SlideShare a Scribd company logo
ที่มาและความสาคัญ
วิวัฒนาการ ในความหมายทั่วไป
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีก
สภาพหนึ่ง ในลักษณะจองการค่อยเป็นค่อยไป
ตามลาดับขึ้นโดยอาศัยระยะเวลาอันยาวนาน
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจึงหมายถึงการ
เปลี่ยนแปลงทีละน้อยจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมสืบต่อกั
นมาจนกลายเป็นสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน
ที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมอันเป็นผลจากพันธุ
กรรมและสิ่งแวดล้อม ดอบซานสกี
(Dobzhansky)
นักพันธุศาสตร์และวิวัฒนาการชาวรัสเซีย
ได้กล่าวไว้ดังนี้ “วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
คือกระบวนการเปลี่ยนแปลง
วนประกอบของพันธุกรรมของประชากรที่เกิดขึ้
นต่อเนื่องกัน
โดยการเปลี่ยนแปลงนี้อาจเกิดขึ้นเพียงบางส่วนห
รือทั้งหมดอันเป็นผล
มาจากปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เหมาะ
สมกับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะไม่มีการย้อนกลั
บเป็นอย่างเดิมอีก”
วิวัฒนาการของมนุษย์(evolution)
เมื่อประมาณ 20 ล้านปีที่ผ่านมา
เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
โดยมีทุ้งหญ้าขึ้นมาทดแทนป่าที่อุดมสมบูรณ์
ทาให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิด
มีวิวัฒนาการมาดารงชีวิตบนพื้นดินมากขึ้น
จากหลักการซากดึกดาบรรพ์และการเปรียบเทียบ
ลาดับเบสบน DNA ระหว่างมนุษย์และชิมแปนซี
พบว่ามนุษย์แยกสายวิวัฒนาการจากลิงไม่มีหางเมื่
อประมาณ 7-5ล้านปีที่ผ่านมา
การศึกษาค้นคว้าเปรียบเทียบซากดึกดาบรรพ์ของ
มนุษย์ในอดีต
นอกจากทาให้นักมนุษย์วิทยาทราบความเป็นมา
ของบรรพบุรุษมนุษย์ในอดีตแล้ว
ยังทาให้สามารถอธิบายถึงความเป็นอยู่
และการดาลงชีวิตของมนุษย์ในแต่ละยุดได้อีกด้ว
ย คือ
1. การอยู่เยี่ยงเดรัจฉาน ( savagery )
เป็นยุดที่มนุษย์เพศชายยังทาหน้าที่ล่าสัตว์และแส
วงหา พืช ผัก ผลไม้เป็นอาหารตามธรรมชาติ
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
1.1 ระยะก่อนรู้จักใช้ไฟและภาษา
ตรงกับยุดหินเช่นเก่า ( Eolithic )
พบในมนุษย์พวก Homo habilis
1.2 ระยะรู้จักใช้ไฟและภาษา
ตรงกับเก่าเช่นกัน มนุษย์พวกนี้รู้จักใช้ถ้าเป็นที่อยู่
อาศัย ได้แก่ พวกมนุษย์ Homo erectus
ซึ่งก็คือ มนุษย์ชวาและมนุษย์ปักกิ่ง นั้นเอง
1.3 ระยะรู้จักประดิษฐ์ธนูและลูกศร
ตรงกับยุดหินกลาง
มนุษย์พวกนี้รู้จักการใช้หนังสัตว์เป็นเครื่องนุ่งห่ม
ได้แก่มนุษย์Homo sapiens
2.การอยู่อย่างป่าเถื่อ(Babarism)เป็นบยุคที่มนุษย์รู้
จักการใช้โลหะทาเครื่องมือ ทาการเกษตรกรรม
ทอผ้า สังคมในยุคนี้มีระบบทาส
เพศชายมีภรรยาได้หลายคน
และทาหน้าที่ปกครองส่วนเพศหญิงทาหน้าที่เป็น
แม่บ้านแบ่งเป็น 3 ระยะคือ
2.1 ระยะแรกประมาณ 12000 ปีมาแล้ว
ยุคนี้มนุษย์รู้จักการปลูกบ้านสร้างเรือนเพื่ออยู่อาศั
ย รู้จักใช้ขวานมีด้ามและใช้เครื่องปั้นดินเผา
2.2 ระยะกลางประมาณ 10000
ปีมาแล้วมนุษย์ยุคนี้รู้จักการเลี้ยงสัตว์การเกษตรก
รรมรู้จักใช้สัตว์ช่วยในการไถนาหรือบรรทุกสิ่งข
อง
2.3 ระยะหลังประมาณ 7000ปีมาแล้ว
มนุษย์รู้จักใช้โลหะทาอาวุธหรือเครื่องมือเครื่องใ
ช้ต่างๆ
3.การอยู่อย่างมีอารยธรรม(Civilization)เป็นยุคที่
มนุษย์รู้จักการประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง
มีการใช้ตัวอักษรในการสื่อความหมาย
สังคมเปลี่ยนจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม
วิวัฒนาการของมนุษย์
จัดทาโดย
นาย ชยุต เหลืองทอง เลขที่5 ม.5/5
นายเตชสิทธิ์ ดาบแก้ว เลขที่7 ม.5/5
นาย เมธา งามขา เลขที่12 ม.5/5
นาย คงศักดิ์ ชูศรี เลขที่16 ม.5/5
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

