SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
รายงาน
เรื่อง : โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย
(ในเด็กและทารกแรกเกิด)
เสนอ
อาจารย์ ดอเลาะ ดาลี
โดย
นางสาว ฮาซีย๊ะ แตอาลี
รหัสนักศึกษา
404652002
กลุ่มพื้นฐานที่ 13
โปรแกรมวิชา ชีววิทยาประยุกต์
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา จุลชีววิทยา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2547
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
คำานำา
ในการจัดทำารายงานเล่มนี้ ผู้จัดทำาได้ทำาการศึกษา
ค้นคว้าจาก Review และได้ทำาการแปลความหมายศึกษาค้นคว้า
ทำาความเข้าใจเพิ่มเติมจากตำาราและเอกสารประกอบ อื่นๆ
เพื่อให้รายงานเล่มนี้มีความสมบูรณ์ถูกต้องและที่สำาคัญสร้างประโยชน์ให้
กับตนเอง ทำาให้ผู้จัดทำาเกิดความเข้าใจ และเพิ่มความรู้ทั้งทางด้าน
วิชาการจุลชีววิทยา และทางด้านการค้นคว้าจากเทคโนโลยี ก่อให้เกิด
ความรู้ความชำานาญในด้านเนื้อหาวิชาและด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทำา
นางสาวฮาซีย๊ะ แตอาลี
16 มกราคม
2548
สารบาญ
โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย
(ในเด็กและทารกแรกเกิด)
เรื่อง
หน้า
1.บทนำา
2.โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย
2.1- โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ
2.2- โรคคอตีบ
2.3- โรคไอกรน
2.4- โรคบาดทะยัก
2.5- การติดต่อของเชื้อ Clostridium และอื่นๆ
2.6- โรคติดเชื้อแบคทีเรีย strephylo coccal
2.7- การติดต่อที่รุกรานของเชื้อ steptococcal
2.8- การติดต่อในเด็กเกิดใหม่ที่มีความเสี่ยงสูง
2.9- การรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยที่ช้อกจากการ
ฝ่าความรุนแรงของบาดแผล
2.10 – โรคติดต่อจากเชื้อแบคทีเรีย Pseudo
monas ที่รุนแรง
บทนำา
แอนติบอดีกำาลังถูกใช้เพื่อการป้องกันและการดูแล
ของโรคติดต่อมาแล้วประมาณ 1 ศตวรรษ. โรคติดเชื้อจาก
แบคทีเรียร่างกายจะสร้างแอนติบอดีทำาให้ชีวพิษเป็นกลาง ทำาให้
ง่ายต่อการแทรกซึมและละลายเชื้อแบคทีเรียในส่วนที่เพิ่มเติม
โดยในโรคไวรัส แอนติบอดีในร่างกายจะเข้าไปบุกในไวรัส
เซลล์ ก่อนการใช้ยาปฎิชีวนะใดๆแอนติบอดีที่ร่างกายสร้างขึ้น
มาจะดูแลและทำาลายเชื้อต่างๆก่อนทุกครั้ง. แต่บทบาทของ
แอนติบอดีโดยส่วนมากแล้วยาปฎิชีวนะจะเป็นผู้มีบทบาท ส่วน
แอนติบอดีในร่างกายไม่ค่อยได้ทำาหน้าที่หรือทำางานในบทบาท.
