัยด้านราคา (Price)
3. ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย (Place)
4. ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion)
5. ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี(TAM)
6. ปจจัยด้านความปลอดภัย และความ น่าเชือถือ
(Security & Reliability)
7. ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล
กรอบแนวคิดงานวิจัย
ตัวแปรตาม
การซือสินค้าผ่านทาง
แอพพลิเคชันออนไลน์
ของผู้บริโภคในเขต
กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล
สมมติฐาน
สมมติฐานที 1 (H1 ): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านเพศทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้า
ผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน
สมมติฐานที 2 (H2): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านอายุทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการซือสินค้าผ่านทาง
แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน
สมมติฐานที 3 (H3): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษาทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสิน
ใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตก
ต่างกัน
สมมติฐานที 4 (H4): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านอาชีพทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้า
ผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน
สมมติฐานที 5 (H5): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านรายได้เฉลียต่อเดือนทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการ
ตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ทีแตกต่างกัน
สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านประชากรศาสตร์
สมมติฐานที 6 (H6): ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง
สมมติฐานที 7 (H7): ปจจัยด้านราคา ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชัน
สมมติฐานที 8 (H8): ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ส่งผลต่อการตัดสินใจ ซือสินค้าผ่านทาง
สมมติฐานที 9 (H9): ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ส่งผลต่อการตัดสินใจซือ สินค้าผ่านทางแอพ
สมมติฐานที 10 (H10): ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีส่งผลต่อการตัดสินใจ ซือสินค้าผ่านทางแอพ
พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานที 11 (H11): ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือส่งผลต่อ การตัดสินใจซือสินค้าผ่าน
ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานที 12 (H12): ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคลส่งผลต่อการ ตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพ
พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด
แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
วิธีการวิจัย
1 2 3 4
1.การออกแบบงานวิจัย
งานวิจัยนีศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการวิจัยครังนีเปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
และใช้วิธีวิจัยเชิงสํารวจ (Survey) ซึงใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครืองมือในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การประมวลผลจากโปรแกรมสําเร็จรูป จากนันจึงทําการสรุปผลการวิจัย
เพือนําเสนอผลการวิจัยในรูปแบบของตารางและการบรรยายประกอบ
2.ตัวแปรทีใช้ในงานวิจัย
2.1ตัวแปรทีใช้ในงานวิจัยครังนีจําแนกออกเปนตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
-ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ ปจจัยส่วนประสมทางการตลาด และปจจัยด้านการ
ยอมรับเทคโนโลยี
-ตัวแปรตาม คือ การซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล
3.สมมติฐานของงานวิจัย
3.1 สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านประชากรศาสตร์
3.2 สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด
4.ลักษณะของประชากร การกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และการเลือกสุ่มตัวอย่าง
4.1 ประชากรเปาหมาย คือ กลุ่มคนทีเคยซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์
ทีอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
4.2 การกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้จัดทําแบบสอบถามสําหรับงานวิจัย
ครังนีเพิมขึนอีก 5% รวมเปน 405 คน จากผลการคํานวณ
4.3 ในการวิจัยครังนีผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มเปาหมาย
แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มคนทีเคยซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ
เคชันออนไลน์ที อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
5.เครืองมือทีใช้ในงานวิจัย
ส่วนที 1 เปนคําถามคัดกรองเบืองต้นของผู้ตอบแบบสอบถามและคําถามเกียว
กับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์
ส่วนที 2 เปนคําถามเกียวกับการประเมินการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออน
ไลน์ว่ามีความคิดเห็นเกียวกับปจจัยด้านต่างๆ
ส่วนที 3 เปนคําถามทีเกียวกับข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ
อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลียต่อเดือน
6.วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยรวบรวมจากให้กลุ่มตัวอย่าง
ตอบแบบสอบถามโดยตรง หรือให้ตอบแบบสอบถามผ่านทาง Google docs และส่งไปให้
กลุ่มตัวอย่างผ่านทางสังคมออนไลน์ช่องทางต่างๆ
7.การวิเคราะห์ข้อมูลและการทดสอบสมมติฐาน
7.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
7.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)
7.2.1 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis)
7.2.2 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression)
7.2.3 การวิเคราะห์Independent Sample T-Test
7.2.4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออน
ไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
1.สรุปข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
พบว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างสามารถแบ่ง ออกเปนเพศหญิง 64.4%
และเพศชาย 35.6% โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-25 ป คิดเปน 40.74% ทังนีระดับการศึกษา
ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่าง คือ ระดับปริญญาตรี คิดเปน 76.05% อาชีพส่วนใหญ่ของกลุ่ม
ตัวอย่าง คือ กลุ่มพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปน 63.46% และระดับรายได้เฉลียต่อเดือนของ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 15,000 – 25,000 บาท คิดเปน 49.88%
ผลการวิจัยและอภิปรายผล
2.สรุปข้อมูลเกียวกับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ
ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ประกอบด้วย แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีเคยใช้บริการ ความถีในการซือ
สินค้า จํานวนเงินในการซือสินค้าโดยเฉลียต่อครัง สินค้าและบริการทีนิยมซือผ่านทาง
แอพพลิเคชัน และแอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีท่านใช้บริการบ่อยทีสุด
3.ข้อมูลเกียวกับความคิดเห็นต่อปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ
เคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สามารถสรุปค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นต่อปจจัยทีมีผลต่อ
การตัดสินใจซือ สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑล ตามปจจัยทังหมด 7 ปจจัย 1. ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปจจัยด้านราคา 3. ปจจัยด้าน
ช่องทางการจัดจําหน่าย 4. ปจจัยด้านการสือสารการตลาด 5. ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี
6. ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ 7. ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล
4.การวิเคราะห์ปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์กับการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพ
พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
4.1 เพศกับระดับการตัดสินใจซือ
4.2 อายุกับระดับการตัดสินใจซือ
4.3 ระดับการศึกษากับระดับการตัดสินใจซือ
4.4 อาชีพกับระดับการตัดสินใจซือ
สามารถสรุปได้ว่า ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้
บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 (T-Test
ของปจจัยทีมีค่า Sig. น้อยกว่า 0.05) มีจํานวน 4 ปจจัย ได้แก่
-ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี
-ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ
-ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรง
ต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
-ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสาร กับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิเคชัน
โดยผลทีได้จากการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคใน
เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถตอบสมมติฐานของงานวิจัยได้ตามแต่ละ
สมมติฐาน ดังนี
5.การวิเคราะห์ปจจัยทีมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน
ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
5.1 การวิเคราะห์ความเหมาะสมตัวแปรโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ปจจัย
5.2 การกําหนดกลุ่มปจจัย
สมมติฐานที 6 ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี
จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.010 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย
สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 6 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่อง
ทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยีส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง
แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานที 7 ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ
จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.009 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย
สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 7 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านความปลอดภัย และ
ความน่าเชือถือส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้
บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานที 10 ปจจัยด้านราคา คุณภาพ และความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน
และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.011 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย
สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 10 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านราคา ชือเสียง
คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน ส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้า
ผ่าน ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
สมมติฐานที 11 ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของ
แอพพลิเคชัน
จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.028 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย
สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 11 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์
การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิเคชัน ส่งผลเชิงลบต่อการตัดสินใจซือ
สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
บทสรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
1.ข้อมูลลักษณะประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง
ออกเปนเพศหญิง 64.4% และเพศชาย 35.6% โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-25 ป คิดเปน 40.74%
ทังนีระดับ การศึกษาส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่าง คือ ระดับปริญญาตรี คิดเปน 76.05% อาชีพส่วนใหญ่
ของกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปน 63.46% และระดับรายได้เฉลียต่อเดือนของ
กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 15,000 – 25,000 บาท คิดเปน 49.88%
2.ข้อมูลทีเกียวกับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ
แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีกลุ่มตัวอย่างเคยใช้ Lazada มากทีสุด คิดเปน 27% รองลงมาคือ
Ensogo คิดเปน 18% Weloveshopping 13% Zalora 12% Kaidee (OLX) และ iTruemart เท่ากันที
9% Shopee 7% และอืนๆ 5% ตามลําดับ
-ความถีในการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์โดยเฉลีย ซือ 1-2 ครังต่อเดือน คิดเปน 44%
รองลงมาคือน้อยกว่า 1 ครังต่อเดือน คิดเปน 44% ซือ 3-4 ครังต่อเดือน คิดเปน 5% ซือ 5-6 ครัง
ต่อเดือน คิดเปน 3% และ ซือมากกว่า 6 ครังต่อเดือนคิดเปน 1% ตามลําดับ
-จํานวนเงินในการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์โดยเฉลียต่อครัง ส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายในการ
ซือเฉลียต่อครังคือ 300-500 บาท คิดเปน 23% รองลงมาคือ 501-700 บาท คิดเปน 18%
901-1,100 บาท คิดเปน 16% มากกว่า 1,500 บาท คิดเปน 14% 701-900 บาท คิดเปน 12%
1,101-1,300 บาท คิดเปน 9% น้อยกว่า 300 บาท คิดเปน 5% และ 1,301-1,500 บาท คิดเปน 3%
ตามลําดับ
-สินค้าและบริการทีกลุ่มตัวอย่างนิยมซือผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์มากทีสุดคือ เสือผ้า/เครือง
แต่งกาย คิดเปน 26% รองลงมาคือสินค้าหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คิดเปน 22% รองเท้า/
กระเปา คิดเปน 21% นา ิกา/เครืองประดับ คิดเปน 9% อืนๆ 8% หนังสือและตัวเครืองบินเท่ากัน
ที 7% ตามลําดับ
-แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีท่านใช้บริการบ่อยทีสุดคือ Lazada คิดเปน 34% รองลงมาคือ
Ensogo คิดเปน 20% Weloveshopping 11% Zalora 10% Shopee 7% Kaidee (OLX)
iTruemart และอืนๆ เท่ากันที 6% ตามลําดับ
3.ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ
ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ มีนัยสําคัญทาง
สถิติทีระดับ 0.05 มีจํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากมากไปน้อย ดังนี
-ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี
-ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ
-ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรง
ต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
-ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิ-
เคชัน โดยมีรายละเอียดผลของตัวแปรอิสระทัง 6
ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี
ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ
ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคลและความสวยงามของแอพพลิเคชัน
ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด
ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชันและความ
ตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพ
พลิเคชัน
ข้อเสนอแนะสําหรับผู้ประกอบการ
ผลการวิจัยนี สามารถระบุปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน
ออนไลน์ได้ อีกทังยังสามารถบอกถึงระดับความสําคัญในแต่ละปจจัยว่าส่งผลกับการตัดสินใจ
มากน้อยเพียงใด ซึงในงานวิจัยนีพบว่า ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการ
ยอมรับ เทคโนโลยีส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ
ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมากทีสุด ทังในเรืองแอพพลิเคชันมีสินค้าหลาก
หลายและตรงตามความต้องการ มีราคาสินค้าระบุชัดเจน มีสินค้าพร้อมส่งในทันที นอกจากนี
ยังมีบริการจัดส่ง ครอบคลุมทุกพืนที มีช่องทางการชําระเงินทีหลากหลาย รวมถึงความง่ายใน
การใช้งานและการ ประมวลผลทีรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยําของแอพพลิเคชัน ความพร้อมของ
แอพพลิเคชัน ทีสามารถใช้ สังซือสินค้าได้ทุกที ทุกเวลา ทําให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกสบาย
มากยิงขึน แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภค คํานึงถึงเรืองการตอบสนองความต้องการของตนเองเปน
สําคัญ นอกจากนียังมีปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ ปจจัยด้านราคา คุณภาพ
และความหลากหลายของสินค้าใน แอพพลิเคชัน และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า
สําคัญรองลงมาตามลําดับ
จุฑารัตน์ เกียรติรัศม, ปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน
ออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล,
(บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558).
อ้างอิง