Відстані у просторі
Відстані у просторіВідстані у просторі
Відстані у просторі
Elena Novitska
 
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
Igor Nitsovych
 
директорія унр
директорія унрдиректорія унр
директорія унр
snizhanagur
 
Розвязання трикутників
Розвязання трикутниківРозвязання трикутників
Розвязання трикутників
school8zv
 
таблиця опіка піклування
таблиця  опіка піклуваннятаблиця  опіка піклування
таблиця опіка піклування
larysaperesunko
 
Lab 2 chatina_3
Lab 2 chatina_3Lab 2 chatina_3
Lab 2 chatina_3
leka1401
 
Школи кінематографа - презентація 9 клас.
Школи кінематографа - презентація 9 клас.Школи кінематографа - презентація 9 клас.
Школи кінематографа - презентація 9 клас.
ssuser1af7d0
 
густина різних тіл
густина різних тілгустина різних тіл
густина різних тіл
Lena_7
 
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
ssusere6b370
 
7 клас контрольна робота 1а (математика)
7 клас контрольна робота 1а (математика)7 клас контрольна робота 1а (математика)
7 клас контрольна робота 1а (математика)
Andy Levkovich
 
Електромагнітне поле. Підсумковий урок з фізики 11 клас
Електромагнітне поле. Підсумковий  урок з фізики 11 класЕлектромагнітне поле. Підсумковий  урок з фізики 11 клас
Електромагнітне поле. Підсумковий урок з фізики 11 клас
InessaSenchenko
 
Арифметична прогресія
Арифметична прогресіяАрифметична прогресія
Арифметична прогресіяFormula.co.ua
 

What's hot (12)

Відстані у просторі
Відстані у просторіВідстані у просторі
Відстані у просторі
 
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
Konsult krok-2 (buclet 2016-2020)
 
директорія унр
директорія унрдиректорія унр
директорія унр
 
Розвязання трикутників
Розвязання трикутниківРозвязання трикутників
Розвязання трикутників
 
таблиця опіка піклування
таблиця  опіка піклуваннятаблиця  опіка піклування
таблиця опіка піклування
 
Lab 2 chatina_3
Lab 2 chatina_3Lab 2 chatina_3
Lab 2 chatina_3
 
Школи кінематографа - презентація 9 клас.
Школи кінематографа - презентація 9 клас.Школи кінематографа - презентація 9 клас.
Школи кінематографа - презентація 9 клас.
 
густина різних тіл
густина різних тілгустина різних тіл
густина різних тіл
 
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
Геометрична оптика як граничний випадок хвильової. Закони геометричної оптики...
 
7 клас контрольна робота 1а (математика)
7 клас контрольна робота 1а (математика)7 клас контрольна робота 1а (математика)
7 клас контрольна робота 1а (математика)
 
Електромагнітне поле. Підсумковий урок з фізики 11 клас
Електромагнітне поле. Підсумковий  урок з фізики 11 класЕлектромагнітне поле. Підсумковий  урок з фізики 11 клас
Електромагнітне поле. Підсумковий урок з фізики 11 клас
 
Арифметична прогресія
Арифметична прогресіяАрифметична прогресія
Арифметична прогресія
 

More from Kiw Kongsak Kc

แผ่นพับIs
แผ่นพับIsแผ่นพับIs
แผ่นพับIs
Kiw Kongsak Kc
 
วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์
Kiw Kongsak Kc
 
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Kiw Kongsak Kc
 
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Kiw Kongsak Kc
 
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้ Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
Kiw Kongsak Kc
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
Kiw Kongsak Kc
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Kiw Kongsak Kc
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Kiw Kongsak Kc
 

More from Kiw Kongsak Kc (8)

แผ่นพับIs
แผ่นพับIsแผ่นพับIs
แผ่นพับIs
 
วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์วิวัฒนาการของมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์
 
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
It new นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
 
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
Project ara นายวิศิษฏ์ มณีศรี เลขที่19 ม.5/5
 
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้ Facebook  คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16  แก้
Facebook คงศักดิ์ ชูศรี 4.5.16 แก้
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่ 1
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
 
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
Facebook นายคงศักดิ์ ชูศรี ม.4/5 เลขที่1
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