โปรตีนในฐานะที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรคมนุษย์ ได้ถูกนำามาใช้เป็น
ภูมิคุ้มกันฉีดเข้าเส้นเลือดหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือเซรุ่ม
แอนติบอดี การใช้ mab ที่สามารถรักษาโรคให้หายได้ซึ่งเป็น
ที่น่าประทับใจ แต่เป็นการรักษาโรคไวรัสที่เกี่ยวกับการหายใจ
อนุญาติให้ใช้สำาหรับมาตราการป้องกันโรคที่ติดต่อได้เท่านั้น
โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย
1.โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ
โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียตัว
กลม Streptococcus, Streptococcus pneumoniae,
himophilus influzae type b
Streptococcus เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ทรงกลม อยู่
เป็นคู่หรือเป็นสาย
ภูมิคุ้มกันโรค
ความต้านทานต่อโรคจากเชื้อสเตรปโตค้อกคัสมีความจำา
เพาะต่อทัยป์ เมื่อผู้ป่วยหายจากโรคของเชื้อสเตรปโตค็อกคัสทัยป์ใด ก้จะมี
ภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อซำ้าจากทัยป์เดิม แต่สามารถติดเชื้อจากทัยป์อื่นได้
อีก
การระบาด การป้องกัน และควบคุม
เชื้อสเตรปโตค็อกคัสหลายชนิด เป็นเชื้อประจำาถิ่นใน
ร่างกายคนแต่จะทำาให้เกิดโรคเมื่ออยู่ในร่างกายส่วนอื่นเช่น ลิ้นหัวใจ ใน
กรณีที่ผ่าตัดส่วนต่างๆ เช่นทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ
อาจทำาให้ติดเชื้อแบคทีเรียได้ แหล่งสุดท้ายที่เชื้อสเตรปโตค็อกคัสอยู่คือ
คนซึ่งอาจเกิดการติดเชื้ออย่างมากหรืออ่อนๆหรือเป็นพาหะนำาโรคติดต่อไป
สู่ผู้อื่นโดยการไอ จาม ผ่านทางนำ้ามูก นำ้าลายซึ่งเป็นแหล่งอันตรายที่สุดที่
เชื้อกระจายไป
การควบคุมโรค ดดยการควบคุมที่แหล่งของคน โดย
1. ตรวจหาและให้การรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ
2. ให้ยาต้านเชื้อสเตรปโตค็อกคัสแก่คนที่เป็นไข้รูมาติก คนที่เป็นไข้รู
มาติกอาจทำาให้หัวใจพิการได้ จึงต้องรักษาอย่างต่อเนื่องโดย
เฉพาะในเด็กต้องต่อเนื่องเป็นปี
3. การระบาดจากพาหะนำาโรค ซึ่งสำาคัญในกรณีที่อยุ่รวมๆกัน เช่นใน
ห้องเรียน ห้องผ่าตัด
4. ควบคุมความสะอาดเกี่ยวกับฝุ่นละออง การกรองอากาส
5. เชื้อสเตรปโตค้อกคัสมักพบในเด็กแรกเกิด เพราะติดเชื้อจากช่อง
คลอดมารดา
Streptococcus pneumoniae เชื้อมีลักษณะเป็น
รูปกลมหรือรูปไข่คล้ายปลายหอก เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1.25
ไมโครเมตร สร้างแคปซูลได้ ปกติพบอยู่ตามทางเดินหายใจส่วนบนของ
คน สามารถทำาให้เกิดโรคปอดบวม ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ
หลอดลมอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ เป็นต้น
การรักษา
เนื่องจากเชื้อไวต่อยาปฎิชีวนะ การรักษาแต่เนิ่นๆจะทำาให้หายจาก
โรคได้ ยาต้านจุลชีพที่ใช้คือ เพนนิซิลลิน ปัจจุบันพบว่าเชื้อดื้อต่อยาเตตรา
ไซคลินและมีรายงานว่าเชื้อดื้อต่อยาเพนิซิลลินจี ส่วนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
จากนิวโมค็อกคัสควรรักษาด้วย คลอแรมเฟนีคอล
การระบาด การป้องกัน และการควบคุมโรค
โรคปอดบวมติดต่อโดยพาหะนำาโรคมากกว่าจะติดต่อกับผู้ป่วย
เอง นอกจากนี้ยังเกิดจากร่างกายมีความต้านทานดรคลดลง จึงมีโอกาศติด
เชื้อได้ การป้องกันโรคอาจให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโดยใช้ทัยป์-พอลิแซก
คาไรด์ ทำาวัคซีนซึ่งป้องกันเชื้อเข้ากระแสเลือดได้ถึง 90%
Haemophilus influenzae เป็นสาเหตุของ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในเด็กอายุ 2 เดือนจนถึง 5 ปี เชื้อนี้พบอยู่ในเยื่อ
เมือกของทางเดินหายใจส่วนบนของคนและติดต่อเข้ากระแสเลือดไปถึงเยื่อ
หุ้มสมองอักเสบ และบางครั้งทำาให้เกิดโรคติดเชื้อทางเดินหายในเด็กและ
ผู้ใหญ่
ลักษณะการทำาให้เกิดโรค
เชื้อ H.influenzae ส่วนใหญ่มากกว่า 95%ที่พบได้ใน
คนปกติหรือในทางเดินหายใจของคนเป็นโรคเป็นเชื้อที่ไม่มีแคปซูลและ
ทำาให้เกิดโรคได้แบบซำ้าเติมหลังจากการติดเชื้อครั้งแรก แต่ส่วนน้อยของ
เชื้อที่มีแคปซูลจะอยู่ในลำาคอของคนปกติที่เป็นพาหะของโรคโดยจะเป็น
เชื้อสำาคัทำาให้เกิดโรคในทางเดินหายใจและเยื่อหุ้มสมองอักเสบโดยเฉพาะ
เชื้อทัยป์ b
การรักษา
รักษาด้วยเซฟาโลสปอริน เช่น ซีโฟแทกซีน 150-200
mg/kg/วัน ฉีดเข้าหลอดเลือดดำาก็ให้ผลดีในการรักษา
การป้องกัน
เด็กอายุตำ่ากว่า 4 ปี แนะนำาให้ป้องกันเด็กเหล่านี้ด้วยยาไร
แฟมพิน 20 mg/kg/วัน เป็นเวลา 4 วัน
Neisseria มีรูปร่างเป็นทรงกลม ทำาให้เกิดโรคได้
เนื่องจากทนทานต่อกระบวนการฟาโกไซโทซิส Neisseria มี 2 สปีชีส์ที่
ทำาให้เกิดดรคที่สำาคัญคือ Neissria meningitidis ทำาให้เกิดโรคเยื่อ
หุ้มสมองอักเสบ
Neisseria meningtidis
เป็นดิโพลค็อกไคซึ่งพักอยู่ร่วมกันที่นาโซฟาริงของคนที่
มีสุขภาพดีและเป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ลักษณะของเชื้อ
มีรูปร่างเป็นทรงกลมติดสีแกรมลบไม่เคลื่อนที่มักเจริญ
อยู่เป็นคู่ บางครั้งอาจเป็น 4 เซลล์หรือเป็นกลุ่ม แต่ละเซลล์มีขนาด
เล็ก 0.8-1.0 ไมโครเมตร
ภูมิคุ้มกันโรค
ภูมิคุ้มกันจะเกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อหรือฉีดแอนติเจนเข้าไป
เด็กทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันที่ถ่ายทอดจากมารดาถ้าไม่มีแอนติบอดีจาก
มารดาแล้วจะติดเชื้อได้ง่ายอัตราเสี่ยงอายุ 6-24 เดือน
การป้องกัน การควบคุม ละการรักษา
โรคนี้มักเป็นในเด็กอายุตำ่ากว่า 5 ปี และมักพบในชุมชน
แออัด การป้องกันโดยหลีกเลี่ยงการอยุ่ในชุมชนที่แออัดที่อาจมีพาหะของ