More Related Content

What's hot

Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
People Media Group Co.ltd
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
Peerasak C.
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commerce
bootbeet
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
Chanpen Thawornsak
 

What's hot (6)

Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerceแนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
แนวคิดธุรกิจสร้างสรรค์ผ่าน Ecommerce
 
E Commerce Model
E Commerce ModelE Commerce Model
E Commerce Model
 
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDAe-Commerce Trend 2562 by ETDA
e-Commerce Trend 2562 by ETDA
 
E Commerce
E CommerceE Commerce
E Commerce
 
Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562Smart industry Vol.35/2562
Smart industry Vol.35/2562
 

Similar to Lanlana chunstikul

บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
WiseKnow Thailand
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerce
IrinApat
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
Rachabodin Suwannakanthi
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
Software Park Thailand
 
work3-02
work3-02work3-02
work3-02
Mhew Suchanya
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
Thanachart Numnonda
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Khonkaen University
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
anusorn kraiwatnussorn
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
anusorn kraiwatnussorn
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technology
marsloner
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
Sukanya Benjavanich
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
Jirang Kumnuanta
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application
pop Jaturong
 

Similar to Lanlana chunstikul (20)

บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย ปี 2564
 
Unit1 ecommerce
Unit1 ecommerceUnit1 ecommerce
Unit1 ecommerce
 
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
Technique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the InternetTechnique to Delivery Information via the Internet
Technique to Delivery Information via the Internet
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
work3-02
work3-02work3-02
work3-02
 
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
ไอซีทีกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย
 
Ec 15
Ec 15Ec 15
Ec 15
 
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
Slide ประกอบหนังสือ e-Commerce และ Online Marketing
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
Digital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technologyDigital brand experience people, content and technology
Digital brand experience people, content and technology
 
Digital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-BankDigital Service Startup by K-Bank
Digital Service Startup by K-Bank
 
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอนอบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
อบรม eCommerce วิทยาลัยชุมชน แม่ฮ่องสอน
 
306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application306325 unit2-e-application
306325 unit2-e-application
 

Lanlana chunstikul

  • 1. ปจจัยทีมีผลต่อการ ซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออน ไลน์ของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล FACTOR AFFECTING THE DECISION MAKING ON PURCHASING PRODUCTS FROM THE ONLINE APPLICATION IN BANGKOK METROPOLITAN REGION จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2. บทคัดย่อย ในปจจุบันธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) ของไทยเติบโตขึน อย่างต่อเนือง ทังนีเนืองมาจากเทคโนโลยีทีก้าวหน้าผู้บริโภคสามารถเข้าถึง อินเตอร์เน็ตได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ผู้ประกอบการในธุรกิจต่างๆเองก็มองว่า เวลานี E-Commerce เปนช่องทางการขายหลักในการเข้าถึงผู้บริโภค โดยผ่าน แอพพลิเคชัน งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพ พลิ-เคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึงได้แก่ ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ รวมถึงปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดและ ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี ว่ามีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลหรือ ไม่อย่างไร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจํานวน 405 คน ผ่านทาง แบบสอบถามทางออนไลน์ และนําข้อมูลทีได้มาวิเคราะห์ผลค่าทางสถิติตาม วัตถุประสงค์ของงานวิจัยด้วยโปรแกรมสําเร็จรูป
  • 3. ผลการวิจัยพบว่า ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ- เคชันออนไลน์ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอย่างมีนัย สําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 มีจํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากมากไป น้อย ดังนี 1) ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี 2) ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ 3) ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า 4) ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียง ของแอพพลิเคชัน
  • 4. บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา เนืองจากมือถือสมาร์ทโฟนราคาถูก ยังถือเปนอีกหนึงปจจัยทีทําให้คนไทยเกือบทุก ระดับสามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ทําให้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตส่วนมากสามารถใช้บริการซือ สินค้าออนไลน์ผ่านเว็บไซต์หรือแอพพลิเคชัน (application) ซึงสามารถทําได้ตลอด 24 ชัวโมงจากทีบ้าน ทีทํางาน ทีมหาวิทยาลัย หรือทีใดก็ตามทีอินเทอร์เน็ตเข้าถึง เพราะสามารถประหยัดเวลาในการออกไปเลือกซือสินค้าเองตามห้างร้านต่างๆ และยัง เปนตัวเลือกทีดีสําหรับเหล่านักช้อปทีไม่มีเวลา อีกทังการซือสินค้าผ่านช่องทาง ออนไลน์ในปจจุบันนัน มีความน่าเชือถือและมีประสิทธิภาพมากขึนกว่าแต่ก่อน เช่น ในกรณีทีสินค้ามีปญหา ชํารุดเสียหาย หรือส่งผิดพลาด หลายๆบริษัทก็มีนโยบายมา รองรับปญหาเหล่านีแล้ว
  • 5. นอกจากนียังมีข้อมูลเกียวกับการใช้งานมือถือของประเทศไทยไตรมาสที 1 ป 2558 จากสมาคมโฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) หรือ DAAT ร่วมกับ เว็บไซต์ MarketingOops.com โดยได้รวบรวมตัวเลขยอดผู้ใช้บริการมือถือ ในประเทศไทย จากค่ายผู้ให้บริการหลักทังสามรายของประเทศไทย ได้แก่ AIS dtac และ TrueMove พบว่ามียอดผู้ใช้งานรวมทังสิน 91.9 ล้านคน นันหมายความว่าผู้บริโภคหนึงรายอาจมีโทรศัพท์เคลือนที หรือแท็บเล็ต มากกว่าหนึงเครือง ซึงสัดส่วนของผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือของไทยสูงกว่าถึง จํานวนประชากรถึง 135% เลยทีเดียวโดยยอดผู้ใช้บริการอินเตอร์เน็ตผ่าน มือถืออยู่ที 56.1 ล้านคน
  • 6. เมือพิจารณาแนวโน้มการใช้คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์มือถือของ ประชากรอายุ 6 ปขึนไปในช่วงระยะเวลา 5 ประหว่างป 2553-2557 พบว่าผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีสัดส่วนเพิมขึนจากร้อยละ 30.9 (จํานวน 19.1 ล้านคน) เปนร้อยละ 38.2 (จํานวน 23.8 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพิมขึนจากร้อยละ 22.4 (จํานวน 13.8 ล้านคน) เปนร้อยละ 34.9 (จํานวน 21.7ล้านคน) ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิมขึนจาก ร้อยละ 61.8 (จํานวน 32.8ล้านคน) เปนร้อยละ 77.2 (จํานวน 48.1ล้านคน)
  • 7. ตลาดของ Smartphone และ Tablet IT Technology Trends 2014 for Thailand (IMC Institute, 2013) ระบุว่ากระแส การใช้ Smartphone และ Tablet ยังสูงขึนอย่างต่อเนือง พบว่าจํานวนผู้ใช้โทรศัพท์ เครืองทีในประเทศเพิมขึนเปน 89.98 ล้าน ซึงคิดเปน 131.84% ของประชากร และใน จํานวนนีคาดว่า 31% ของประชากรไทยมีการใช้งานสมาร์ทโฟน (Our Mobile Planet, 2013) และบริษัทวิจัยจีเอฟเค (GFK) ก็ระบุว่าใน 4 เดือนของป 2013 มีเครืองสมาร์ท โฟนจําหน่ายไปแล้วกว่า 2.87 ล้านเครือง โดยคาดการณ์ยอดจําหน่ายทังปประมาณ 7.5 ล้านเครืองจากเครืองโทรศัพท์มือถือ 16 ล้านเครือง จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตทีเชือมต่อไปต่างประเทศโดยตรง ซึงอัตราการ เติบโตของอินเตอร์เน็ตนันส่งผลให้ธุรกิจซือ - ขายบนโลกออนไลน์ เติบโตขึน อย่างรวดเร็ว ในป 2557 ทีผ่านมาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) ในประเทศไทย เกิดร้านค้าบนโลกออนไลน์ขึนจํานวนมากจนกระทังเกิด แอพพลิเคชันเพือรวมร้านค้าออนไลน์ต่างๆไว้ทีเดียว เพือให้ผู้บริโภคได้รับ ความสะดวกมากยิงขึน แต่อย่างไรจะเห็นได้ว่ายังเปนสัดส่วนทีน้อย และยังมี โอกาสเติบโตได้อีกมาก
  • 8. New Relic (2013) ได้อธิบายตลาดของ Mobile Application ตลอดจนตัวเลข น่าสนใจเกียวกับพฤติกรรมการใช้ ดังต่อไปนี - คนทัวไปจะมีการโหลดแอพพลิเคชันลงในเครืองประมาณ 41 แอพ - ปจจุบันมีแอพพลิเคชันอยู่ในตลาดทัง iOS และ Android ประมาณ 1.5 ล้าน แอพ - มากกว่า 60% ของแอพพลิเคชันใน Apple App Store ไม่เคยถูกดาวน์โหลดเลย - ในหนึงวัน คนจะเช็คโทรศัพท์มือถือของตัวเองประมาณ 150 ครัง ดังนันจึงเปนเรืองทีน่าสนใจว่าปจจัยใดทีส่งผลต่อการเลือกซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์บ้าง เหตุผลใดทีทําให้ผู้บริโภคตัดสินใจซือหรือไม่ซือ เพือทีจะได้ทราบถึงความ ต้องการของผู้บริโภค และทัศนคติทีมีต่อการซือสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ เพือทีจะ สามารถนํามาพัฒนาระบบการซือขายออนไลน์ให้ดียิงขึน โดยเฉพาะอย่างยิงการใช้บริการผ่าน ช่องทางของ Mobile Application
  • 9. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพือศึกษาถึงพฤติกรรมการตัดสินใจ เลือกซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2. เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการเลือกซือ สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ ประกอบด้วยปจจัยทางด้าน ประชากรศาสตร์ ปจจัยด้านส่วนประสม ทางการตลาด (4Ps) และปจจัย ด้านการยอมรับเทคโนโลยี ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากงานวิจัย ผู้วิจัยคาดหวังว่างานวิจัยนีจะทําให้ได้ ทราบถึงพฤติกรรมและปจจัยด้านต่างๆ ทีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกซือสินค้าผ่าน ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภค เพือประโยชน์ของผู้ประกอบการ ทีสนใจ จะเลือกใช้แอพพลิเคชันเปนช่องทางใน การขายสินค้าและบริการ จะได้นําไป พัฒนาแอพพลิชันให้ตรงตามความ ต้องการของผู้บริโภคมากทีสุด
  • 10. ทบทวนวรรณกรรม บททบทวนวรรณกรรมเปนการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้องกับ ปจจัยที มีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพือนํามาใช้ในการกําหนดสมมติฐาน และกําหนดกรอบงาน วิจัย โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี 2.1 แนวคิดและทฤษฎีทีเกียวข้อง 2.1.1 แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) 2.1.2 แนวคิดเกียวกับ Mobile Application 2.1.3 ทฤษฎีเกียวกับพฤติกรรมผู้บริโภค 2.1.4 ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) 2.1.5 แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model: TAM) 2.2 งานวิจัยทีเกียวข้อง 2.2.1 ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ 2.2.2 ปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ และการยอมรับเทคโนโลยี 2.3 กรอบแนวคิดงานวิจัย
  • 11. แนวคิดและทฤษฎีทีเกียวข้อง 1.แนวคิดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) หมายถึง การทําธุรกรรมทุกรูปแบบโดย ครอบคลุมถึงการ ซือขายสินค้า/บริการ การชําระเงิน การโฆษณาโดยผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะ เครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มี 4 ประเภทหลัก ๆ คือ - ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business หรือ B to B) - ธุรกิจและลูกค้า (Business to Consumers หรือ B to C) - ธุรกิจกับรัฐบาล (Business to Government หรือ B to G) - ลูกค้ากับลูกค้า (Consumers to Consumers หรือ C to C)
  • 12. การสนับสนุนการบริการอืนๆ ให้ลูกค้า มีเครืองมือหลายประเภททีให้บริการ ลูกค้าออนไลน์ได้ เช่น - เว็บเพจส่วนตัว (Personalized web Page) - ห้องสนทนา (Chat rooms) - อีเมล์ (E-mail) - FAQs (Frequent Answers and Questions) - ความสามารถในการติดตามงาน (Tracking Capabilities) - ศูนย์โทรศัพท์โดยใช้เว็บ (Web-based call centers) การรักษาความปลอดภัยให้ลูกค้า ได้แก่ - ความสามารถในการระบุตัวตนได้ (Authentication) - ความเปนหนึงเดียวของข้อมูล (Integrity) - สิทธิส่วนบุคคล (Privacy) - ความปลอดภัย (Safety) Try and Learn
  • 13. 2.แนวคิดเกียวกับ Mobile Application ประกอบขึนด้วยคําสองคํา คือ Mobile กับ Application Mobile คืออุปกรณ์สือสารทีพกพาได้ และทํางานได้คล้ายกับเครืองคอมพิวเตอร์ ใช้ทํา หน้าทีในการติดต่อสือสาร แลกเปลียนข้อมูล ส่วน Application หมายถึง ซอฟต์แวร์ที ใช้เพือช่วยการทํางานของผู้ใช้ (User) โดย Application จะต้องมีสิงทีเรียกว่า ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface หรือ UI) เพือเปนตัวกลางการใช้งานต่างๆ Mobile Application เปนการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์สําหรับอุปกรณ์เคลือนที ปจจุบันโทรศัพท์มือ หรือ สมาร์ทโฟน มีการเขียนหรือ พัฒนาแอพพลิเคชันลงบน สมาร์ทโฟนเปนอย่างมาก เช่น เกมส์ แผนที โปรแกรมสนทนา และ หลายธุรกิจก็เริม พัฒนา Mobile Application เพือเพิมช่องทางในการสือสารกับลูกค้ามากขึน ซึง Mobile Application นันเหมาะสําหรับธุรกิจและองค์กรต่างๆ ในการเข้าถึงกลุ่ม คนรุ่นใหม่ รวมถึงการขยายการให้บริการผ่านมือถือทีสามารถทําได้ง่ายมากขึน สะดวก ทุกที ทุกเวลา
  • 14. 3.ทฤษฎีเกียวกับพฤติกรรมผู้บริโภค ศิวฤทธิ พงศกรรังศิลป (2547, น. 69-78) ได้กล่าวถึงทฤษฎีสิงกระตุ้นการตอบสนอง (S-R Theory) ว่าเกียวข้องกับความรู้สึกนึกคิดของผู้บริโภค หรือทีเรียกอีกอย่างหนึงว่า กล่องดําการตลาด (Marketing black box) ซึงประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังต่อไปนี สิงกระตุ้น (Stimuli) สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท ดังนี -สิงกระตุ้นทางการตลาด (Marketing stimuli) ประกอบด้วยส่วนประสม ทางการตลาด (Marketing mix) หรือ 4P’s -สิงกระตุ้นอืนๆ (Others stimuli) ประกอบด้วยสิงแวดล้อมทางการตลาดที ไม่สามารถควบคุมได้ ปจจัยภายนอก (External factors) ปจจัยภายใน (Internal factors)
  • 15. 4.ทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาด (4Ps) ส่วนประสมการตลาด (Marketing mix หรือ 4Ps) หมายถึง ตัวแปรทาง การตลาดทีควบคุมได้ซึง องค์กรใช้ร่วมกันเพือสนองความพึงพอใจแก่กลุ่มเปาหมาย ประกอบด้วย -ผลิตภัณฑ์ (Product) -ราคา (Price) -การจัดจําหน่าย (Place) -การส่งเสริมการตลาด (Promotion) 5.แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance Model : TAM) แนวคิดแบบจําลองการยอมรับเทคโนโลยีเปนการศึกษาในเชิงพฤติกรรมมนุษย์ เพืออธิบายวิธี การและเหตุผลของแต่ละบุคคลในการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ เกิดจากอิทธิพลจาก ตัวแปรภายนอก ได้แก่เรืองของความรู้ ความเชือ ประสบการณ์หรือพฤติกรรมทางสังคม ซึงนําไป สู่ 4 ขันตอน ดังต่อไปนี 1. การรับรู้ว่ามีประโยชน์ (Perceived Usefulness: PU) 2. การรับรู้ว่าใช้งานง่าย (Perceived Ease of Use: PEOU) 3. พฤติกรรมของผู้ใช้งาน (Behavior Intention to Use: BI) 4. การใช้งานจริง (Actual System Use)
  • 16. งานวิจัยทีเกียวข้อง 1.ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ วรัญญา โพธิไพรทอง (2556) ทําการศึกษาปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือ เสือผ้าออนไลน์จากร้านค้า ออนไลน์ พบว่าเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ทีต่างกันมีการ ตัดสินใจซือเสือผ้าจากร้านค้าออนไลน์ แตกต่างกัน โดยเพศหญิงมีแนวโน้มซือมากกว่าเพศชาย และ กลุ่มอายุ 30 ป เปนกลุ่มทีมีแนวโน้มซือ เสือผ้าจากร้านค้าออนไลน์มากทีสุด 2.ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ อุษา ภูมิถาวร (2551) ได้ศึกษาปจจัยทีมีผลต่อผู้บริโภคในการเลือกซือ สินค้าจากร้านค้าปลีกทาง อินเตอร์เน็ต พบว่าคุณลักษณะของสินค้า กล่าวคือความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และตรายีห้อ รวมทัง การตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และรูปแบบการนําเสนอทีน่าสนใจ มีผลกับการเข้าเปนสมาชิก ของกลุ่มผู้ซือสินค้าจากร้านค้าปลีกทางอินเตอร์เน็ต 3.ปจจัยด้านราคา ธัญญพัสส์ เกตุประดิษฐ์ (2554) ศึกษาปจจัยทีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซือ สินค้าทางอินเทอร์เน็ต ของผู้หญิงในกรุงเทพมหานคร พบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ความสําคัญเรืองปจจัยด้านราคามากทีสุด ว่าสินค้ามี ราคาทีเหมาะสมกับคุณภาพหรือไม่ และเรืองความคุ้มค่า
  • 17. 4.ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย นพวรรณ มีสมบูรณ์ (2552) ศึกษาปจจัยการตลาดทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าและ บริการผ่านการทางการตลาดออนไลน์บนโทรศัพท์เคลือนที กรณีศึกษา นักศึกษามหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ ระบุว่าช่องทางการจัดจําหน่ายเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจซือสินค้า 5.ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด วรัญญา โพธิไพรทอง (2556) ได้ทําการศึกษาปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือเสือผ้า ออนไลน์จากร้านค้าออนไลน์ พบว่าการจัดกิจกรรมส่งเสริมการขาย เช่น ลด แลก แจก แถม หรือ การจัดโปรโมชันประจําเดือน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือของผู้บริโภค 6.ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี (Technology Acceptance: TA) Ha and Stole (2008) ได้ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการซือสินค้าออนไลน์ (e-shopping) ของผู้บริโภคทีเปนนักศึกษา พบว่าความง่ายในการใช้งาน การออกแบบ รูปลักษณ์ภายนอกของ เว็บไซต์ ความรวดเร็วในการดําเนินงาน ความปลอดภัยและรักษาข้อมูลส่วน บุคคลรวมถึงข้อมูล ทางการเงิน มีผลทําให้เกิดการยอมรับในเทคโนโลยี
  • 18. 7. ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ (Security & Reliability) บุษบา มาลาศรี (2544) ได้ทําการศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในประเทศไทย พบว่าความปลอดภัยของวิธีการชําระเงินเปนปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือ ของผู้บริโภค 8.ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล (Personalization) ณัฐปรียา ทัพมาลี (2551) ศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือผลิตภัณฑ์ผ่านระบบ เครือข่ายอินเตอร์เน็ต พบว่าผู้บริโภคส่วนมากให้ความสําคัญในเรืองของการติดตาม สอบถามหลังการขาย
  • 19. ตัวแปรอิสระ ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ 1. เพศ (Sex) 2. อายุ (Age) 3. ระดับการศึกษา (Education) 4. อาชีพ (Occupation) 5. รายได้เฉลียต่อเดือน (Income) ปจจัยส่วนประสมทางการตลาดและปจจัยด้าน การยอมรับเทคโนโลยี 1. ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์(Product) 2. ปจจัยด้านราคา (Price) 3. ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย (Place) 4. ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด (Promotion) 5. ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี(TAM) 6. ปจจัยด้านความปลอดภัย และความ น่าเชือถือ (Security & Reliability) 7. ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล กรอบแนวคิดงานวิจัย ตัวแปรตาม การซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
  • 20. สมมติฐาน สมมติฐานที 1 (H1 ): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านเพศทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้า ผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน สมมติฐานที 2 (H2): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านอายุทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน สมมติฐานที 3 (H3): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษาทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสิน ใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตก ต่างกัน สมมติฐานที 4 (H4): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านอาชีพทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้า ผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทีแตกต่างกัน สมมติฐานที 5 (H5): ปจจัยประชากรศาสตร์ด้านรายได้เฉลียต่อเดือนทีแตกต่างกัน ส่งผลต่อการ ตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ทีแตกต่างกัน สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านประชากรศาสตร์
  • 21. สมมติฐานที 6 (H6): ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง สมมติฐานที 7 (H7): ปจจัยด้านราคา ส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชัน สมมติฐานที 8 (H8): ปจจัยด้านช่องทางการจัดจําหน่าย ส่งผลต่อการตัดสินใจ ซือสินค้าผ่านทาง สมมติฐานที 9 (H9): ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ส่งผลต่อการตัดสินใจซือ สินค้าผ่านทางแอพ สมมติฐานที 10 (H10): ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยีส่งผลต่อการตัดสินใจ ซือสินค้าผ่านทางแอพ พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สมมติฐานที 11 (H11): ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือส่งผลต่อ การตัดสินใจซือสินค้าผ่าน ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สมมติฐานที 12 (H12): ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคลส่งผลต่อการ ตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพ พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
  • 22. วิธีการวิจัย 1 2 3 4 1.การออกแบบงานวิจัย งานวิจัยนีศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการวิจัยครังนีเปนการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และใช้วิธีวิจัยเชิงสํารวจ (Survey) ซึงใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครืองมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การประมวลผลจากโปรแกรมสําเร็จรูป จากนันจึงทําการสรุปผลการวิจัย เพือนําเสนอผลการวิจัยในรูปแบบของตารางและการบรรยายประกอบ 2.ตัวแปรทีใช้ในงานวิจัย 2.1ตัวแปรทีใช้ในงานวิจัยครังนีจําแนกออกเปนตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม -ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปจจัยด้านประชากรศาสตร์ ปจจัยส่วนประสมทางการตลาด และปจจัยด้านการ ยอมรับเทคโนโลยี -ตัวแปรตาม คือ การซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล
  • 23. 3.สมมติฐานของงานวิจัย 3.1 สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านประชากรศาสตร์ 3.2 สมมติฐานทีเกียวข้องกับปจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด 4.ลักษณะของประชากร การกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และการเลือกสุ่มตัวอย่าง 4.1 ประชากรเปาหมาย คือ กลุ่มคนทีเคยซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์ ทีอยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 4.2 การกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยได้จัดทําแบบสอบถามสําหรับงานวิจัย ครังนีเพิมขึนอีก 5% รวมเปน 405 คน จากผลการคํานวณ
  • 24. 4.3 ในการวิจัยครังนีผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกตัวอย่าง โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มเปาหมาย แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มคนทีเคยซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ เคชันออนไลน์ที อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5.เครืองมือทีใช้ในงานวิจัย ส่วนที 1 เปนคําถามคัดกรองเบืองต้นของผู้ตอบแบบสอบถามและคําถามเกียว กับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ ส่วนที 2 เปนคําถามเกียวกับการประเมินการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออน ไลน์ว่ามีความคิดเห็นเกียวกับปจจัยด้านต่างๆ ส่วนที 3 เปนคําถามทีเกียวกับข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลียต่อเดือน
  • 25. 6.วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง โดยรวบรวมจากให้กลุ่มตัวอย่าง ตอบแบบสอบถามโดยตรง หรือให้ตอบแบบสอบถามผ่านทาง Google docs และส่งไปให้ กลุ่มตัวอย่างผ่านทางสังคมออนไลน์ช่องทางต่างๆ 7.การวิเคราะห์ข้อมูลและการทดสอบสมมติฐาน 7.1 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) 7.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) 7.2.1 การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) 7.2.2 การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression) 7.2.3 การวิเคราะห์Independent Sample T-Test 7.2.4 การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
  • 26. งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออน ไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 1.สรุปข้อมูลลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างสามารถแบ่ง ออกเปนเพศหญิง 64.4% และเพศชาย 35.6% โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-25 ป คิดเปน 40.74% ทังนีระดับการศึกษา ส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่าง คือ ระดับปริญญาตรี คิดเปน 76.05% อาชีพส่วนใหญ่ของกลุ่ม ตัวอย่าง คือ กลุ่มพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปน 63.46% และระดับรายได้เฉลียต่อเดือนของ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 15,000 – 25,000 บาท คิดเปน 49.88% ผลการวิจัยและอภิปรายผล
  • 27.
  • 28. 2.สรุปข้อมูลเกียวกับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประกอบด้วย แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีเคยใช้บริการ ความถีในการซือ สินค้า จํานวนเงินในการซือสินค้าโดยเฉลียต่อครัง สินค้าและบริการทีนิยมซือผ่านทาง แอพพลิเคชัน และแอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีท่านใช้บริการบ่อยทีสุด
  • 29.
  • 30.
  • 31. 3.ข้อมูลเกียวกับความคิดเห็นต่อปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิ เคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถสรุปค่าเฉลียและส่วนเบียงเบนมาตรฐานของระดับความคิดเห็นต่อปจจัยทีมีผลต่อ การตัดสินใจซือ สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล ตามปจจัยทังหมด 7 ปจจัย 1. ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ 2. ปจจัยด้านราคา 3. ปจจัยด้าน ช่องทางการจัดจําหน่าย 4. ปจจัยด้านการสือสารการตลาด 5. ปจจัยด้านการยอมรับเทคโนโลยี 6. ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ 7. ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคล 4.การวิเคราะห์ปจจัยลักษณะทางประชากรศาสตร์กับการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพ พลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 4.1 เพศกับระดับการตัดสินใจซือ 4.2 อายุกับระดับการตัดสินใจซือ 4.3 ระดับการศึกษากับระดับการตัดสินใจซือ 4.4 อาชีพกับระดับการตัดสินใจซือ
  • 32. สามารถสรุปได้ว่า ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้ บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติทีระดับ 0.05 (T-Test ของปจจัยทีมีค่า Sig. น้อยกว่า 0.05) มีจํานวน 4 ปจจัย ได้แก่ -ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี -ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ -ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรง ต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า -ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสาร กับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิเคชัน โดยผลทีได้จากการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคใน เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สามารถตอบสมมติฐานของงานวิจัยได้ตามแต่ละ สมมติฐาน ดังนี 5.การวิเคราะห์ปจจัยทีมีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 5.1 การวิเคราะห์ความเหมาะสมตัวแปรโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ปจจัย 5.2 การกําหนดกลุ่มปจจัย
  • 33. สมมติฐานที 6 ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.010 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 6 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่อง ทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยีส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทาง แอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สมมติฐานที 7 ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.009 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 7 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านความปลอดภัย และ ความน่าเชือถือส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้ บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สมมติฐานที 10 ปจจัยด้านราคา คุณภาพ และความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.011 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 10 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านราคา ชือเสียง คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน ส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้า ผ่าน ทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
  • 34. สมมติฐานที 11 ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของ แอพพลิเคชัน จากผลการวิจัยพบว่า ค่าสถิติ T-Test มีค่า Sig. เท่ากับ 0.028 ซึงมีค่าน้อยกว่าค่า ระดับนัย สําคัญที 0.05 จึงยอมรับสมมติฐานที 11 ซึงสามารถตีความได้ว่า ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิเคชัน ส่งผลเชิงลบต่อการตัดสินใจซือ สินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
  • 35. บทสรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิจัย 1.ข้อมูลลักษณะประชากรศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่าง ออกเปนเพศหญิง 64.4% และเพศชาย 35.6% โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 21-25 ป คิดเปน 40.74% ทังนีระดับ การศึกษาส่วนใหญ่ของกลุ่มตัวอย่าง คือ ระดับปริญญาตรี คิดเปน 76.05% อาชีพส่วนใหญ่ ของกลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มพนักงานบริษัทเอกชน คิดเปน 63.46% และระดับรายได้เฉลียต่อเดือนของ กลุ่มตัวอย่าง ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 15,000 – 25,000 บาท คิดเปน 49.88% 2.ข้อมูลทีเกียวกับพฤติกรรมการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีกลุ่มตัวอย่างเคยใช้ Lazada มากทีสุด คิดเปน 27% รองลงมาคือ Ensogo คิดเปน 18% Weloveshopping 13% Zalora 12% Kaidee (OLX) และ iTruemart เท่ากันที 9% Shopee 7% และอืนๆ 5% ตามลําดับ -ความถีในการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์โดยเฉลีย ซือ 1-2 ครังต่อเดือน คิดเปน 44% รองลงมาคือน้อยกว่า 1 ครังต่อเดือน คิดเปน 44% ซือ 3-4 ครังต่อเดือน คิดเปน 5% ซือ 5-6 ครัง ต่อเดือน คิดเปน 3% และ ซือมากกว่า 6 ครังต่อเดือนคิดเปน 1% ตามลําดับ
  • 36. -จํานวนเงินในการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์โดยเฉลียต่อครัง ส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายในการ ซือเฉลียต่อครังคือ 300-500 บาท คิดเปน 23% รองลงมาคือ 501-700 บาท คิดเปน 18% 901-1,100 บาท คิดเปน 16% มากกว่า 1,500 บาท คิดเปน 14% 701-900 บาท คิดเปน 12% 1,101-1,300 บาท คิดเปน 9% น้อยกว่า 300 บาท คิดเปน 5% และ 1,301-1,500 บาท คิดเปน 3% ตามลําดับ -สินค้าและบริการทีกลุ่มตัวอย่างนิยมซือผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์มากทีสุดคือ เสือผ้า/เครือง แต่งกาย คิดเปน 26% รองลงมาคือสินค้าหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ คิดเปน 22% รองเท้า/ กระเปา คิดเปน 21% นา ิกา/เครืองประดับ คิดเปน 9% อืนๆ 8% หนังสือและตัวเครืองบินเท่ากัน ที 7% ตามลําดับ -แอพพลิเคชันขายสินค้าออนไลน์ทีท่านใช้บริการบ่อยทีสุดคือ Lazada คิดเปน 34% รองลงมาคือ Ensogo คิดเปน 20% Weloveshopping 11% Zalora 10% Shopee 7% Kaidee (OLX) iTruemart และอืนๆ เท่ากันที 6% ตามลําดับ
  • 37. 3.ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ ปจจัยทีมีผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ มีนัยสําคัญทาง สถิติทีระดับ 0.05 มีจํานวน 4 ปจจัย โดยเรียงลําดับจากมากไปน้อย ดังนี -ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี -ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ -ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชัน และความตรง ต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า -ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพพลิ- เคชัน โดยมีรายละเอียดผลของตัวแปรอิสระทัง 6 ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการยอมรับเทคโนโลยี ปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ ปจจัยด้านการให้บริการส่วนบุคคลและความสวยงามของแอพพลิเคชัน ปจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปจจัยด้านราคา คุณภาพและความหลากหลายของสินค้าในแอพพลิเคชันและความ ตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า ปจจัยด้านการประชาสัมพันธ์ การสือสารกับผู้บริโภค และความมีชือเสียงของแอพ พลิเคชัน
  • 38. ข้อเสนอแนะสําหรับผู้ประกอบการ ผลการวิจัยนี สามารถระบุปจจัยทีส่งผลต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์ได้ อีกทังยังสามารถบอกถึงระดับความสําคัญในแต่ละปจจัยว่าส่งผลกับการตัดสินใจ มากน้อยเพียงใด ซึงในงานวิจัยนีพบว่า ปจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจําหน่าย และการ ยอมรับ เทคโนโลยีส่งผลเชิงบวกต่อการตัดสินใจซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชันออนไลน์ของ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมากทีสุด ทังในเรืองแอพพลิเคชันมีสินค้าหลาก หลายและตรงตามความต้องการ มีราคาสินค้าระบุชัดเจน มีสินค้าพร้อมส่งในทันที นอกจากนี ยังมีบริการจัดส่ง ครอบคลุมทุกพืนที มีช่องทางการชําระเงินทีหลากหลาย รวมถึงความง่ายใน การใช้งานและการ ประมวลผลทีรวดเร็ว ถูกต้องแม่นยําของแอพพลิเคชัน ความพร้อมของ แอพพลิเคชัน ทีสามารถใช้ สังซือสินค้าได้ทุกที ทุกเวลา ทําให้ผู้บริโภคได้รับความสะดวกสบาย มากยิงขึน แสดงให้เห็นว่าผู้บริโภค คํานึงถึงเรืองการตอบสนองความต้องการของตนเองเปน สําคัญ นอกจากนียังมีปจจัยด้านความปลอดภัยและความน่าเชือถือ ปจจัยด้านราคา คุณภาพ และความหลากหลายของสินค้าใน แอพพลิเคชัน และความตรงต่อเวลาในการจัดส่งสินค้า สําคัญรองลงมาตามลําดับ
  • 39. จุฑารัตน์ เกียรติรัศม, ปจจัยทีมีผลต่อการซือสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชัน ออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558). อ้างอิง