แผ่นพับIs

  • 1. ที่มาและความสาคัญ วิวัฒนาการ ในความหมายทั่วไป หมายถึง การเปลี่ยนแปลงจากสภาพหนึ่งไปสู่อีก สภาพหนึ่ง ในลักษณะจองการค่อยเป็นค่อยไป ตามลาดับขึ้นโดยอาศัยระยะเวลาอันยาวนาน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจึงหมายถึงการ เปลี่ยนแปลงทีละน้อยจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมสืบต่อกั นมาจนกลายเป็นสิ่งมีชีวิตในปัจจุบัน ที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตดั้งเดิมอันเป็นผลจากพันธุ กรรมและสิ่งแวดล้อม ดอบซานสกี (Dobzhansky) นักพันธุศาสตร์และวิวัฒนาการชาวรัสเซีย ได้กล่าวไว้ดังนี้ “วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต คือกระบวนการเปลี่ยนแปลง วนประกอบของพันธุกรรมของประชากรที่เกิดขึ้ นต่อเนื่องกัน โดยการเปลี่ยนแปลงนี้อาจเกิดขึ้นเพียงบางส่วนห รือทั้งหมดอันเป็นผล มาจากปฏิกิริยาที่สิ่งมีชีวิตมีการปรับตัวให้เหมาะ สมกับสิ่งแวดล้อม กระบวนการนี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะไม่มีการย้อนกลั บเป็นอย่างเดิมอีก” วิวัฒนาการของมนุษย์(evolution) เมื่อประมาณ 20 ล้านปีที่ผ่านมา เกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยมีทุ้งหญ้าขึ้นมาทดแทนป่าที่อุดมสมบูรณ์ ทาให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิด มีวิวัฒนาการมาดารงชีวิตบนพื้นดินมากขึ้น จากหลักการซากดึกดาบรรพ์และการเปรียบเทียบ ลาดับเบสบน DNA ระหว่างมนุษย์และชิมแปนซี พบว่ามนุษย์แยกสายวิวัฒนาการจากลิงไม่มีหางเมื่ อประมาณ 7-5ล้านปีที่ผ่านมา การศึกษาค้นคว้าเปรียบเทียบซากดึกดาบรรพ์ของ มนุษย์ในอดีต นอกจากทาให้นักมนุษย์วิทยาทราบความเป็นมา ของบรรพบุรุษมนุษย์ในอดีตแล้ว ยังทาให้สามารถอธิบายถึงความเป็นอยู่ และการดาลงชีวิตของมนุษย์ในแต่ละยุดได้อีกด้ว ย คือ 1. การอยู่เยี่ยงเดรัจฉาน ( savagery ) เป็นยุดที่มนุษย์เพศชายยังทาหน้าที่ล่าสัตว์และแส วงหา พืช ผัก ผลไม้เป็นอาหารตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ 1.1 ระยะก่อนรู้จักใช้ไฟและภาษา ตรงกับยุดหินเช่นเก่า ( Eolithic ) พบในมนุษย์พวก Homo habilis
  • 2. 1.2 ระยะรู้จักใช้ไฟและภาษา ตรงกับเก่าเช่นกัน มนุษย์พวกนี้รู้จักใช้ถ้าเป็นที่อยู่ อาศัย ได้แก่ พวกมนุษย์ Homo erectus ซึ่งก็คือ มนุษย์ชวาและมนุษย์ปักกิ่ง นั้นเอง 1.3 ระยะรู้จักประดิษฐ์ธนูและลูกศร ตรงกับยุดหินกลาง มนุษย์พวกนี้รู้จักการใช้หนังสัตว์เป็นเครื่องนุ่งห่ม ได้แก่มนุษย์Homo sapiens 2.การอยู่อย่างป่าเถื่อ(Babarism)เป็นบยุคที่มนุษย์รู้ จักการใช้โลหะทาเครื่องมือ ทาการเกษตรกรรม ทอผ้า สังคมในยุคนี้มีระบบทาส เพศชายมีภรรยาได้หลายคน และทาหน้าที่ปกครองส่วนเพศหญิงทาหน้าที่เป็น แม่บ้านแบ่งเป็น 3 ระยะคือ 2.1 ระยะแรกประมาณ 12000 ปีมาแล้ว ยุคนี้มนุษย์รู้จักการปลูกบ้านสร้างเรือนเพื่ออยู่อาศั ย รู้จักใช้ขวานมีด้ามและใช้เครื่องปั้นดินเผา 2.2 ระยะกลางประมาณ 10000 ปีมาแล้วมนุษย์ยุคนี้รู้จักการเลี้ยงสัตว์การเกษตรก รรมรู้จักใช้สัตว์ช่วยในการไถนาหรือบรรทุกสิ่งข อง 2.3 ระยะหลังประมาณ 7000ปีมาแล้ว มนุษย์รู้จักใช้โลหะทาอาวุธหรือเครื่องมือเครื่องใ ช้ต่างๆ 3.การอยู่อย่างมีอารยธรรม(Civilization)เป็นยุคที่ มนุษย์รู้จักการประดิษฐ์เครื่องทุ่นแรง มีการใช้ตัวอักษรในการสื่อความหมาย สังคมเปลี่ยนจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรม วิวัฒนาการของมนุษย์ จัดทาโดย นาย ชยุต เหลืองทอง เลขที่5 ม.5/5 นายเตชสิทธิ์ ดาบแก้ว เลขที่7 ม.5/5
  • 3. นาย เมธา งามขา เลขที่12 ม.5/5 นาย คงศักดิ์ ชูศรี เลขที่16 ม.5/5 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี