SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรู
เรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา




    กลุมภารกิจจัดการสารสนเทศสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
         สํานักวิทยบริการ (สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู
                         มหาวิทยาลัยขอนแกน
                                  2552
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรู
เรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา




                    ผูรวบรวมและเรียบเรียงโดย
                          นางยุวดี เพชระ




    กลุมภารกิจจัดการสารสนเทศสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร
         สํานักวิทยบริการ (สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู
                         มหาวิทยาลัยขอนแกน
                                  2552
ก


                                                คํานํา

           หอสมุดกลาง สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดจัดจุดบริการตอบคําถามและชวยการ
คน ควาทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการขึ้น จึงถือเปน จุด บริก ารหนาดานและมีค วามสําคัญ ที่
ชวยเหลือและสงเสริมใหผูรับบริการใชทรัพยากรสารสนเทศเพิ่มขึ้น รวมถึงเปนจุดบริการติดตอใหบริการ
อื่นๆ อาทิเชน บริการยืมกรณีพิเศษ บริการหองเรียนรูกลุมยอย บริการรับเรื่องยืมระหวางหองสมุด เปนตน
ดั ง นั้ น กลุ ม ภารกิ จ จั ด การสารสนเทศสาขามนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร สํ า นั ก วิ ท ยบริ ก าร
มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงเห็นถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการประชุมแลกเปลี่ยนความรู
บริการตอบคําถามและชว ยการคนควาขึ้น เพื่อใหทราบถึงวิธีการและแนวปฏิบัติในการใหบริการ ณ จุด
บริการตอบคําถามและชวยการคนควาและแหลงที่ใชในการตอบคําถามและชวยเหลือผูใชบริการ จากการจัด
โครงการ 2 ครั้งที่ผานมา ผูเขารวมโครงการมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณเกี่ยวกับการ
ใหบริก ารและปญหาที่เกิด ขึ้น รวมถึงการหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อปรับปรุงและพัฒ นาการ
ใหบริการที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


                                                                                ผูจัดทํา
                                                                             มีนาคม 2552
ข

                                           สารบัญ

                                                                                         หนา

คํานํา                                                                                     ก
ผลโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา                                              1
       1. แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา                1
       2. ประเด็นปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการ 1
       3. แนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการใหบริการ แนวการคนหาคําตอบ และแหลง
สารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม                                                               3
ภาคผนวก
    - ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม                                                                 7
    - ภาคผนวก ข แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา          8
           o การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอย                                             9
           o การใหบริการยืมกรณีพิเศษ                                                     15
           o การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด                                         19
           o การใหบริการหนังสือ Old Stack / Gift                                         24
           o บริการสืบคนสารสนเทศ                                                         25
    - ภาคผนวก ค โครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา                               28
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    1
                             ผลโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา
                                วันที่ 29 มกราคม 2552 และ 12 กุมภาพันธ 2552
                                              เวลา 9.00-12.00 น.

        การจัดโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควาทั้ง 2 ครั้งนี้เปนการกลาวถึงแนวปฏิบัติ
และทบทวนการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ตลอดจนแหลงสารสนเทศที่ใช
ในการตอบคําถามและชวยเหลือผูใชบริการ รวมถึงการแนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการ
ใหบริก าร เพื่อใชเปน ขอมูลในการตอบคําถามและชว ยการคน ควาแกผูใ ชบริก าร ผลการจัด ครั้งนี้แบง
ออกเปน 3 สวน ไดแก
        สวนที่ 1 ประกอบดวย แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา
คือ บริการหองเรียนรูกลุมยอย บริการยืมกรณีพิเศษ การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด การรับเรื่องการ
แจงหนังสือหาไมพบ การรับเรื่องบริการสืบคนสารสนเทศ และอื่นๆ
        สวนที่ 2 ประกอบดวย ประเด็น ปญหา การแลกเปลี่ยนความคิด เห็น เกี่ย วกับการใหบริก าร และ
แนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการที่สนับสนุนการใหบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
        สวนที่ 3 ประกอบดว ย แนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริก ารใหบริการ แนวการ
คนหาคําตอบ และแหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม
        โดยสรุปผลดังตอไปนี้
1. แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา คือ บริการหองเรียนรูกลุม
    ยอย บริการยืมกรณีพิเศษ การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด การรับเรื่องการแจงหนังสือหาไมพบ
    การรับเรื่องบริการสืบคนสารสนเทศ และอื่นๆ (ดูเพิ่มเติมที่ ภาคผนวก ข)

2. ประเด็นปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการที่สนับสนุนการ
       ใหบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น
           2.1 การบริก ารยืมกรณีพิเศษ ในกรณีการเก็บหลักฐานในการขอใชบริการยืมกรณีพิเศษ กลุม
ผูเขารวมไดเสนอและมีมติใหใชบัตรประจําตัวนักศึกษา/ขาราชการ/บุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน
หรือบัตรประจําตัวประชาชน แทนไดในกรณีที่มีความจําเปนจะตองใชบัตรประจําตัวนักศึกษา/ขาราชการ/
บุคลากร เขา-ออกหองสมุดหรือใชในการเขาหองสอบ
           2.2 การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอยหรือหองประชุมกลุมยอย มีดังนี้
               1) ในกรณีนักศึก ษาป.โท/ป.เอกมาขอใชหองฯ กลุมยอย เพีย ง 1-2 คน มีวิธีก ารใหบริการ
อยางไร?
                   วิธีการใหบริการ: ผูใหบริการจะตองอธิบาย/ชี้แจงระเบียบการใชหองเรียนรูกลุมยอยให
นักศึกษาเขาใจ แตหากนักศึกษามีความจําเปนที่จะตองใช สามารถพิจารณาใหบริการดังนี้
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    2
                          1.1) ใหผูใชติดตอขออนุญาตกับหัวหนากลุมภารกิจโดยตรง
                   หรือ 1.2) ดูจํานวนการใชหอง ถามีไมมาก สามารถอนุญาตได และชี้แจงเหตุผลที่อนุญาต
ดวย แตหากมีกลุมผูใชอื่นมาขอใชหองดังกลาว จะตองใหกลุมผูใชนั้นเขาใชตามระเบียบ
                2) นักศึกษาขอใชหองแตนําบัตรประจําตัวมาแค 3 ใบ จําเปนจะตองเก็บบัตรประจําตัวทุกใบ
                                       
ตามจํานวนคนเขาใชหรือไม?
                     วิธีการใหบริการ: หากเปนไปไดผูใหบริการควรเก็บบัตรประจําตัวของผูขอใชทุกคนไว แต
ถาไมสามารถทําได ใหเก็บบัตรประจําตัวอยางนอย 3 ใบไวเปนหลักฐานตามระเบียบการขอใชหอง
                3) ผูเขารวมกิจกรรมมีมติวา ควรมีการจัดทําระเบียบการใชหองติดภายในหองประชุมกลุม
ยอยทุกหอง เพื่อประชาสัมพันธใหกับผูใชบริการทุกคนไดทราบ
           2.3 การรับคํารองแจงหนังสือหาไมพบ สมาชิกนําเสนอแนวปฏิบัติในการรับคํารอง โดยปฏิบัติดังนี้
                1) แนวปฏิบัติของในเวลาราชการ มีวิธีการดังนี้
                          1.1) รับเรื่องจากผูใช แลวตรวจสอบใน WebOPAC และบนชั้นหนังสืออีกครั้ง เพื่อให
แนใจวาหนังสือไมอยูบนชั้น
                          1.2) เมื่อหาหนังสือไมพบ ใหผูใชกรอกแบบคํารองแจงหนังสือหาไมพบ จากนั้นสง
ตอใหกับเจาหนาที่จัดชั้นประจําแตละชั้น
                          1.3) แจงผูใชวา จะแจงผลการหาใหทราบภายใน 3 วันทําการ
                2) แนวปฏิบัติของนอกเวลาราชการ มีวิธีการดังนี้
                          2.1) บรรณารักษเวรบริการตอบคําถามและชวยการคนควารับเรื่องจากผูใช ใหผูใ ช
กรอกแบบคํารองแจงหาหนังสือไมพบ แลวตรวจสอบใน WebOPAC และบนชั้นหนังสืออีกครั้ง เพื่อให
แนใจวาหนังสือไมอยูบนชั้น
                          2.2) เมื่อหาหนังสือไมพบ จากนั้นสงคํารองตอใหในเวลาราชการดําเนินการตอ โดย
แยกตามเนื้อหาทรัพยากรของกลุมภารกิจ ดังนี้
                               2..2.1) หมวด A-P กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรรับผิดชอบ
                               2.2.2) หมวด R กลุมวิทยาศาสตร-สุขภาพรับผิดชอบ
                               2.2.3) หมวด Q-Z (ยกเวน หมวด R) กลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรับผิดชอบ
                                                                     
                          2.3) แจงผูใชวา จะแจงผลการหาใหทราบภายใน 3 วันทําการ
           * สําหรับกลุมภารกิจฯ สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร : เจาหนาที่จัดชั้นจะเปนผูดําเนินการ
คนหา/แจงผูใชใหมารับตัวเลม กับผูแจงเองโดยตรง
           2.4 กรณีที่ผูใชบริการมาแจงของหายกับบรรณารักษ หรือมีผูเก็บสิ่งของที่ผูใชบริการคนอื่นลืมไว
มาสงใหบรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา
                วิธีการใหบริการ: ใหบรรณารักษบริการตอบคําถามฯ บันทึกของหายในสมุดบันทึกประจําวัน
ที่อยูโตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ไดแก รายการสิ่งของหาย สถานที่เก็บได ชื่อผูเก็บได/แจง
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    3
วัน-เวลาที่แจง ชื่อผูรับแจง และหลังเวลา 16.30 น. นําสงรายการสิ่งของหายใหกับบรรณารักษหัวหนาเวร
นอกเวลาราชการ (OT) บริการตอบคําถามฯ ชั้น 2 และใหบรรณารักษหัวหนาเวร บันทึกการรับสิ่งของหาย
ในสมุดดวย แลวเก็บสมุดบันทึกฯ ในตะกราเอกสารของกลุมภารกิจ (ตะกราสีเขียว)




3. แนะนําฐานข อ มูล อิเ ล็ ก ทรอนิ ก สที่ สํานั ก วิท ยบริ ก ารให บ ริก าร แนวการคน หาคํ าตอบ และแหล ง
     สารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม
         3.1 ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการใหบริการ ประกอบดวย
             1) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จําแนกเปน กลุม E-Journal
เปนฐานขอมูลที่สวนใหญใหเอกสารฉบับเต็ม ไดแก ทางดานสังคมศาสตร คือ ฐาน Project MUSE และ
ฐาน Oxford Journal Online ดานการศึกษา บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร และการบริหารการ
จัดการ คือ Wilson Web, Emerald Management Xtra, JSTOR the Scholarly Journal Archive : Business
กลุม E-Database เปนฐานขอมูลที่สวนใหญใหบทคัดยอ ไดแก ทางดานการศึกษา คือ ฐาน ERIC ซึ่งเปน
ฐานขอมูลฟรีออนไลน
             2) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จําแนกเปน กลุม E-Journal
ไดแก ทางดานวิทยาศาสตร คือ ฐาน Science/AAAS และ ฐาน Nature Online ดานเคมี คือ ACS
Publications ดานฟสิก ส คือ APS (Online Journal American Physical Society) AIP (Online Journal
Publishing Service) ดานเกษตรศาสตร คือ ProQuest Agriculture Journals ดานวิศวกรรมศาสตร คือ ASCE
The American Society of Civil Engineering (วิ ศ วกรรมโยธา), ASME/Technical Journals
(วิศวกรรมเครื่องกล), ACM Digital Library (วิศวกรรมคอมพิวเตอร/เทคโนโลยีคอมพิวเตอร), IEEE/IEE
Electronic Library Online (วิศวกรรมไฟฟา/อิเล็กทรอนิกส) และกลุม E-Database ไดแก ทางดานชีววิทยา
คือ ฐาน CSA: Biological Science Database Online ดานเคมี คือ SciFinder ดานเกษตรศาสตร คื อ
AGRICOLA (Agricultural Online Access)
             3) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จําแนกเปน กลุม E-Journal ไดแก
ทางดานแพทยศาสตร/วิทยาศาสตรสุขภาพ คือ ฐาน ProQuest Medical Library ดานทันตแพทยศาสตร คือ
Critical Reviews in Oralbiology & Medicine, Cleft Palate Craniofacial Journal, British Dental Journal และ
Clinical infectious diseases ป 2004 ซึ่งบอกรับโดยหองสมุดคณะทันตแพทยศาสตร ดานพยาบาลศาสตร
คือ ฐานขอมูล CINAHL with Full Text และกลุม E-Database ไดแก ฐาน PubMed
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    4
               4) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิก สสหสาขา จําแนกเปน กลุม E-Journal ไดแก Science Direct
[บอกรับโดย สกอ.], Cambridge Journals Online, Annual Reviews, Wilson OmniFile: Full Text Select,
Blackwell Journals Online, Wilson Web กลุม E-Database ไดแก ISI Web of Science, ฐานขอมูล JCR (คน
Impact factor วารสารภาษาตางประเทศ) และกลุม E-Thesis ไดแก CHE PDF Dissertation Fulltext,
ProQuest Dissertation Abstracts, วิ ทยานิพนธ การคน ควาอิ สระ มหาวิท ยาลั ย ของไทย ของThaiLIS
(http://dcms.thailis.or.th/) เอกสารฉบับเต็ม และ ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย (Thai Theses Online by TIAC)
(http://thesis.stks.or.th/) บทคัดยอ
          ส ว นรายละเอี ย ดของฐานข อ มู ล ต า งๆ สามารถดู ไ ด ที่ เว็ บ http://lib09.kku.ac.th/libhus/
index.php?id=497fd37a37532#comments

          3.2 แนวการคนหาคําตอบ และแหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม สรุปไดดังนี้
              1) กรณีที่ผูใชบริการสอบถามวา มีชื่อวารสารภาษาตางประเทศเต็มจะเขียนยอวาอยางไร หรือ
ชื่อวารสารนั้นเปนตัวยอ จะเขียนเต็มวาอยางไร
                    วิธีการ: ในการคนหาคําตอบนั้น จะมีหนังสือที่รวบรวมรายชื่อวารสารนั้นๆ ไว แตจัดเก็บ
ไวที่จุดบริการตอบคําถามและชว ยการคนควา ชั้น 5 บางครั้งทําใหไมสะดวกในการคนหาและแนะนํา
ผูใชบริการได เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใหบริการและผูใชหองสมุด มีเว็บสําหรับตรวจสอบชื่อเต็มหรือ
ชื่อยอของวารสารมากมาย เชน Journal Abbreviation on Web, Journal Abbreviation Resources on the Web,
Web of Science Journal Title Abbreviations, FRONTIERS IN BIOSCIENCE เปนตน ขอแนะนําเว็บไซตที่
มีการรวบรวมรายชื่อวารสาร ไดแก Journal Abbreviation on Web (url: http://journalseek.net/)




              2) กรณีที่ผูใชตองการหาบทความดานลางนี้ มีวิธีการอยางไร?


                  วิธีการ: ใหคน จาก WebOPAC ของหองสมุด ในสวนบทความวารสารภาษาไทย เลือก
ทางเลือก ชื่อผูแตง เพื่อตรวจสอบใหแนใจวามีในหองสมุดจริง แลวจึงไปหยิบตัวเลมวารสารที่ชั้น 2 ของ
หอสมุดกลาง
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    5
              3) กรณีที่ผูใชตองการหาวิทยานิพนธตางประเทศรายการดานลางนี้ มีวิธีการอยางไร?




                 วิธีการ: รายการขางตนจะตองคนจากหนังสือ Dissertation Abstracts International ซึ่ง
หอสมุด กลางไดจําหนายหนังสือดังกลาวออกแลว แตสามารถใชฐาน ProQuest Dissertation Abstracts
คนหารายการดังกลาวแทนได วิธีการคนหาใหใช Advance Search เลือกที่ title พิมพชื่อเรื่อง “Critical
elements in the development of a new family school” จะเปนขอมูลรายการบรรณานุกรมพรอมบทคัดยอ
ดังภาพ

                              พิมพชื่อเรื่อง
                                                              คลิกเลือก “Document Title” และคลิก Search


                                                            คลิกเลือกฐาน “Dissertation & Thesis”




                  เมื่อคลิกที่ Abstract




             4) ผูใชบริการคนขอมูลในฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสที่หองสมุดจัดใหบริการจากที่บาน
แตไมสามารถอานเอกสารฉบับเต็ม (Fulltext) ได
                 วิธีการ: ในการอานเอกสารฉบับเต็ม (Fulltext) ในฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสจากที่
บาน จะตองผานระบบเครือขายมหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น โดยสืบคนผานเว็บไซต http://vpn.kku.ac.th และ
login ดวย user name และ password ที่ออกโดย ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    6
              5) ผู ใ ช บ ริ ก ารต อ งการหนั ง สื อ เช น หนั ง สื อ “Rural Development” มี ใ นห อ งสมุ ด
มหาวิทยาลัยขอนแกนหรือไม? อยางไร?
                  วิธีการ: ตรวจสอบใน WebOPAC ของหองสมุดกอน แตถาไมพบในหองสมุด สามารถ
ตรวจสอบจาก Union Catalog วามีที่หองสมุดอื่นๆหรือไม หากมีที่หองสมุดอื่นในประเทศไทยแนะนําให
ผูใชบริการติดตอขอถายสําเนาเอกสารผานบริการยืมระหวางหองสมุด (ILL) ไดที่ โตะบริการตอบคําถามและ
ชวยการคนควา หรือหากไมมีที่หองสมุดใดเลย สามารถสืบคนจากเว็บ http://books.google.com ได
              6) กรณีการตอบคําถามบางคําถามที่ไมสามารถคนหาคําตอบจาก WebOPAC ได ในกรณีนี้
คําถามสวนใหญตองการคําตอบในเรื่องที่เปนเรื่องยอยที่แทรกในหนังสือทั่วไป หองสมุดไมไดจัดทําหัว
เรื่องยอยของเนื้อหาดังกลาวไว ดังนั้น จึงเปน การยากที่จ ะทําใหบรรณารักษทราบวาเรื่องดังกลาวอยูใ น
หนังสือเลมนั้น
                  วิธีการ: ผู ใ ห บริ ก ารสามารถค น หาหรื อ แนะนํ าผู ใช บริ การให ใช แหล งสารสนเทศบน
อินเทอรเน็ตที่คาดวาจะมีขอมูลที่ตองการ เชน Google ฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส เปนตน
              7) แหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม ไดแก
                        6.1) เว็บ http://books.google.com เปนเว็บไซตรวบรวมหนังสือทั่วโลก
                        6.2) เว็บ http://scholar.google.com เป น เว็ บไซตที่ร วบรวมบทความวิช าการและ
วิทยานิพนธทั่วโลก สามารถคนขอมูลไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    7
                                                     ภาคผนวก ก
                                                     ภาพกิจกรรม
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    8




                                                     ภาคผนวก ข


        แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    9

                                       การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอย
         เปนบริการหนึ่ง ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชในการ
ใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยสําหรับการเรียนการสอน การประชุมกลุมทํารายงาน และการศึกษาคนควาวิจัย
รวมกัน เปนรายกลุม ประมาณ 3-10 คน ในลัก ษณะของการใชทรัพยากรของหองสมุดประกอบการทํา
กิจกรรมเปนหลัก
v ผูมีสิทธิ์ใชบริการ :
         บุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน ไดแก อาจารย ขาราชการ ลูกจาง และนักศึกษา
v วันเวลาและสถานที่ใหบริการ
   วันจันทร- ศุกร เวลา 8.30 – 16.30 น. โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 4-6 อาคาร 2
                                                 เคานเตอรบริการวารสาร ชั้น 3 อาคาร 2
   วันจันทร- ศุกร หลังเวลา 16.30 น. โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนย
   วันเสาร-อาทิตย                              สารสนเทศ
v หองเรียนรูกลุมยอย ดังนี้
          1) หองเรียนรูกลุมยอยภายในหองหนังสือภาษาตางประเทศ มีจํานวน 5 หอง คือ
              • หองเรียนรูกลุมยอยหมายเลข 5/1 -5/4 จุได สูงสุด 10 คน และ 5/5 จุไดสูงสุด 4 คน
          2) หองเรียนรูกลุมยอยภายในหองหนังสือภาษาไทย มีจํานวน 3 หอง คือ
              • หองเรียนรูกลุมยอยหมายเลข 5/6 จุดไดสูงสุด 4 คน และ 5/7-5/10 จุได สูงสุด 10 คน
v แนวปฏิบัติในการใหบริการ
         1) การใหบริการถือระเบียบบริการหองวิจัยคนควาตามประกาศสํานักวิทยบริการ ฉบับที่ 1/2548
         2) วัตถุประสงคในการขอใชหองเรียนรูกลุมยอย เพื่อการเรียนการสอนและการคนควาวิจัยของ
มหาวิทยาลัยขอนแกน ยกเวน การสอนพิเศษหรือกิจกรรมอื่นๆ ที่เปนกิจกรรมสวนตัว
         3) อนุญาตใหใชหองเรียนรูกลุมยอยไดเมื่อผูใชแจงความประสงคขอใช ครั้งละ 3 คนขึ้นไป
         4) หลักฐานที่ใชประกอบในการขอใชบริการหองเรียนรูกลุมยอย คือ บัตรประจําตัวนักศึกษา/บัตร
ประจําตัวขาราชการ
         5) ระยะเวลาในการขอใช ครั้งละ 2 ชั่วโมง หากจําเปนตองใชบริการติดตอกัน ในกรณีที่ไมมีผูใช
คนอื่นแจงความประสงคขอใชหองเรียนรูกลุมยอยไว จะใชบริการติดตอกันไดอีก 1 ครั้ง ทั้งนี้ผูใชจะใช
หองเรียนรูกลุมยอยติดตอกันไดไมเกิน 2 ครั้ง หากมากกวา 2 ครั้งขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูใหบริการ และผูใช
จะตองมาแจงความประสงคในการขอใชหองตอ กอนหมดเวลาใช 15 นาที (ครั้งแรก) โดยดําเนินการดังนี้
              5.1) กรณีที่ผูใชตองการขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอภายในชวงเวลาราชการ บรรณารักษจะ
อนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการ
ชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    10
               5.2) กรณีที่ผูใชตองการขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอคาบเกี่ยวชวงนอกราชการ บรรณารักษจะ
อนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการ
ชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง และเวลาที่ขอใชหองหากเกินเวลา 16.30
น. เชน ผูใ ชไดใ ชหองเรียนรูกลุมยอยครั้งแรก เวลา 14.00-16.00 น. และเวลาที่ข อใชใ หมคือ ตั้งแตเวลา
16.00-18.00 น. เปนตน บรรณารักษจะตองแจงผูขอใชหองเรียนรูกลุมยอยใหติดตอขอรับบัตรประจําตัวคืน
                                                    
ที่ บรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนยสารสนเทศ
        6) เวลา 16.20-16.30 น. ผูใ หบริก ารหอ งเรีย นรูก ลุ มยอย ตองตรวจสอบความเรียบร อยของ
หองเรียนรูกลุมยอยกอนเลิกงานทุกครั้ง ไดแก
               6.1) เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ                     6.6) ปดไฟ
               6.2) ลบขอความบนกระดาน                         6.7) เก็บหนังสือที่นํามาใชในการศึกษาคนควาไป
               6.3) จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย                ไวที่ชั้นพัก (ถามี)
               6.4) ปดเครื่องปรับอากาศ                       6.8) ล็อคลูกบิดประตู
               6.5) ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี)

v ขั้นตอนการอนุญาตใหหองเรียนรูกลุมยอย
    1.1 ผูใ ชแจงความประสงคข อใชหองเรียนรูก ลุมยอย พรอมนําบัต รประจําตัว ขาราชการ/พนัก งาน
มหาวิทยาลัย/บัตรนักศึกษา* ที่ตองการใชบริการทุกคน และแสดงตัวผูใชตามบัตรประจําตัว
    1.2 บรรณารักษตรวจสอบสิทธิ์ของผูขอใชและจํานวนคนเขาใช วามีสิทธิ์ใชหองหรือไม
         1.2.1 กรณีไมมีสิทธิ์ บรรณารักษไมอนุญาตและแจงเหตุผลกับผูขอใช เชน บัตรประจําตัวหมดอายุ
จํานวนคนเขาใชมาไมครบมีเฉพาะบัตรประจําตัวเทานั้น เปนตน
         1.2.2 กรณีมีสิทธิ์ ใหดําเนินการในขอที่ 1.3 ตอไป
    1.3 ใหผูใชกรอกรายละเอียดการขอใชหอง ในแบบคําขอใชบริการ “แบบคําขอใชบริการหองเรียนรูกลุม
ยอย ชั้น 5” ไดแก ขอมูลของผูขอ คือ ชื่อ-นามสกุลผูขอ รหัสประจําตัว ภาควิชา/สาขาวิชา คณะที่สังกัด
วัตถุประสงคการขอใช จํานวนผูเขาใช และรายชื่อผูเขาใชหองทุกคน
    1.4 บรรณารักษเก็บบัตรประจําตัวไวเปนหลักฐาน (อยางนอย 3 ใบ) โดยแนบบัตรประจําตัวกับแบบคํา
ขอใชบริการ จากนั้นบรรณารักษแจงหมายเลขหองเรียนรูกลุมยอยที่อนุญาตและชวงเวลาขอใช เชน อนุญาตให
ใชหองเรียนรูกลุมยอย หมายเลข 5/2 เวลาที่ใชตั้งแต 9.00-11.00 น. เปนตน พรอมแจงขอปฏิบัติการใชหอง
รวมถึงหากตองการใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยตอ จะตองมาแจงความประสงคขอใชหองกอนหมดเวลาใช
งาน 15 นาที
    1.5 บรรณารักษสอบถามผูใชเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชอุปกรณ ไดแก ปากกา และแปรงลบกระดาน หรือไม

*
    สงวนสิทธิ์เฉพาะบัตรประจําตัวขาราชการ/พนักงานมหาวิทยาลัย/บัตรศึกษาเทานั้น ไมรับบัตรประชาชน
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    11
            1.5.1 หากใช ใหหยิบกลองอุปกรณตามหมายเลขหองที่แจง และแจงผูใชใหสงคืนเมื่อใชหองประชุม
เสร็จสิ้น
         1.5.2 หากไมใช ใหดําเนินการขั้นตอนที่ 1.5
    1.6 บรรณารักษนํากุญแจไปเปดหอง เปดไฟ เปดเครื่องปรับอากาศ และตรวจสภาพความเรียบรอยกอนการ
ใชหอง(เฉพาะชั้น 5)
    1.7 บรรณารักษเก็บกุญแจหองเรียนรูกลุมยอยไว
                                                        เริ่มตน


                                           ผูใชแจงความประสงคขอใชหอง


                                          ตรวจสอบวามีสิทธิ์เขาใชหรือไม?

                                                              มี
                                              ผูใชกรอกแบบคําขอใชหอง


                                     เก็บบัตรประจําตัวของผูขอแนบกับแบบคําขอ

                                แจงหมายเลขหอง ชวงเวลาที่ใช และขอปฏิบัติการใชหอง

                                                                               ไมใช
                                                  ใชอุปกรณหรือไม?
                                                                   ใช
                                                      สงกลองอุปกรณ


                                            เปดและตรวจสอบสภาพหองใหผูขอ


                                                     เก็บกุญแจหอง


                                                           จบ

 ขอควรสังเกต
    • การใหบริการทุกครั้งตองใชบัตรนักศึกษาเทานั้น ตามจํานวนที่ขอเขาใช
    • การใหบริการทุกครั้งตองสอบถามผูใชวา ตองการใชอุปกรณหรือไม
    • กรณีชวงเวลาที่ใหใชหองประชุมกลุมยอย คาบเกี่ยวกับนอกเวลาราชการ (หลังเวลา 16.30 น.) ให
       แจงผูใชบริการสงกลองอุปกรณและรับบัตรประจําตัวคืน ที่ โตะบริการตอบคําถามฯ ชั้น 2
    • ควรแจงขอปฏิบัติการใชหองใหผูใชทราบทุกครั้ง
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    12
การสงตอนอกเวลาราชการ (OT)
   • เวลา 16.25 น. ในเวลาราชการตองนําแฟมการใชหองฯสงใหบรรณารัก ษหัวหนาเวรนอกเวลา
       ราชการ
   • บันทึกแจงหองยอยที่มีการใชอุปกรณ (กรณีชั้น 5)
กรณีนอกเวลาราชการ (OT)
o กรณี OT ชั้น 2 โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา และชั้นอื่นๆ) ผูใหบริการสงมอบกุญแจหอง
   ใหผูขอเปดเอง

v ขั้นตอนการรับคืนหองเรียนรูกลุมยอย มีวิธีการดังนี้
                        เริ่ม ตน

                                                  ใชตอ
               ผูใ ช แ จง ขอใชห อ งตอ
                                                              แจง เวลาการใชใ หม
                       หรือ คืน หอ ง
                                คืน หอ ง

                สอบถามผูใ ชปด หอ ง
                 เรีย บรอ ยหรือ ไม                              ผูผูชใ ชดนการิ น การ
                                                                    ใ  ดําเนิ ํา เน
                                                   ไม
                                เรีย บรอ ย


                  คืน บัต รประจํา ตัว




                   ตรวจสอบความ
             ตรวจสอบความเรีย บรอ ย            เรีย บร อ ย
                 ของสภาพหอ ง
                  เรียบรอยของหอง

                              ไมเรี ยยบรอ ย
                              ไมเรียบรอ

         ปด ไฟ/ปด แอร/ ล็อ คลูกบ ิด ประตู




                           จบ



1. เมื่อกลุมผูขอใชไดใชหองครบตามเวลาที่กําหนด ผูใชแจงความประสงคจะขอใชตอหรือคืนหอง
      1.1. แจงขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอ โดย
          1.1.1. กรณีที่ระยะเวลาใชหองเรียนรูกลุมยอยตอภายในชวงเวลาราชการ กอนหมดเวลาใชหอง 15 นาที
(ครั้งแรก) ใหผูใชมาแจงความประสงคในการขอใชหองตอ โดยบรรณารักษจะอนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจง
ความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุม
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    13
ยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง เชน ผูใชไดใชหองเรียนรูกลุมยอย เวลา 9.00-11.00 น. และเวลาที่ขอใชใหมคือ ตั้งแต
เวลา 11.00-13.00 น. เปนตน
          1.1.2. กรณีที่ระยะเวลาใชหองเรียนรูกลุมยอยตอคาบเกี่ยวชวงนอกเวลาราชการ บรรณารักษจะอนุญาต
                                                
เมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการชวงใหมให
ทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง เชน ผูใชไดใชหองเรียนรูกลุมยอยครั้งแรก เวลา 14.00-
16.00 น. และเวลาที่ขอใชใหมคือ ตั้งแตเวลา 16.00-18.00 น. เปนตน บรรณารักษจะตองแจงผูใชใหติดตอ
ขอรับบัตรประจําตัวคืนที่ บรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนยสารสนเทศ
     1.2. แจงคืนหอง เมื่อเลิกใชงานแลว ใหดําเนินการขันตอนที่ 1.3
                                                              ้
     1.3. บรรณารักษสอบถามผูใชวา จัดสภาพหองและปดหองเรียบรอยหรือไม หากไมเรียบรอย เชน ไม
ล็อคลูกบิดประตู ลืมปดไฟ เปนตน แจงผูใชใหดําเนินการใหเรียบรอย
                - ขอปฏิบัติการจัดสภาพหองใหเรียบรอยกอนปดหอง คือ เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ ลบขอความ
บนกระดาน (ถามี) จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย เก็บหนังสือของหองสมุดที่นํามาใชในการเรียนรูไปไวที่ชั้นพัก
(ถามี) ปดเครื่องปรับอากาศ ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี) ปดไฟ และล็อคลูกบิดประตู
     1.4. บรรณารักษสงคืนบัตรประจําตัวใหกับผูใชทั้งหมด
     1.5. ในเวลา 16.20-16.30 น. บริการตรวจสอบสภาพความเรียบรอยของหองเรียนรูกลุมยอย    
     1.6. หากตรวจพบวาผูใชลืมปดไฟ หรือลืมปดเครื่องปรับอากาศ หรือมีเศษขยะ บรรณารักษดําเนินการ
ใหเรียบรอย และล็อคลูกบิดประตู
ขอควรสังเกต
     • การรับคืนกลองอุปกรณ ตองลงชื่อรับคืนดวยทุกครั้ง รวมถึงตรวจสอบอุปกรณภายในกลองให
          ครบถวน
กรณีนอกเวลาราชการ (OT)
          ผูใหบริการเก็บแบบคําขอที่มีการใหบริการแลว ใสไวในแฟมการใชบริการแตละชั้น
          เมื่อผูใชคืนหองและกลองอุปกรณ ใหบรรณารักษเวรเก็บกลองอุปกรณ (เฉพาะชั้น 5) ไวในตะกรา
          ของกลุมสาขามนุษยศาสตรฯ
          บรรณารักษเวรตรวจสอบหรือมอบหมายใหเจาหนาที่จัดชั้นชวยตรวจสอบความเรียบรอยของหอง
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    14
                                        ตัวอยางการขอใชหองเรียนรูกลุมยอย




ขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชบริการในการใชหองประชุมกลุมยอย
1. ผูประสงคที่จะใชบริการตองใชบัตรประจําตัวขาราชการ/พนักงานของรัฐ หรือบัตรนักศึกษา ที่ออกโดย
    มหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น จะไมอนุญาตใหใชบัตรประชาชน เนื่องจากตองการสงวนสิทธิ์นี้สําหรับ
    บุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น ไมบริการแกประชาชนทั่วไปที่มาใชบริการ
2. อนุญาตใหใชบริการแบบเปนกลุม โดยตองมีสมาชิกกลุมตั้งแต 3 คนขึ้นไป
3. อนุญาตใหใชไดครั้งละ 2 ชั่วโมง ติดตอกันไมเกิน 2 ครั้ง หากไมมีผูใชอื่นแจงความประสงคในการใชบริการไว
4. ใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยดวยความสุภาพ สํารวม และยิ้มแยมแจมใส
5. ไมสงเสียงดัง ไมนําอาหาร เครื่องดื่ม ของขบเคี้ยวมารับประทานในหองประชุมกลุมยอย
6. ไมทํากิจกรรมอื่นโดยเฉพาะการสอนพิเศษหรือกิจกรรมสวนตัว นอกเหนือจากการศึกษาคนควาเพื่อ
    ประกอบการเรียนการสอนและการวิจัย
7. ผูใชตองดูแลความเรียบรอยของหองเรียนรูกลุมยอยใหเรียบรอย กอนแจงคืนหองแกบรรณารักษ ไดแก
         7.1 เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ                    7.6 ปดไฟฟา
         7.2 ลบขอความบนกระดาน                        7.7 เก็บหนังสือที่นํามาใชในการศึกษาคนควาไปไวที่
         7.3 จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย               ชั้นพัก (ถามี)
         7.4 ปดเครื่องปรับอากาศ                      7.8 ล็อคลูกบิดประตู
         7.5 ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี)
         แลวแจงคืนหองเรียนรูกลุมกับบรรณารักษ พรอมรับบัตรประจําตัวคืน
8. ในระหวางการใชหองเรียนรูกลุมยอย หากบรรณารักษตรวจพบวาผูใชบริการใชหองประชุมกลุมยอยไม
    ตรงตามวัตถุประสงคและไมเหมาะสม สามารถงดใหบริการ
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    15

                                              การใหบริการยืมกรณีพิเศษ
         เปนบริการและหนาที่สวนหนึ่งของการใหบริการตอบคําถามและชวยการคนควาที่อํานวยความ
สะดวกแกผูใชในกรณีที่ตองการยืมทรัพยากรบางประเภทที่หองสมุดไมอนุญาตใหยืมออกหรือไมสามารถ
ยืมออกได เชน หนังสืออางอิง วิทยานิพนธฉบับหามยืมออก ฯลฯ เพื่อวัตถุประสงคในการสําเนาภาพสี ถาย
สไลด ถายเอกสาร และวัตถุประสงคอื่นๆ หากมีความจําเปนตองใชสิ่งพิมพนนจริง ซึ่งโดยปกติจะอยูในดุลย
                                                                                      ั้
พินิจ ของบรรณารัก ษที่ ใ ห บริ ก ารหรือ หัว หน ากลุม ภารกิจ จัด การสารสนเทศสาขามนุษ ยศาสตร และ
สังคมศาสตร มีรายละเอียดดังนี้
1. สถานที่ใหบริการ
         โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 5 อาคาร 2
2. วัน-เวลาใหบริการ
         วันจันทร-วันศุกร              เวลา 8.30 – 16.30 น.
3. ผูมีสิทธิ์ใชบริการ
         3.1 นักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ยังคงสถานภาพนักศึกษาในปจจุบัน และ/หรือเปนสมาชิก
หองสมุด
         3.2 อาจารย ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย และลูกจาง มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ยังคงสถานภาพ
บุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกน และ/หรือเปนสมาชิกหองสมุด
4. แนวปฏิบัติในการใหบริการ
     4.1 ทรัพยากรที่อนุญาตยืมกรณีพิเศษ ไดแก
         4.1.1 เป นสิ่ งพิ มพ ที่ ไม อนุ ญาตให ยื มออก เช น หนั งสื ออ างอิ ง (ยกเว น พจนานุ กรม สารนุ กรม)
วิทยานิพนธฉบับหามยืมออก ฯลฯ
         4.1.2 สื่อโสตทัศนวัสดุที่ไมอนุญาตใหยืมออก เชน สไลด ชุดการสอน แผนใส ฯลฯ
         4.1.3 หนังสือใหมที่อยูระหวางดําเนินการ
         4.1.4 สิ่งพิมพประเภทอื่นนอกเหนือจากขอ 4.1.1-4.1.3 เชน หนังสือทั่วไป หนังสือ Collection ญี่ปุน
เปนตน
     4.2 วัตถุประสงคที่ขอยืมกรณีพิเศษ ไดแก
         4.2.1 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 และ 4.1.2 ไปทําสําเนาภาพสี ถายสไลด อนุญาตใหยืมได
จํานวน 1 รายการ ระยะเวลา 3 วัน
         4.2.2 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1, 4.1.2 และ4.1.3 ไปถายเอกสารนอกหองสมุด เนื่องจากเครื่อง
ถายเอกสารขัดของ อนุญาตใหยืมได จํานวน 3 รายการ ไมเกิน 3 ชั่วโมง
         4.2.3 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 ไปประกอบการเรียนการสอน/ทํารายงาน/วิจัย/วิทยานิพนธ
อนุญาตใหยืมจํานวน 1 รายการ ระยะเวลา 1 วัน
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                      16
        4.2.4 กรณียืมทรัพยากร ขอ 4.1.3 และ 4.1.4 ไปประกอบการเรียนการสอน อนุญาตใหยืมได
จํานวน 3 รายการ ระยะเวลา 3 วัน
        4.2.5 กรณียืมทรัพยากรขอ 4.1.4 ไปประกอบการเรียนการสอน/ทํารายงาน/วิจัย/วิทยานิพนธ แตไม
สามารถยืมออกปกติได เนื่องจากอยูระหวางปดภาคเรียนและหองสมุดยังไมเปดบริการตออายุบัตรสมาชิก
อนุญาตใหยืมได จํานวน 3 รายการ ระยะเวลา 3 วัน
        4.2.6 กรณียืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 และ 4.1.2 เปน เวลานานกวาที่กําหนดแตไมเกิน 2 สัปดาห
จะตองทําบันทึกขอความแจงความประสงคลวงหนา มักพบกรณีนําไปใชเปนสื่อประกอบในการจัดการดาน
วิชาการ เชน การจัดทําหนังสือที่ระลึกมหาวิทยาลัยขอนแกน เปนตน
    4.3 การพิจารณานอกเหนือจาก ขอ 1 และ 2 ขึ้นอยูกับดุลพินิจของหัวหนากลุมหรือบรรณารักษ
    4.4 การยืมกรณีพิเศษทุกครั้งผูใหบริการจะตองเก็บบัตรประจําตัวขาราชการ/บัตรนักศึกษา/บัตรสมาชิก
หองสมุดของผูยืมไวเปนหลักฐานทุกครั้ง
    4.5 กรณีผูยืมไมสงคืนตามเวลาที่กําหนด ใหคิดคาปรับวันละ 5 บาทตอ เลม ตามระเบียบของของ
หองสมุด

5. ขั้นตอนการใหยืมสิ่งพิมพกรณีพิเศษ
                เริ่มตน                                         1) ผูใชแจงความประสงคขอยืมทรัพยากรกรณีพิเศษพรอม
                                                            แสดง บัตรนัก ศึกษา/บัตรสมาชิกหองสมุด/บัตรประจําตัวที่ออก
       ผูใชแจงขอยืมกรณีพิเศษ
       พรอมแสดงบัตรประจําตัว                               โดยมหาวิทยาลัย- ขอนแกน
                                                                 2) บรรณารัก ษสอบถามวัตถุประสงคของการขอยืมตาม
    สอบถามวัตถุประสงคการขอยืม
                                                            แนวปฏิบัติในการใหบริการยืมกรณีพิเศษ
      ตรวจสอบสิทธิ์ผูขอยืมและ
                                         ไม                     3) บรรณารักษตรวจสอบสิทธิ์ของผูใชและสภาพตัวเลมวา
                                                     2
           สภาพตัวเลม                                      ควรอนุญาตหรือไม
                   อนุญาต
 กรอกแบบคําขออนุญาตยืมกรณีพิเศษ 2ชุด
                                                                      3.1) ไมอนุญาต บรรณารักษแจงเหตุผล
                                                                      3.2) อนุญาต ดําเนินการขั้นตอไป
     ตรวจสอบรายละเอียดขอมูล         ไม       กรอกขอมูล        4) ใหผูใชกรอกรายละเอียดการขอยืมในแบบคําขอ (แบบ
         ครบถวนหรือไม                         เพิ่มเติม
                                                            อนุญาตยืมกรณีพิเศษ) ตนฉบับ 1 ชุด และสําเนา 1 ชุด
                ครบ
  ลงวันเวลาที่ขอยืมและกําหนดวันสงคืน                            5) ตรวจสอบข อ มู ล ในแบบคํ า ขอว า ข อ มู ล ครบถ ว น
                                                 2
          พรอมลงลายมือชื่อ
                                                            หรือไม
    สงตัวเลมพรอมตนฉบับแบบคําขอ
                                                ชี้แจง
                                                                      5.1) ไมครบถวน ใหผูยืมกรอกเพิ่มเติม
          อนุญาตยืมกรณีพิเศษ
                                               เหตุผล                 5.2) ครบถวน ดําเนินการขั้นตอไป
   เก็บสําเนาและแนบบัตรประจําตัวผูยืม                           6) บรรณารักษลงวันเวลาที่ยืมและการสงคืน พรอมลงชื่อ
                                                            ผูใหยืมในแบบคําขอ
                จบ
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                    17
     7) บรรณารักษสงตัวเลมแนบตนฉบับแบบคําขอยืมกรณีพิเศษกับตัวเลมใหกับผูใช พรอมแจงผูใชให
ติดตอเคานเตอรยืมคืนอีกครั้งกอนนําทรัพยากรออกนอกหองสมุด เพื่อลบสัญญาณแมเหล็ก และย้ํากับผูใช
วา หากนําตัวเลมมาสงคืนใหนําตนฉบับแบบคําขอมาดวย เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการตรวจสอบรับ
คืน
     8) เก็บสําเนาแบบคําขอยืมกรณีพิเศษ และบัตรประจําตัวของผูยืมไวเปนหลักฐาน
                                ตัวอยางแบบอนุญาตยืมกรณีพิเศษที่ใหบริการ




 การพิจารณาจัดเก็บหลักฐาน กรณีนอกเวลาราชการ
    • กรณีบุคลากรสังกัดคณะ แลวจัดเก็บหลักฐานการยืมกรณีพิเศษไวที่กลุมภารกิจ คือ
                                                                           
             - กลุมสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จัดเก็บหลักฐานของ คณะศึกษาศาสตร คณะ
มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะศิลปกรรมศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา บัณฑิต
วิทยาลัย คณะนิติศาสตร วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ (MBA) และวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น
             - กลุมสาขาวิท ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จัด เก็บหลัก ฐานของ คณะวิทยาศาสตร คณะ
เทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะเกษตรศาสตร และวิทยาเขตหนองคาย
             - กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จัดเก็บหลักฐานของ คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร
คณะเทคนิคการแพทย คณะทันตแพทยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร และคณะสัตว
แพทยศาสตร
    • กรณีบุคลากรสังกัดหนวยงานที่ไมใชคณะ ใหพิจารณาจากเนื้อหาสวนใหญของเรื่องที่ขอยืมกรณี
พิเศษ หรือถาคาบเกี่ยวทั้ง 3 สาขา ใหอยูในดุลพินิจของบรรณารักษผูใหบริการ และบันทึกแจงใหทราบใน
แบบฟอรมวา จัดเก็บหลักฐานที่กลุมภารกิจสาขาใด เพื่ออํานวยความสะดวกในการคืนบัตรใหแกผูใชบริการ
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                          18
    • ขั้นตอนการรับคืนกรณีพิเศษ

                       เริ่มตน                                              1. ผูใชนําทรัพยากรที่ยืมและแบบคําขอกรณี
                                                                        พิเศษ มาคืน ณ โตะบริการตอบคําถามและชว ย
         ผูใชนําทรัพยากรและแบบคําขอสงคืน                             การคนควา ชั้น 5 อาคาร 2
                                                                             2. บรรณารั ก ษ ต รวจสอบว า ตั ว เล ม และ
                    ตรวจสอบวา                 ไม     คิดคาปรับเกิน   ขอมูลในแบบคําขอยืมกรณีพิเศษ และวันที่กําหนด
                 สงตรงเวลาหรือไม                       กําหนดสง
                                                                        สงคืนวาสงตรงเวลาที่กําหนดหรือไม
                           ตรง
                                                                                 2.1) ไมตรงตามกําหนด ใหคิดคาปรับวันละ
                  ตรวจสอบสภาพ                 ชํารุด       แยกสง       5 บาท/เลม และดําเนินการขั้นตอไป
                   ชํารุดหรือไม                          ซอมแซม
                                                                                 2.2) ตรงตามกําหนด ดําเนินการขั้นตอไป
                              ไม
                                                                             3. บรรณารัก ษ ต รวจสอบสภาพตั ว เล ม ว า
    คนหาสําเนาแบบคําขอและบัตรประจําตัวของผู                           ชํารุดหรือไม
                                                                                 3.1) ชํารุด ใหแยกตัวเลมที่ชํารุดไวเพื่อสง
     รับทรัพยากรคืนและลงชื่อรับคืนในแบบคําขอ
                                                                        ซอมแซม และดําเนินการขั้นตอไป
              คืนบัตรประจําตัวใหผูใช                                          3.2) ไมชํารุด ดําเนินการขั้นตอไป
                                                                             4. คนหาสําเนาแบบคําขอและบัตรประจําตัว
        สงทรัพยากรคืนผานเคานเตอรยืม-คืน                             ของผูยื ม ที่ เก็ บ หลัก ฐานไว แฟ ม บริก ารยืม กรณี
                                                                        พิเศษ
                         จบ
                                                                             5. บรรณารักษรับทรัพยากรคืนและลงชื่อรับ
คืนในแบบคําขอยืมกรณีพิเศษทั้งตนฉบับและสําเนา
    6. บรรณารักษคืนบัตรประจําตัวใหผูใช
    7. บรรณารักษสงทรัพยากรที่รับคืนใหเคานเตอรยืม-คืนเพื่อตั้งสัญญาณแมเหล็ก หากมีตัวเลมที่ชํารุด
ใหแยกไวเพื่อสงซอมแซมตอไป
 การพิจารณา รับคืนกรณีพิเศษ กรณีนอกเวลาราชการ
    • การรับคืนทรัพยากร : ใหพิจารณาจากหลักฐานการใหยืมกรณีพิเศษ โดยดูจากชื่อผูอนุญาตใหยืม
      หากผูใ ชบริก ารไมนําหลัก ฐานการยืมกรณีพิเศษมาดว ย ใหพิจารณาจากเนื้อหาของทรัพยากร
      สวนตัวเลมที่รับคืนกรณีพิเศษใหนําไปตั้งสัญญาณที่หลังเคานเตอรยืม-คืน
รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ

                                                                                                                        19
                                        การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด
         การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด เปนสวนหนึ่งของการใหบริการตอบคําถามและชวยการ
คน ควา ซึ่งบรรณารัก ษจ ะตองชว ยเหลือผูใ ชใ นการตรวจสอบรายการเอกสารที่ตองการใหแนชัดกอน
ดําเนินการขอจากหองสมุดอื่นภายนอกมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อประหยัดเวลาและคาใชจาย ซึ่งการรับเรื่อง
มี2 ประเภท คือ
         1. รับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุดสําหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกน
         2. รับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุดสําหรับบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยขอนแกน

    ลักษณะการใหบริการ
        1) ขอทําสําเนาถายเอกสาร ไดแก บทความ หนังสือ วิทยานิพนธ และเอกสารวิชาการตางๆ จาก
มหาวิทยาลัยตางๆ
        2) ขอยื มฉบั บจริง จากห องสมุ ด วิทยาเขตหนองคาย สํ าหรั บนัก ศึ ก ษาปริ ญญาตรี ชั้ น ปที่ 1-4
มหาวิทยาลัยขอนแกน ยกเวน นักศึกระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย/ขาราชการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ใหขอผาน
บริการ D.D.

    ขั้นตอนการใหบริการ
                                                          เริ่มตน


                                         ผูใชแจงความประสงคขอใชบริการยืมระหวาง
                                                หองสมุดและแสดงบัตรประจําตัว


                                                                                            มี   ชี้แหลงที่จัดเก็บใน
                                            ตรวจสอบวามีในหองสมุด มข.หรือไม
                                                                                                     หองสมุด มข.
                                                                ไมมี
                                              ตรวจสอบบรรณานุกรมจากแหลง
                                                สารสนเทศอื่นที่ตองการขอ


                                        ผูใชกรอกแบบฟอรมคําขอยืมระหวางหองสมุด


                                                                                      ไม
                                                   ตรวจสอบความถูกตอง

                                                                 ถูกตอง
                                                    เก็บเงินมัดจําเอกสาร


                                        ออกใบนัดรับเอกสารพรอมแจงสถานที่รับเอกสาร


                                      สงแบบคําขอพรอมเงินมัดจําใหผูรับผิดชอบดําเนินการ


                                                               จบ
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook
Reference Service Handbook

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Brand in the hand ooh
Brand in the hand oohBrand in the hand ooh
Brand in the hand ooh
 
Taktikk – møte kristiano fc
Taktikk – møte kristiano fcTaktikk – møte kristiano fc
Taktikk – møte kristiano fc
 
Taktikk – møte kristiano fc
Taktikk – møte kristiano fcTaktikk – møte kristiano fc
Taktikk – møte kristiano fc
 
CauseLab - Share Our Strength Briefing
CauseLab - Share Our Strength BriefingCauseLab - Share Our Strength Briefing
CauseLab - Share Our Strength Briefing
 
Brand in the Hand
Brand in the HandBrand in the Hand
Brand in the Hand
 
Comic literacy facts
Comic   literacy factsComic   literacy facts
Comic literacy facts
 
Animoto ideas
Animoto ideasAnimoto ideas
Animoto ideas
 
Storytelling Quotes a la Bernajean
Storytelling Quotes a la BernajeanStorytelling Quotes a la Bernajean
Storytelling Quotes a la Bernajean
 
NetSafety w/ Anne Collier
NetSafety w/ Anne CollierNetSafety w/ Anne Collier
NetSafety w/ Anne Collier
 
StoryTelling Quotes a la Bernajean
StoryTelling Quotes a la BernajeanStoryTelling Quotes a la Bernajean
StoryTelling Quotes a la Bernajean
 
USB
USBUSB
USB
 
Jaro.net
Jaro.netJaro.net
Jaro.net
 
Societe akční novinky
Societe akční novinkySociete akční novinky
Societe akční novinky
 
Predstaveni společnosti Societe
Predstaveni společnosti Societe Predstaveni společnosti Societe
Predstaveni společnosti Societe
 
Katalog sweet christmas 2014
Katalog sweet christmas 2014Katalog sweet christmas 2014
Katalog sweet christmas 2014
 
Flyer of reflective gifts
Flyer of reflective giftsFlyer of reflective gifts
Flyer of reflective gifts
 
Reflective visibility products
Reflective visibility productsReflective visibility products
Reflective visibility products
 
Paper bags
Paper bagsPaper bags
Paper bags
 
CauseLab - Feeding America briefing
CauseLab - Feeding America briefingCauseLab - Feeding America briefing
CauseLab - Feeding America briefing
 
Travel bags
Travel bagsTravel bags
Travel bags
 

Similar to Reference Service Handbook

แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยMaximo Gift
 
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยMaximo Gift
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551KKU Library
 
Annual report2553
Annual report2553Annual report2553
Annual report2553KKU Library
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference serviceeden95487
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference serviceKKU Library
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555RMUTT
 
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการ
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการบริการและแนวปฏิบัติการให้บริการ
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการKKU Library
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550KKU Library
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...ประชาสัมพันธ์ สพป.สตูล
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์Nichakorn Sengsui
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนSosad ByKok
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 

Similar to Reference Service Handbook (20)

แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
 
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทยแผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
แผ่นพับแนะนำห้องสมุดภาษาไทย
 
Annual report2551
Annual report2551Annual report2551
Annual report2551
 
Annual report2553
Annual report2553Annual report2553
Annual report2553
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
Mancha
ManchaMancha
Mancha
 
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
รายงานการประชุมหัวหน้าแผนกครั้งที่ 8 2555
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการ
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการบริการและแนวปฏิบัติการให้บริการ
บริการและแนวปฏิบัติการให้บริการ
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
คู่มือการติดต่อราชการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล งานบริการและขั...
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2552
 
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
รายงานโครงการธนาคารโรงเรียนมัธยมศึกษาจุฬาภรณ์
 
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียนคู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
คู่มือการปฏิบัติงานรับเรื่องราวร้องเรียน
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
Kumu 61
Kumu 61Kumu 61
Kumu 61
 

More from Yuwadee

Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Yuwadee
 
TrainingSearch
TrainingSearchTrainingSearch
TrainingSearchYuwadee
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
If business2008
If business2008If business2008
If business2008Yuwadee
 
IFsocialsci2008
IFsocialsci2008IFsocialsci2008
IFsocialsci2008Yuwadee
 
IFlib2008
IFlib2008IFlib2008
IFlib2008Yuwadee
 
If history2008
If history2008If history2008
If history2008Yuwadee
 
If business2008
If business2008If business2008
If business2008Yuwadee
 
If edu2008
If edu2008If edu2008
If edu2008Yuwadee
 

More from Yuwadee (9)

Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3Newsletterphlibv2n3
Newsletterphlibv2n3
 
TrainingSearch
TrainingSearchTrainingSearch
TrainingSearch
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
If business2008
If business2008If business2008
If business2008
 
IFsocialsci2008
IFsocialsci2008IFsocialsci2008
IFsocialsci2008
 
IFlib2008
IFlib2008IFlib2008
IFlib2008
 
If history2008
If history2008If history2008
If history2008
 
If business2008
If business2008If business2008
If business2008
 
If edu2008
If edu2008If edu2008
If edu2008
 

Reference Service Handbook

  • 1. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรู เรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา กลุมภารกิจจัดการสารสนเทศสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สํานักวิทยบริการ (สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู มหาวิทยาลัยขอนแกน 2552
  • 2. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรู เรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ผูรวบรวมและเรียบเรียงโดย นางยุวดี เพชระ กลุมภารกิจจัดการสารสนเทศสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร สํานักวิทยบริการ (สํานักหอสมุดและทรัพยากรการเรียนรู มหาวิทยาลัยขอนแกน 2552
  • 3. คํานํา หอสมุดกลาง สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ไดจัดจุดบริการตอบคําถามและชวยการ คน ควาทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการขึ้น จึงถือเปน จุด บริก ารหนาดานและมีค วามสําคัญ ที่ ชวยเหลือและสงเสริมใหผูรับบริการใชทรัพยากรสารสนเทศเพิ่มขึ้น รวมถึงเปนจุดบริการติดตอใหบริการ อื่นๆ อาทิเชน บริการยืมกรณีพิเศษ บริการหองเรียนรูกลุมยอย บริการรับเรื่องยืมระหวางหองสมุด เปนตน ดั ง นั้ น กลุ ม ภารกิ จ จั ด การสารสนเทศสาขามนุ ษ ยศาสตร แ ละสั ง คมศาสตร สํ า นั ก วิ ท ยบริ ก าร มหาวิทยาลัยขอนแกน จึงเห็นถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว จึงไดจัดทําโครงการประชุมแลกเปลี่ยนความรู บริการตอบคําถามและชว ยการคนควาขึ้น เพื่อใหทราบถึงวิธีการและแนวปฏิบัติในการใหบริการ ณ จุด บริการตอบคําถามและชวยการคนควาและแหลงที่ใชในการตอบคําถามและชวยเหลือผูใชบริการ จากการจัด โครงการ 2 ครั้งที่ผานมา ผูเขารวมโครงการมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและประสบการณเกี่ยวกับการ ใหบริก ารและปญหาที่เกิด ขึ้น รวมถึงการหาแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุด เพื่อปรับปรุงและพัฒ นาการ ใหบริการที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผูจัดทํา มีนาคม 2552
  • 4. สารบัญ หนา คํานํา ก ผลโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา 1 1. แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา 1 2. ประเด็นปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการ 1 3. แนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการใหบริการ แนวการคนหาคําตอบ และแหลง สารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม 3 ภาคผนวก - ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม 7 - ภาคผนวก ข แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา 8 o การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอย 9 o การใหบริการยืมกรณีพิเศษ 15 o การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด 19 o การใหบริการหนังสือ Old Stack / Gift 24 o บริการสืบคนสารสนเทศ 25 - ภาคผนวก ค โครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา 28
  • 5. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 1 ผลโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควา วันที่ 29 มกราคม 2552 และ 12 กุมภาพันธ 2552 เวลา 9.00-12.00 น. การจัดโครงการ KM บริการตอบคําถามและชวยการคนควาทั้ง 2 ครั้งนี้เปนการกลาวถึงแนวปฏิบัติ และทบทวนการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ตลอดจนแหลงสารสนเทศที่ใช ในการตอบคําถามและชวยเหลือผูใชบริการ รวมถึงการแนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการ ใหบริก าร เพื่อใชเปน ขอมูลในการตอบคําถามและชว ยการคน ควาแกผูใ ชบริก าร ผลการจัด ครั้งนี้แบง ออกเปน 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 ประกอบดวย แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา คือ บริการหองเรียนรูกลุมยอย บริการยืมกรณีพิเศษ การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด การรับเรื่องการ แจงหนังสือหาไมพบ การรับเรื่องบริการสืบคนสารสนเทศ และอื่นๆ สวนที่ 2 ประกอบดวย ประเด็น ปญหา การแลกเปลี่ยนความคิด เห็น เกี่ย วกับการใหบริก าร และ แนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการที่สนับสนุนการใหบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น สวนที่ 3 ประกอบดว ย แนะนําฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริก ารใหบริการ แนวการ คนหาคําตอบ และแหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม โดยสรุปผลดังตอไปนี้ 1. แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา คือ บริการหองเรียนรูกลุม ยอย บริการยืมกรณีพิเศษ การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด การรับเรื่องการแจงหนังสือหาไมพบ การรับเรื่องบริการสืบคนสารสนเทศ และอื่นๆ (ดูเพิ่มเติมที่ ภาคผนวก ข) 2. ประเด็นปญหา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแนวทางหรือขอตกลงในการใหบริการที่สนับสนุนการ ใหบริการมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.1 การบริก ารยืมกรณีพิเศษ ในกรณีการเก็บหลักฐานในการขอใชบริการยืมกรณีพิเศษ กลุม ผูเขารวมไดเสนอและมีมติใหใชบัตรประจําตัวนักศึกษา/ขาราชการ/บุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน หรือบัตรประจําตัวประชาชน แทนไดในกรณีที่มีความจําเปนจะตองใชบัตรประจําตัวนักศึกษา/ขาราชการ/ บุคลากร เขา-ออกหองสมุดหรือใชในการเขาหองสอบ 2.2 การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอยหรือหองประชุมกลุมยอย มีดังนี้ 1) ในกรณีนักศึก ษาป.โท/ป.เอกมาขอใชหองฯ กลุมยอย เพีย ง 1-2 คน มีวิธีก ารใหบริการ อยางไร? วิธีการใหบริการ: ผูใหบริการจะตองอธิบาย/ชี้แจงระเบียบการใชหองเรียนรูกลุมยอยให นักศึกษาเขาใจ แตหากนักศึกษามีความจําเปนที่จะตองใช สามารถพิจารณาใหบริการดังนี้
  • 6. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 2 1.1) ใหผูใชติดตอขออนุญาตกับหัวหนากลุมภารกิจโดยตรง หรือ 1.2) ดูจํานวนการใชหอง ถามีไมมาก สามารถอนุญาตได และชี้แจงเหตุผลที่อนุญาต ดวย แตหากมีกลุมผูใชอื่นมาขอใชหองดังกลาว จะตองใหกลุมผูใชนั้นเขาใชตามระเบียบ 2) นักศึกษาขอใชหองแตนําบัตรประจําตัวมาแค 3 ใบ จําเปนจะตองเก็บบัตรประจําตัวทุกใบ  ตามจํานวนคนเขาใชหรือไม? วิธีการใหบริการ: หากเปนไปไดผูใหบริการควรเก็บบัตรประจําตัวของผูขอใชทุกคนไว แต ถาไมสามารถทําได ใหเก็บบัตรประจําตัวอยางนอย 3 ใบไวเปนหลักฐานตามระเบียบการขอใชหอง 3) ผูเขารวมกิจกรรมมีมติวา ควรมีการจัดทําระเบียบการใชหองติดภายในหองประชุมกลุม ยอยทุกหอง เพื่อประชาสัมพันธใหกับผูใชบริการทุกคนไดทราบ 2.3 การรับคํารองแจงหนังสือหาไมพบ สมาชิกนําเสนอแนวปฏิบัติในการรับคํารอง โดยปฏิบัติดังนี้ 1) แนวปฏิบัติของในเวลาราชการ มีวิธีการดังนี้ 1.1) รับเรื่องจากผูใช แลวตรวจสอบใน WebOPAC และบนชั้นหนังสืออีกครั้ง เพื่อให แนใจวาหนังสือไมอยูบนชั้น 1.2) เมื่อหาหนังสือไมพบ ใหผูใชกรอกแบบคํารองแจงหนังสือหาไมพบ จากนั้นสง ตอใหกับเจาหนาที่จัดชั้นประจําแตละชั้น 1.3) แจงผูใชวา จะแจงผลการหาใหทราบภายใน 3 วันทําการ 2) แนวปฏิบัติของนอกเวลาราชการ มีวิธีการดังนี้ 2.1) บรรณารักษเวรบริการตอบคําถามและชวยการคนควารับเรื่องจากผูใช ใหผูใ ช กรอกแบบคํารองแจงหาหนังสือไมพบ แลวตรวจสอบใน WebOPAC และบนชั้นหนังสืออีกครั้ง เพื่อให แนใจวาหนังสือไมอยูบนชั้น 2.2) เมื่อหาหนังสือไมพบ จากนั้นสงคํารองตอใหในเวลาราชการดําเนินการตอ โดย แยกตามเนื้อหาทรัพยากรของกลุมภารกิจ ดังนี้ 2..2.1) หมวด A-P กลุมมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรรับผิดชอบ 2.2.2) หมวด R กลุมวิทยาศาสตร-สุขภาพรับผิดชอบ 2.2.3) หมวด Q-Z (ยกเวน หมวด R) กลุมวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีรับผิดชอบ  2.3) แจงผูใชวา จะแจงผลการหาใหทราบภายใน 3 วันทําการ * สําหรับกลุมภารกิจฯ สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร : เจาหนาที่จัดชั้นจะเปนผูดําเนินการ คนหา/แจงผูใชใหมารับตัวเลม กับผูแจงเองโดยตรง 2.4 กรณีที่ผูใชบริการมาแจงของหายกับบรรณารักษ หรือมีผูเก็บสิ่งของที่ผูใชบริการคนอื่นลืมไว มาสงใหบรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา วิธีการใหบริการ: ใหบรรณารักษบริการตอบคําถามฯ บันทึกของหายในสมุดบันทึกประจําวัน ที่อยูโตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ไดแก รายการสิ่งของหาย สถานที่เก็บได ชื่อผูเก็บได/แจง
  • 7. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 3 วัน-เวลาที่แจง ชื่อผูรับแจง และหลังเวลา 16.30 น. นําสงรายการสิ่งของหายใหกับบรรณารักษหัวหนาเวร นอกเวลาราชการ (OT) บริการตอบคําถามฯ ชั้น 2 และใหบรรณารักษหัวหนาเวร บันทึกการรับสิ่งของหาย ในสมุดดวย แลวเก็บสมุดบันทึกฯ ในตะกราเอกสารของกลุมภารกิจ (ตะกราสีเขียว) 3. แนะนําฐานข อ มูล อิเ ล็ ก ทรอนิ ก สที่ สํานั ก วิท ยบริ ก ารให บ ริก าร แนวการคน หาคํ าตอบ และแหล ง สารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม 3.1 ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สํานักวิทยบริการใหบริการ ประกอบดวย 1) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จําแนกเปน กลุม E-Journal เปนฐานขอมูลที่สวนใหญใหเอกสารฉบับเต็ม ไดแก ทางดานสังคมศาสตร คือ ฐาน Project MUSE และ ฐาน Oxford Journal Online ดานการศึกษา บรรณารักษศาสตรและสารสนเทศศาสตร และการบริหารการ จัดการ คือ Wilson Web, Emerald Management Xtra, JSTOR the Scholarly Journal Archive : Business กลุม E-Database เปนฐานขอมูลที่สวนใหญใหบทคัดยอ ไดแก ทางดานการศึกษา คือ ฐาน ERIC ซึ่งเปน ฐานขอมูลฟรีออนไลน 2) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จําแนกเปน กลุม E-Journal ไดแก ทางดานวิทยาศาสตร คือ ฐาน Science/AAAS และ ฐาน Nature Online ดานเคมี คือ ACS Publications ดานฟสิก ส คือ APS (Online Journal American Physical Society) AIP (Online Journal Publishing Service) ดานเกษตรศาสตร คือ ProQuest Agriculture Journals ดานวิศวกรรมศาสตร คือ ASCE The American Society of Civil Engineering (วิ ศ วกรรมโยธา), ASME/Technical Journals (วิศวกรรมเครื่องกล), ACM Digital Library (วิศวกรรมคอมพิวเตอร/เทคโนโลยีคอมพิวเตอร), IEEE/IEE Electronic Library Online (วิศวกรรมไฟฟา/อิเล็กทรอนิกส) และกลุม E-Database ไดแก ทางดานชีววิทยา คือ ฐาน CSA: Biological Science Database Online ดานเคมี คือ SciFinder ดานเกษตรศาสตร คื อ AGRICOLA (Agricultural Online Access) 3) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จําแนกเปน กลุม E-Journal ไดแก ทางดานแพทยศาสตร/วิทยาศาสตรสุขภาพ คือ ฐาน ProQuest Medical Library ดานทันตแพทยศาสตร คือ Critical Reviews in Oralbiology & Medicine, Cleft Palate Craniofacial Journal, British Dental Journal และ Clinical infectious diseases ป 2004 ซึ่งบอกรับโดยหองสมุดคณะทันตแพทยศาสตร ดานพยาบาลศาสตร คือ ฐานขอมูล CINAHL with Full Text และกลุม E-Database ไดแก ฐาน PubMed
  • 8. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 4 4) ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิก สสหสาขา จําแนกเปน กลุม E-Journal ไดแก Science Direct [บอกรับโดย สกอ.], Cambridge Journals Online, Annual Reviews, Wilson OmniFile: Full Text Select, Blackwell Journals Online, Wilson Web กลุม E-Database ไดแก ISI Web of Science, ฐานขอมูล JCR (คน Impact factor วารสารภาษาตางประเทศ) และกลุม E-Thesis ไดแก CHE PDF Dissertation Fulltext, ProQuest Dissertation Abstracts, วิ ทยานิพนธ การคน ควาอิ สระ มหาวิท ยาลั ย ของไทย ของThaiLIS (http://dcms.thailis.or.th/) เอกสารฉบับเต็ม และ ฐานขอมูลวิทยานิพนธไทย (Thai Theses Online by TIAC) (http://thesis.stks.or.th/) บทคัดยอ ส ว นรายละเอี ย ดของฐานข อ มู ล ต า งๆ สามารถดู ไ ด ที่ เว็ บ http://lib09.kku.ac.th/libhus/ index.php?id=497fd37a37532#comments 3.2 แนวการคนหาคําตอบ และแหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม สรุปไดดังนี้ 1) กรณีที่ผูใชบริการสอบถามวา มีชื่อวารสารภาษาตางประเทศเต็มจะเขียนยอวาอยางไร หรือ ชื่อวารสารนั้นเปนตัวยอ จะเขียนเต็มวาอยางไร วิธีการ: ในการคนหาคําตอบนั้น จะมีหนังสือที่รวบรวมรายชื่อวารสารนั้นๆ ไว แตจัดเก็บ ไวที่จุดบริการตอบคําถามและชว ยการคนควา ชั้น 5 บางครั้งทําใหไมสะดวกในการคนหาและแนะนํา ผูใชบริการได เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใหบริการและผูใชหองสมุด มีเว็บสําหรับตรวจสอบชื่อเต็มหรือ ชื่อยอของวารสารมากมาย เชน Journal Abbreviation on Web, Journal Abbreviation Resources on the Web, Web of Science Journal Title Abbreviations, FRONTIERS IN BIOSCIENCE เปนตน ขอแนะนําเว็บไซตที่ มีการรวบรวมรายชื่อวารสาร ไดแก Journal Abbreviation on Web (url: http://journalseek.net/) 2) กรณีที่ผูใชตองการหาบทความดานลางนี้ มีวิธีการอยางไร? วิธีการ: ใหคน จาก WebOPAC ของหองสมุด ในสวนบทความวารสารภาษาไทย เลือก ทางเลือก ชื่อผูแตง เพื่อตรวจสอบใหแนใจวามีในหองสมุดจริง แลวจึงไปหยิบตัวเลมวารสารที่ชั้น 2 ของ หอสมุดกลาง
  • 9. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 5 3) กรณีที่ผูใชตองการหาวิทยานิพนธตางประเทศรายการดานลางนี้ มีวิธีการอยางไร? วิธีการ: รายการขางตนจะตองคนจากหนังสือ Dissertation Abstracts International ซึ่ง หอสมุด กลางไดจําหนายหนังสือดังกลาวออกแลว แตสามารถใชฐาน ProQuest Dissertation Abstracts คนหารายการดังกลาวแทนได วิธีการคนหาใหใช Advance Search เลือกที่ title พิมพชื่อเรื่อง “Critical elements in the development of a new family school” จะเปนขอมูลรายการบรรณานุกรมพรอมบทคัดยอ ดังภาพ พิมพชื่อเรื่อง คลิกเลือก “Document Title” และคลิก Search คลิกเลือกฐาน “Dissertation & Thesis” เมื่อคลิกที่ Abstract 4) ผูใชบริการคนขอมูลในฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสที่หองสมุดจัดใหบริการจากที่บาน แตไมสามารถอานเอกสารฉบับเต็ม (Fulltext) ได วิธีการ: ในการอานเอกสารฉบับเต็ม (Fulltext) ในฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกสจากที่ บาน จะตองผานระบบเครือขายมหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น โดยสืบคนผานเว็บไซต http://vpn.kku.ac.th และ login ดวย user name และ password ที่ออกโดย ศูนยคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยขอนแกน
  • 10. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 6 5) ผู ใ ช บ ริ ก ารต อ งการหนั ง สื อ เช น หนั ง สื อ “Rural Development” มี ใ นห อ งสมุ ด มหาวิทยาลัยขอนแกนหรือไม? อยางไร? วิธีการ: ตรวจสอบใน WebOPAC ของหองสมุดกอน แตถาไมพบในหองสมุด สามารถ ตรวจสอบจาก Union Catalog วามีที่หองสมุดอื่นๆหรือไม หากมีที่หองสมุดอื่นในประเทศไทยแนะนําให ผูใชบริการติดตอขอถายสําเนาเอกสารผานบริการยืมระหวางหองสมุด (ILL) ไดที่ โตะบริการตอบคําถามและ ชวยการคนควา หรือหากไมมีที่หองสมุดใดเลย สามารถสืบคนจากเว็บ http://books.google.com ได 6) กรณีการตอบคําถามบางคําถามที่ไมสามารถคนหาคําตอบจาก WebOPAC ได ในกรณีนี้ คําถามสวนใหญตองการคําตอบในเรื่องที่เปนเรื่องยอยที่แทรกในหนังสือทั่วไป หองสมุดไมไดจัดทําหัว เรื่องยอยของเนื้อหาดังกลาวไว ดังนั้น จึงเปน การยากที่จ ะทําใหบรรณารักษทราบวาเรื่องดังกลาวอยูใ น หนังสือเลมนั้น วิธีการ: ผู ใ ห บริ ก ารสามารถค น หาหรื อ แนะนํ าผู ใช บริ การให ใช แหล งสารสนเทศบน อินเทอรเน็ตที่คาดวาจะมีขอมูลที่ตองการ เชน Google ฐานขอมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส เปนตน 7) แหลงสารสนเทศที่ใชในการตอบคําถาม ไดแก 6.1) เว็บ http://books.google.com เปนเว็บไซตรวบรวมหนังสือทั่วโลก 6.2) เว็บ http://scholar.google.com เป น เว็ บไซตที่ร วบรวมบทความวิช าการและ วิทยานิพนธทั่วโลก สามารถคนขอมูลไดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
  • 11. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 7 ภาคผนวก ก ภาพกิจกรรม
  • 12. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 8 ภาคผนวก ข แนวปฏิบัติการใหบริการตางๆ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา
  • 13. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 9 การใหบริการหองเรียนรูกลุมยอย เปนบริการหนึ่ง ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูใชในการ ใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยสําหรับการเรียนการสอน การประชุมกลุมทํารายงาน และการศึกษาคนควาวิจัย รวมกัน เปนรายกลุม ประมาณ 3-10 คน ในลัก ษณะของการใชทรัพยากรของหองสมุดประกอบการทํา กิจกรรมเปนหลัก v ผูมีสิทธิ์ใชบริการ : บุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยขอนแกน ไดแก อาจารย ขาราชการ ลูกจาง และนักศึกษา v วันเวลาและสถานที่ใหบริการ วันจันทร- ศุกร เวลา 8.30 – 16.30 น. โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 4-6 อาคาร 2 เคานเตอรบริการวารสาร ชั้น 3 อาคาร 2 วันจันทร- ศุกร หลังเวลา 16.30 น. โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนย วันเสาร-อาทิตย สารสนเทศ v หองเรียนรูกลุมยอย ดังนี้ 1) หองเรียนรูกลุมยอยภายในหองหนังสือภาษาตางประเทศ มีจํานวน 5 หอง คือ • หองเรียนรูกลุมยอยหมายเลข 5/1 -5/4 จุได สูงสุด 10 คน และ 5/5 จุไดสูงสุด 4 คน 2) หองเรียนรูกลุมยอยภายในหองหนังสือภาษาไทย มีจํานวน 3 หอง คือ • หองเรียนรูกลุมยอยหมายเลข 5/6 จุดไดสูงสุด 4 คน และ 5/7-5/10 จุได สูงสุด 10 คน v แนวปฏิบัติในการใหบริการ 1) การใหบริการถือระเบียบบริการหองวิจัยคนควาตามประกาศสํานักวิทยบริการ ฉบับที่ 1/2548 2) วัตถุประสงคในการขอใชหองเรียนรูกลุมยอย เพื่อการเรียนการสอนและการคนควาวิจัยของ มหาวิทยาลัยขอนแกน ยกเวน การสอนพิเศษหรือกิจกรรมอื่นๆ ที่เปนกิจกรรมสวนตัว 3) อนุญาตใหใชหองเรียนรูกลุมยอยไดเมื่อผูใชแจงความประสงคขอใช ครั้งละ 3 คนขึ้นไป 4) หลักฐานที่ใชประกอบในการขอใชบริการหองเรียนรูกลุมยอย คือ บัตรประจําตัวนักศึกษา/บัตร ประจําตัวขาราชการ 5) ระยะเวลาในการขอใช ครั้งละ 2 ชั่วโมง หากจําเปนตองใชบริการติดตอกัน ในกรณีที่ไมมีผูใช คนอื่นแจงความประสงคขอใชหองเรียนรูกลุมยอยไว จะใชบริการติดตอกันไดอีก 1 ครั้ง ทั้งนี้ผูใชจะใช หองเรียนรูกลุมยอยติดตอกันไดไมเกิน 2 ครั้ง หากมากกวา 2 ครั้งขึ้นอยูกับดุลพินิจของผูใหบริการ และผูใช จะตองมาแจงความประสงคในการขอใชหองตอ กอนหมดเวลาใช 15 นาที (ครั้งแรก) โดยดําเนินการดังนี้ 5.1) กรณีที่ผูใชตองการขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอภายในชวงเวลาราชการ บรรณารักษจะ อนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการ ชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง
  • 14. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 10 5.2) กรณีที่ผูใชตองการขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอคาบเกี่ยวชวงนอกราชการ บรรณารักษจะ อนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการ ชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง และเวลาที่ขอใชหองหากเกินเวลา 16.30 น. เชน ผูใ ชไดใ ชหองเรียนรูกลุมยอยครั้งแรก เวลา 14.00-16.00 น. และเวลาที่ข อใชใ หมคือ ตั้งแตเวลา 16.00-18.00 น. เปนตน บรรณารักษจะตองแจงผูขอใชหองเรียนรูกลุมยอยใหติดตอขอรับบัตรประจําตัวคืน  ที่ บรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนยสารสนเทศ 6) เวลา 16.20-16.30 น. ผูใ หบริก ารหอ งเรีย นรูก ลุ มยอย ตองตรวจสอบความเรียบร อยของ หองเรียนรูกลุมยอยกอนเลิกงานทุกครั้ง ไดแก 6.1) เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ 6.6) ปดไฟ 6.2) ลบขอความบนกระดาน 6.7) เก็บหนังสือที่นํามาใชในการศึกษาคนควาไป 6.3) จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย ไวที่ชั้นพัก (ถามี) 6.4) ปดเครื่องปรับอากาศ 6.8) ล็อคลูกบิดประตู 6.5) ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี) v ขั้นตอนการอนุญาตใหหองเรียนรูกลุมยอย 1.1 ผูใ ชแจงความประสงคข อใชหองเรียนรูก ลุมยอย พรอมนําบัต รประจําตัว ขาราชการ/พนัก งาน มหาวิทยาลัย/บัตรนักศึกษา* ที่ตองการใชบริการทุกคน และแสดงตัวผูใชตามบัตรประจําตัว 1.2 บรรณารักษตรวจสอบสิทธิ์ของผูขอใชและจํานวนคนเขาใช วามีสิทธิ์ใชหองหรือไม 1.2.1 กรณีไมมีสิทธิ์ บรรณารักษไมอนุญาตและแจงเหตุผลกับผูขอใช เชน บัตรประจําตัวหมดอายุ จํานวนคนเขาใชมาไมครบมีเฉพาะบัตรประจําตัวเทานั้น เปนตน 1.2.2 กรณีมีสิทธิ์ ใหดําเนินการในขอที่ 1.3 ตอไป 1.3 ใหผูใชกรอกรายละเอียดการขอใชหอง ในแบบคําขอใชบริการ “แบบคําขอใชบริการหองเรียนรูกลุม ยอย ชั้น 5” ไดแก ขอมูลของผูขอ คือ ชื่อ-นามสกุลผูขอ รหัสประจําตัว ภาควิชา/สาขาวิชา คณะที่สังกัด วัตถุประสงคการขอใช จํานวนผูเขาใช และรายชื่อผูเขาใชหองทุกคน 1.4 บรรณารักษเก็บบัตรประจําตัวไวเปนหลักฐาน (อยางนอย 3 ใบ) โดยแนบบัตรประจําตัวกับแบบคํา ขอใชบริการ จากนั้นบรรณารักษแจงหมายเลขหองเรียนรูกลุมยอยที่อนุญาตและชวงเวลาขอใช เชน อนุญาตให ใชหองเรียนรูกลุมยอย หมายเลข 5/2 เวลาที่ใชตั้งแต 9.00-11.00 น. เปนตน พรอมแจงขอปฏิบัติการใชหอง รวมถึงหากตองการใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยตอ จะตองมาแจงความประสงคขอใชหองกอนหมดเวลาใช งาน 15 นาที 1.5 บรรณารักษสอบถามผูใชเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชอุปกรณ ไดแก ปากกา และแปรงลบกระดาน หรือไม * สงวนสิทธิ์เฉพาะบัตรประจําตัวขาราชการ/พนักงานมหาวิทยาลัย/บัตรศึกษาเทานั้น ไมรับบัตรประชาชน
  • 15. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 11 1.5.1 หากใช ใหหยิบกลองอุปกรณตามหมายเลขหองที่แจง และแจงผูใชใหสงคืนเมื่อใชหองประชุม เสร็จสิ้น 1.5.2 หากไมใช ใหดําเนินการขั้นตอนที่ 1.5 1.6 บรรณารักษนํากุญแจไปเปดหอง เปดไฟ เปดเครื่องปรับอากาศ และตรวจสภาพความเรียบรอยกอนการ ใชหอง(เฉพาะชั้น 5) 1.7 บรรณารักษเก็บกุญแจหองเรียนรูกลุมยอยไว เริ่มตน ผูใชแจงความประสงคขอใชหอง ตรวจสอบวามีสิทธิ์เขาใชหรือไม? มี ผูใชกรอกแบบคําขอใชหอง เก็บบัตรประจําตัวของผูขอแนบกับแบบคําขอ แจงหมายเลขหอง ชวงเวลาที่ใช และขอปฏิบัติการใชหอง ไมใช ใชอุปกรณหรือไม? ใช สงกลองอุปกรณ เปดและตรวจสอบสภาพหองใหผูขอ เก็บกุญแจหอง จบ ขอควรสังเกต • การใหบริการทุกครั้งตองใชบัตรนักศึกษาเทานั้น ตามจํานวนที่ขอเขาใช • การใหบริการทุกครั้งตองสอบถามผูใชวา ตองการใชอุปกรณหรือไม • กรณีชวงเวลาที่ใหใชหองประชุมกลุมยอย คาบเกี่ยวกับนอกเวลาราชการ (หลังเวลา 16.30 น.) ให แจงผูใชบริการสงกลองอุปกรณและรับบัตรประจําตัวคืน ที่ โตะบริการตอบคําถามฯ ชั้น 2 • ควรแจงขอปฏิบัติการใชหองใหผูใชทราบทุกครั้ง
  • 16. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 12 การสงตอนอกเวลาราชการ (OT) • เวลา 16.25 น. ในเวลาราชการตองนําแฟมการใชหองฯสงใหบรรณารัก ษหัวหนาเวรนอกเวลา ราชการ • บันทึกแจงหองยอยที่มีการใชอุปกรณ (กรณีชั้น 5) กรณีนอกเวลาราชการ (OT) o กรณี OT ชั้น 2 โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา และชั้นอื่นๆ) ผูใหบริการสงมอบกุญแจหอง ใหผูขอเปดเอง v ขั้นตอนการรับคืนหองเรียนรูกลุมยอย มีวิธีการดังนี้ เริ่ม ตน ใชตอ ผูใ ช แ จง ขอใชห อ งตอ แจง เวลาการใชใ หม หรือ คืน หอ ง คืน หอ ง สอบถามผูใ ชปด หอ ง เรีย บรอ ยหรือ ไม ผูผูชใ ชดนการิ น การ ใ  ดําเนิ ํา เน ไม เรีย บรอ ย คืน บัต รประจํา ตัว ตรวจสอบความ ตรวจสอบความเรีย บรอ ย เรีย บร อ ย ของสภาพหอ ง เรียบรอยของหอง ไมเรี ยยบรอ ย ไมเรียบรอ ปด ไฟ/ปด แอร/ ล็อ คลูกบ ิด ประตู จบ 1. เมื่อกลุมผูขอใชไดใชหองครบตามเวลาที่กําหนด ผูใชแจงความประสงคจะขอใชตอหรือคืนหอง 1.1. แจงขอใชหองเรียนรูกลุมยอยตอ โดย 1.1.1. กรณีที่ระยะเวลาใชหองเรียนรูกลุมยอยตอภายในชวงเวลาราชการ กอนหมดเวลาใชหอง 15 นาที (ครั้งแรก) ใหผูใชมาแจงความประสงคในการขอใชหองตอ โดยบรรณารักษจะอนุญาตเมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจง ความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการชวงใหมใหทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุม
  • 17. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 13 ยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง เชน ผูใชไดใชหองเรียนรูกลุมยอย เวลา 9.00-11.00 น. และเวลาที่ขอใชใหมคือ ตั้งแต เวลา 11.00-13.00 น. เปนตน 1.1.2. กรณีที่ระยะเวลาใชหองเรียนรูกลุมยอยตอคาบเกี่ยวชวงนอกเวลาราชการ บรรณารักษจะอนุญาต  เมื่อไมมีผูใชกลุมอื่นแจงความประสงคในการขอใชหองไว บรรณารักษจะแจงเวลาการใชบริการชวงใหมให ทราบ โดยใชหองเรียนรูกลุมยอยตอไดอีกเพียง 1 ครั้ง เชน ผูใชไดใชหองเรียนรูกลุมยอยครั้งแรก เวลา 14.00- 16.00 น. และเวลาที่ขอใชใหมคือ ตั้งแตเวลา 16.00-18.00 น. เปนตน บรรณารักษจะตองแจงผูใชใหติดตอ ขอรับบัตรประจําตัวคืนที่ บรรณารักษบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 2 อาคารศูนยสารสนเทศ 1.2. แจงคืนหอง เมื่อเลิกใชงานแลว ใหดําเนินการขันตอนที่ 1.3 ้ 1.3. บรรณารักษสอบถามผูใชวา จัดสภาพหองและปดหองเรียบรอยหรือไม หากไมเรียบรอย เชน ไม ล็อคลูกบิดประตู ลืมปดไฟ เปนตน แจงผูใชใหดําเนินการใหเรียบรอย - ขอปฏิบัติการจัดสภาพหองใหเรียบรอยกอนปดหอง คือ เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ ลบขอความ บนกระดาน (ถามี) จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย เก็บหนังสือของหองสมุดที่นํามาใชในการเรียนรูไปไวที่ชั้นพัก (ถามี) ปดเครื่องปรับอากาศ ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี) ปดไฟ และล็อคลูกบิดประตู 1.4. บรรณารักษสงคืนบัตรประจําตัวใหกับผูใชทั้งหมด 1.5. ในเวลา 16.20-16.30 น. บริการตรวจสอบสภาพความเรียบรอยของหองเรียนรูกลุมยอย  1.6. หากตรวจพบวาผูใชลืมปดไฟ หรือลืมปดเครื่องปรับอากาศ หรือมีเศษขยะ บรรณารักษดําเนินการ ใหเรียบรอย และล็อคลูกบิดประตู ขอควรสังเกต • การรับคืนกลองอุปกรณ ตองลงชื่อรับคืนดวยทุกครั้ง รวมถึงตรวจสอบอุปกรณภายในกลองให ครบถวน กรณีนอกเวลาราชการ (OT) ผูใหบริการเก็บแบบคําขอที่มีการใหบริการแลว ใสไวในแฟมการใชบริการแตละชั้น เมื่อผูใชคืนหองและกลองอุปกรณ ใหบรรณารักษเวรเก็บกลองอุปกรณ (เฉพาะชั้น 5) ไวในตะกรา ของกลุมสาขามนุษยศาสตรฯ บรรณารักษเวรตรวจสอบหรือมอบหมายใหเจาหนาที่จัดชั้นชวยตรวจสอบความเรียบรอยของหอง
  • 18. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 14 ตัวอยางการขอใชหองเรียนรูกลุมยอย ขอควรปฏิบัติสําหรับผูใชบริการในการใชหองประชุมกลุมยอย 1. ผูประสงคที่จะใชบริการตองใชบัตรประจําตัวขาราชการ/พนักงานของรัฐ หรือบัตรนักศึกษา ที่ออกโดย มหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น จะไมอนุญาตใหใชบัตรประชาชน เนื่องจากตองการสงวนสิทธิ์นี้สําหรับ บุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกนเทานั้น ไมบริการแกประชาชนทั่วไปที่มาใชบริการ 2. อนุญาตใหใชบริการแบบเปนกลุม โดยตองมีสมาชิกกลุมตั้งแต 3 คนขึ้นไป 3. อนุญาตใหใชไดครั้งละ 2 ชั่วโมง ติดตอกันไมเกิน 2 ครั้ง หากไมมีผูใชอื่นแจงความประสงคในการใชบริการไว 4. ใชบริการหองเรียนรูกลุมยอยดวยความสุภาพ สํารวม และยิ้มแยมแจมใส 5. ไมสงเสียงดัง ไมนําอาหาร เครื่องดื่ม ของขบเคี้ยวมารับประทานในหองประชุมกลุมยอย 6. ไมทํากิจกรรมอื่นโดยเฉพาะการสอนพิเศษหรือกิจกรรมสวนตัว นอกเหนือจากการศึกษาคนควาเพื่อ ประกอบการเรียนการสอนและการวิจัย 7. ผูใชตองดูแลความเรียบรอยของหองเรียนรูกลุมยอยใหเรียบรอย กอนแจงคืนหองแกบรรณารักษ ไดแก 7.1 เก็บเศษวัสดุทิ้งลงขยะ 7.6 ปดไฟฟา 7.2 ลบขอความบนกระดาน 7.7 เก็บหนังสือที่นํามาใชในการศึกษาคนควาไปไวที่ 7.3 จัดโตะเกาอี้ใหเรียบรอย ชั้นพัก (ถามี) 7.4 ปดเครื่องปรับอากาศ 7.8 ล็อคลูกบิดประตู 7.5 ปดพัดลมดูดอากาศ (ถามี) แลวแจงคืนหองเรียนรูกลุมกับบรรณารักษ พรอมรับบัตรประจําตัวคืน 8. ในระหวางการใชหองเรียนรูกลุมยอย หากบรรณารักษตรวจพบวาผูใชบริการใชหองประชุมกลุมยอยไม ตรงตามวัตถุประสงคและไมเหมาะสม สามารถงดใหบริการ
  • 19. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 15 การใหบริการยืมกรณีพิเศษ เปนบริการและหนาที่สวนหนึ่งของการใหบริการตอบคําถามและชวยการคนควาที่อํานวยความ สะดวกแกผูใชในกรณีที่ตองการยืมทรัพยากรบางประเภทที่หองสมุดไมอนุญาตใหยืมออกหรือไมสามารถ ยืมออกได เชน หนังสืออางอิง วิทยานิพนธฉบับหามยืมออก ฯลฯ เพื่อวัตถุประสงคในการสําเนาภาพสี ถาย สไลด ถายเอกสาร และวัตถุประสงคอื่นๆ หากมีความจําเปนตองใชสิ่งพิมพนนจริง ซึ่งโดยปกติจะอยูในดุลย ั้ พินิจ ของบรรณารัก ษที่ ใ ห บริ ก ารหรือ หัว หน ากลุม ภารกิจ จัด การสารสนเทศสาขามนุษ ยศาสตร และ สังคมศาสตร มีรายละเอียดดังนี้ 1. สถานที่ใหบริการ โตะบริการตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น 5 อาคาร 2 2. วัน-เวลาใหบริการ วันจันทร-วันศุกร เวลา 8.30 – 16.30 น. 3. ผูมีสิทธิ์ใชบริการ 3.1 นักศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ยังคงสถานภาพนักศึกษาในปจจุบัน และ/หรือเปนสมาชิก หองสมุด 3.2 อาจารย ขาราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย และลูกจาง มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ยังคงสถานภาพ บุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกน และ/หรือเปนสมาชิกหองสมุด 4. แนวปฏิบัติในการใหบริการ 4.1 ทรัพยากรที่อนุญาตยืมกรณีพิเศษ ไดแก 4.1.1 เป นสิ่ งพิ มพ ที่ ไม อนุ ญาตให ยื มออก เช น หนั งสื ออ างอิ ง (ยกเว น พจนานุ กรม สารนุ กรม) วิทยานิพนธฉบับหามยืมออก ฯลฯ 4.1.2 สื่อโสตทัศนวัสดุที่ไมอนุญาตใหยืมออก เชน สไลด ชุดการสอน แผนใส ฯลฯ 4.1.3 หนังสือใหมที่อยูระหวางดําเนินการ 4.1.4 สิ่งพิมพประเภทอื่นนอกเหนือจากขอ 4.1.1-4.1.3 เชน หนังสือทั่วไป หนังสือ Collection ญี่ปุน เปนตน 4.2 วัตถุประสงคที่ขอยืมกรณีพิเศษ ไดแก 4.2.1 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 และ 4.1.2 ไปทําสําเนาภาพสี ถายสไลด อนุญาตใหยืมได จํานวน 1 รายการ ระยะเวลา 3 วัน 4.2.2 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1, 4.1.2 และ4.1.3 ไปถายเอกสารนอกหองสมุด เนื่องจากเครื่อง ถายเอกสารขัดของ อนุญาตใหยืมได จํานวน 3 รายการ ไมเกิน 3 ชั่วโมง 4.2.3 กรณีขอยืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 ไปประกอบการเรียนการสอน/ทํารายงาน/วิจัย/วิทยานิพนธ อนุญาตใหยืมจํานวน 1 รายการ ระยะเวลา 1 วัน
  • 20. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 16 4.2.4 กรณียืมทรัพยากร ขอ 4.1.3 และ 4.1.4 ไปประกอบการเรียนการสอน อนุญาตใหยืมได จํานวน 3 รายการ ระยะเวลา 3 วัน 4.2.5 กรณียืมทรัพยากรขอ 4.1.4 ไปประกอบการเรียนการสอน/ทํารายงาน/วิจัย/วิทยานิพนธ แตไม สามารถยืมออกปกติได เนื่องจากอยูระหวางปดภาคเรียนและหองสมุดยังไมเปดบริการตออายุบัตรสมาชิก อนุญาตใหยืมได จํานวน 3 รายการ ระยะเวลา 3 วัน 4.2.6 กรณียืมทรัพยากร ขอ 4.1.1 และ 4.1.2 เปน เวลานานกวาที่กําหนดแตไมเกิน 2 สัปดาห จะตองทําบันทึกขอความแจงความประสงคลวงหนา มักพบกรณีนําไปใชเปนสื่อประกอบในการจัดการดาน วิชาการ เชน การจัดทําหนังสือที่ระลึกมหาวิทยาลัยขอนแกน เปนตน 4.3 การพิจารณานอกเหนือจาก ขอ 1 และ 2 ขึ้นอยูกับดุลพินิจของหัวหนากลุมหรือบรรณารักษ 4.4 การยืมกรณีพิเศษทุกครั้งผูใหบริการจะตองเก็บบัตรประจําตัวขาราชการ/บัตรนักศึกษา/บัตรสมาชิก หองสมุดของผูยืมไวเปนหลักฐานทุกครั้ง 4.5 กรณีผูยืมไมสงคืนตามเวลาที่กําหนด ใหคิดคาปรับวันละ 5 บาทตอ เลม ตามระเบียบของของ หองสมุด 5. ขั้นตอนการใหยืมสิ่งพิมพกรณีพิเศษ เริ่มตน 1) ผูใชแจงความประสงคขอยืมทรัพยากรกรณีพิเศษพรอม แสดง บัตรนัก ศึกษา/บัตรสมาชิกหองสมุด/บัตรประจําตัวที่ออก ผูใชแจงขอยืมกรณีพิเศษ พรอมแสดงบัตรประจําตัว โดยมหาวิทยาลัย- ขอนแกน 2) บรรณารัก ษสอบถามวัตถุประสงคของการขอยืมตาม สอบถามวัตถุประสงคการขอยืม แนวปฏิบัติในการใหบริการยืมกรณีพิเศษ ตรวจสอบสิทธิ์ผูขอยืมและ ไม 3) บรรณารักษตรวจสอบสิทธิ์ของผูใชและสภาพตัวเลมวา 2 สภาพตัวเลม ควรอนุญาตหรือไม อนุญาต กรอกแบบคําขออนุญาตยืมกรณีพิเศษ 2ชุด 3.1) ไมอนุญาต บรรณารักษแจงเหตุผล 3.2) อนุญาต ดําเนินการขั้นตอไป ตรวจสอบรายละเอียดขอมูล ไม กรอกขอมูล 4) ใหผูใชกรอกรายละเอียดการขอยืมในแบบคําขอ (แบบ ครบถวนหรือไม เพิ่มเติม อนุญาตยืมกรณีพิเศษ) ตนฉบับ 1 ชุด และสําเนา 1 ชุด ครบ ลงวันเวลาที่ขอยืมและกําหนดวันสงคืน 5) ตรวจสอบข อ มู ล ในแบบคํ า ขอว า ข อ มู ล ครบถ ว น 2 พรอมลงลายมือชื่อ หรือไม สงตัวเลมพรอมตนฉบับแบบคําขอ ชี้แจง 5.1) ไมครบถวน ใหผูยืมกรอกเพิ่มเติม อนุญาตยืมกรณีพิเศษ เหตุผล 5.2) ครบถวน ดําเนินการขั้นตอไป เก็บสําเนาและแนบบัตรประจําตัวผูยืม 6) บรรณารักษลงวันเวลาที่ยืมและการสงคืน พรอมลงชื่อ ผูใหยืมในแบบคําขอ จบ
  • 21. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 17 7) บรรณารักษสงตัวเลมแนบตนฉบับแบบคําขอยืมกรณีพิเศษกับตัวเลมใหกับผูใช พรอมแจงผูใชให ติดตอเคานเตอรยืมคืนอีกครั้งกอนนําทรัพยากรออกนอกหองสมุด เพื่อลบสัญญาณแมเหล็ก และย้ํากับผูใช วา หากนําตัวเลมมาสงคืนใหนําตนฉบับแบบคําขอมาดวย เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการตรวจสอบรับ คืน 8) เก็บสําเนาแบบคําขอยืมกรณีพิเศษ และบัตรประจําตัวของผูยืมไวเปนหลักฐาน ตัวอยางแบบอนุญาตยืมกรณีพิเศษที่ใหบริการ การพิจารณาจัดเก็บหลักฐาน กรณีนอกเวลาราชการ • กรณีบุคลากรสังกัดคณะ แลวจัดเก็บหลักฐานการยืมกรณีพิเศษไวที่กลุมภารกิจ คือ  - กลุมสาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร จัดเก็บหลักฐานของ คณะศึกษาศาสตร คณะ มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร คณะวิทยาการจัดการ คณะศิลปกรรมศาสตร สถาบันวิจัยและพัฒนา บัณฑิต วิทยาลัย คณะนิติศาสตร วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ (MBA) และวิทยาลัยการปกครองทองถิ่น - กลุมสาขาวิท ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี จัด เก็บหลัก ฐานของ คณะวิทยาศาสตร คณะ เทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร คณะสถาปตยกรรมศาสตร คณะเกษตรศาสตร และวิทยาเขตหนองคาย - กลุมสาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ จัดเก็บหลักฐานของ คณะแพทยศาสตร คณะเภสัชศาสตร คณะเทคนิคการแพทย คณะทันตแพทยศาสตร คณะพยาบาลศาสตร คณะสาธารณสุขศาสตร และคณะสัตว แพทยศาสตร • กรณีบุคลากรสังกัดหนวยงานที่ไมใชคณะ ใหพิจารณาจากเนื้อหาสวนใหญของเรื่องที่ขอยืมกรณี พิเศษ หรือถาคาบเกี่ยวทั้ง 3 สาขา ใหอยูในดุลพินิจของบรรณารักษผูใหบริการ และบันทึกแจงใหทราบใน แบบฟอรมวา จัดเก็บหลักฐานที่กลุมภารกิจสาขาใด เพื่ออํานวยความสะดวกในการคืนบัตรใหแกผูใชบริการ
  • 22. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 18 • ขั้นตอนการรับคืนกรณีพิเศษ เริ่มตน 1. ผูใชนําทรัพยากรที่ยืมและแบบคําขอกรณี พิเศษ มาคืน ณ โตะบริการตอบคําถามและชว ย ผูใชนําทรัพยากรและแบบคําขอสงคืน การคนควา ชั้น 5 อาคาร 2 2. บรรณารั ก ษ ต รวจสอบว า ตั ว เล ม และ ตรวจสอบวา ไม คิดคาปรับเกิน ขอมูลในแบบคําขอยืมกรณีพิเศษ และวันที่กําหนด สงตรงเวลาหรือไม กําหนดสง สงคืนวาสงตรงเวลาที่กําหนดหรือไม ตรง 2.1) ไมตรงตามกําหนด ใหคิดคาปรับวันละ ตรวจสอบสภาพ ชํารุด แยกสง 5 บาท/เลม และดําเนินการขั้นตอไป ชํารุดหรือไม ซอมแซม 2.2) ตรงตามกําหนด ดําเนินการขั้นตอไป ไม 3. บรรณารัก ษ ต รวจสอบสภาพตั ว เล ม ว า คนหาสําเนาแบบคําขอและบัตรประจําตัวของผู ชํารุดหรือไม 3.1) ชํารุด ใหแยกตัวเลมที่ชํารุดไวเพื่อสง รับทรัพยากรคืนและลงชื่อรับคืนในแบบคําขอ ซอมแซม และดําเนินการขั้นตอไป คืนบัตรประจําตัวใหผูใช 3.2) ไมชํารุด ดําเนินการขั้นตอไป 4. คนหาสําเนาแบบคําขอและบัตรประจําตัว สงทรัพยากรคืนผานเคานเตอรยืม-คืน ของผูยื ม ที่ เก็ บ หลัก ฐานไว แฟ ม บริก ารยืม กรณี พิเศษ จบ 5. บรรณารักษรับทรัพยากรคืนและลงชื่อรับ คืนในแบบคําขอยืมกรณีพิเศษทั้งตนฉบับและสําเนา 6. บรรณารักษคืนบัตรประจําตัวใหผูใช 7. บรรณารักษสงทรัพยากรที่รับคืนใหเคานเตอรยืม-คืนเพื่อตั้งสัญญาณแมเหล็ก หากมีตัวเลมที่ชํารุด ใหแยกไวเพื่อสงซอมแซมตอไป การพิจารณา รับคืนกรณีพิเศษ กรณีนอกเวลาราชการ • การรับคืนทรัพยากร : ใหพิจารณาจากหลักฐานการใหยืมกรณีพิเศษ โดยดูจากชื่อผูอนุญาตใหยืม หากผูใ ชบริก ารไมนําหลัก ฐานการยืมกรณีพิเศษมาดว ย ใหพิจารณาจากเนื้อหาของทรัพยากร สวนตัวเลมที่รับคืนกรณีพิเศษใหนําไปตั้งสัญญาณที่หลังเคานเตอรยืม-คืน
  • 23. รายงานโครงการ KM อบรมและแลกเปลี่ยนความรูเรื่องการใหบริการ ณ จุดบริการตอบคําถามและชวยการคนควา โดย ยุวดี เพชระ 19 การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด การรับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุด เปนสวนหนึ่งของการใหบริการตอบคําถามและชวยการ คน ควา ซึ่งบรรณารัก ษจ ะตองชว ยเหลือผูใ ชใ นการตรวจสอบรายการเอกสารที่ตองการใหแนชัดกอน ดําเนินการขอจากหองสมุดอื่นภายนอกมหาวิทยาลัยขอนแกน เพื่อประหยัดเวลาและคาใชจาย ซึ่งการรับเรื่อง มี2 ประเภท คือ 1. รับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุดสําหรับบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแกน 2. รับเรื่องบริการยืมระหวางหองสมุดสําหรับบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยขอนแกน ลักษณะการใหบริการ 1) ขอทําสําเนาถายเอกสาร ไดแก บทความ หนังสือ วิทยานิพนธ และเอกสารวิชาการตางๆ จาก มหาวิทยาลัยตางๆ 2) ขอยื มฉบั บจริง จากห องสมุ ด วิทยาเขตหนองคาย สํ าหรั บนัก ศึ ก ษาปริ ญญาตรี ชั้ น ปที่ 1-4 มหาวิทยาลัยขอนแกน ยกเวน นักศึกระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย/ขาราชการ มหาวิทยาลัยขอนแกน ใหขอผาน บริการ D.D. ขั้นตอนการใหบริการ เริ่มตน ผูใชแจงความประสงคขอใชบริการยืมระหวาง หองสมุดและแสดงบัตรประจําตัว มี ชี้แหลงที่จัดเก็บใน ตรวจสอบวามีในหองสมุด มข.หรือไม หองสมุด มข. ไมมี ตรวจสอบบรรณานุกรมจากแหลง สารสนเทศอื่นที่ตองการขอ ผูใชกรอกแบบฟอรมคําขอยืมระหวางหองสมุด ไม ตรวจสอบความถูกตอง ถูกตอง เก็บเงินมัดจําเอกสาร ออกใบนัดรับเอกสารพรอมแจงสถานที่รับเอกสาร สงแบบคําขอพรอมเงินมัดจําใหผูรับผิดชอบดําเนินการ จบ