โรคอยู่ และการฉีดวัคซีน การป้องกันโรคสำาหรับผุ้ที่สำาผัสกับโรคโดยให้ยา
ต้านจุลชีพ เช่นไรแพนนิซิน โดยกินครั้งละ 600 mg วันละ 2 ครั้ง เป็น
เวลา 2 วัน
ซึ่งถ้าแอนติบอดีในผู้ป่วยมีไม่เพียงพอจะทำาให้เกิดโรคติดต่อเหล่า
นี้ได้ง่ายขึ้นและเซรุ่มที่ใช้ในสัตว์ถูกใช้ในปี 1930 เพื่อควบคุมและรักษา
การติดต่อที่รุนแรง ตัวอย่างเช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ หลังจากนั้นก็มีการ
แนะนำา ซัลโฟนาไมด์ ซึ่งการรวมตัวกันของซัลโฟนาไมด์กับแอนติบอดี
เป็นการเสริมกันที่ดี ซึ่งเมื่อเร็วๆนี้ถูกใช้กับทารกชาวอเมริกัน และอีก 22
คนถูกใช้ในการศึกษา โดยใช้โกลบิวลินภูมิต้านทานพอลิแซกคาไรด์ติดชื่อ
แบคทีเรีย BPIG 80 mg ต่อนำ้าหนักตัว 1 kg อายุ 2,6,10 เดือน และ
ทารกอีก 218 คน ในการควบคุมทำาการฉีดนำ้าเค็มในอายุที่เหมือนกัน และ
จากการเปรียบเทียบ กลุ่มการควบคุม BPIG เห็นความแตกต่างที่สำาคัญ
และทำาให้ปริมานเด็กเป็นโรคหูนำ้าหนวกลดลง ซึ่งทารกอเมริกันท้องถิ่นอะ
ปาเช่ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเหล่านี้ แต่อัตราการลดลงของจำานวนผู้เป็นโรค
เหล่านี้ก้ไม่ใช่ทั้งหมด
2.โรคคอตีบ
ผลข้างเคียงเกิดขึ้นเป็นจำานวนมากเนื่องจากการใช้ยาต่อ
ต้านของโรคคอตีบกำาลังก่อให้เกิดการกระทำาของชีวพิษทำาให้มีผลต่อระบบ
ประสาทส่วนกลางและอวัยวะอื่นๆการใช้สารต้านชีวพิษโรคคอตีบรวมทั้ง
การใช้ยาปฎิชีวนะ ซึ่งปริมาณยาขึ้นอยู่กับความร้ายแรงและบริเวณที่เกิด
โรค สำาหรับโรคคอตีบที่เกิดบริเวรช่อง หลังโคนลิ้นหรือกล่องเสียง ต้องให้
ยาเป็นเวลา 48 ชั่วโมง จาก 20000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอมถึง
40000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม สำาหรับบาดแผล นาโซฟาริง จาก
40000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอมถึง 60000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม
และถ้าอาการและแผลของโรคกว้างกต้องใช้ระยะเวลาที่นานก่าคือ 72
ชั่วโมง ถ้าคอบวมมีนำ้าในคอจาก 80000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม
ถึง 120000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม ฉีดเข้าเส้นเลือดดำา จากการใช้ยา
ต้านชีวพิษร่างกายตอบสนองทางผิวหนังมากเกินไปและกดการไวของเส้น
ประสาทรับความรู้สึก เพราะฉะนั้นยาหรือวัคซีนที่ใช้การได้จะต้องผ่าน
ศูนย์กลางการควบคุมโรคและการป้องกัน Atlanta
โรคคอตีบเกิดจากเชื้อ Corynebacterium เป็นเชื้อรูปท่อนแก
รมบวก รูปร่างไม่แน่นอนไม่สร้างสปอร์ ไม่เคลื่อนที่ ไม่สร้างแคปซูล
การทำาให้เกิดโรค
โรคคอตีบมักเกิดกับเด็กอายุ 5-14 ปีจะเกิดการติดเชื้อทางเดิน
หายใจส่วนบนที่เยื่อเมือก มักเกิดที่ คอหอยมากที่สุด นอกจากนี้การติดเชื้อ
ยังเกิดที่ต่อมทอนซิล เชื้อนี้จะไม่แพร่กระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อชั้นในหรือกระแส
เลือด แต่เมื่อเจริญมันจะสร้างทอกซินซึ่งแพร่กระจายไปทั่วร่างกายทาง
กระแสเลือดทำา ให้เกิดโลหิตเป็นพิษทำา อันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
เนื้อเยื่อประสาทต่อมหมวกไต ตับ ไต
อาการของโรค มีไข้สูงเพิ่มขึ้นทีละน้อย ต่อมาเจ็บคอหายใจ
ลำาบาก เพราะมีเยื่อปิดกั้นในคอในเด็กเล็กมีอาการมากจนถึงหายใจไม่ออก
การรักษาโรคคอตีบ
1. การรักษาโดยใช้แอนติเจนทอกซินของเชื้อคอตีบ เพื่อไปลบล้าง
สารพิษที่จะต้องกระทำาโดยเร็วที่ที่สุดเพราะถ้าทอกซินเข้าสู่เนื่อ
เยื่อต่างๆแล้วการรักษาจะไม่ได้ผล
2. การใช้ยาปฎิชีวนะ เช่น เพนิซิลลินจี คลอแรมเฟนิคอล เตตรา
ไซคลินสำาหรับในรายที่แพ้ต่อยาเพนิซิลลินจีเพื่อไปทำาลายเชื้อ
เป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไม่ให้เกิดการสร้างแผ่น
เยื่อที่ลำาคอ และป้องกันโลหิตเป็นพิษ การรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
ต้องกระทำาร่วมกับการใช้แอนตีทอกซิน
การติดต่อ การป้องกัน และควบคุมโรค
การติดต่อ เกิดได้โดยตรงจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่ง โดย
ผ่านพาหะที่ไม่แสดงอาการ นอกจากนี้ยังติดต่อโดยการสัมผัสกับ
นำ้ามูก นำ้าลาย สิ่งของ ภาชนะเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนด้ายเชื้อ
การป้องกันโรค โดยให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองซึ่งมีความ
สำาคัญมากในการควบคุมและป้องกันโรค โดยให้วัคซีนในรูปของทอกซอย
ด์ แก่เด็ก
วัคซีนที่ให้อยู่ในรูปวัคซีนรวมเพื่อป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน
บาดทะยัก โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้เด็กอายุ 2,4,6 เดือน 1 ½ ปี และฉีด
กระตุ้นเมื่ออายุ 4-6 ปี และหลังจากนั้นจะให้ทุกๆ 10 ปี ในรูปของทอก
ซอยด์ของเชื้อคอตีบ บาดทะยัก
3.ไอกรน
เซรุ่มในการต่อต้านไอกรนถูกใช้ในปี 1930 ถูกใช้เพื่อ
การดูแลรักษาโรคคอตีบ โดยส่วนมากจะถูกละทิ้งในส่วนของการป้องกัน
และการรักษาโรคไอกรน มีการทดลองเซรุ่มในมนุษย์ที่มีภูมิต้านทาน และ
ทำาให้มีภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน two-component acellular ได้
ทดลองในเด็กๆ 33 คน รับยาเท่าๆกัน ทำาให้การไอ และการตะโกนเสียงดัง
ลดลง โดยเฉพาะตัวยาเข้าไปดูแลรักษาเร็วมาก ซึ่งการทดลองนี้ประสบผล
สำาเร็จและได้มีการทดลองใช้ในเด็กที่มีอายุ 1 ปี ที่มีอาการป่วยรุนแรง แล
ได้ทดลองใช้โกลบิวลินภูมิต้านทานไอกรน 4 5% ในการทดลองใช้กับ
เด็กๆ 26 คนและพบระดับปริมานยาหรือผลิตภัณท์ที่ปลอดภัยในระดับปริ
มานยา 250 750 และ 1500 mg/kg และโปรตีนที่เป็นภุมิคู้มกันโรค
ไอกรน ที่มีประสิทธิภาพในการรักษาดูแล ถูกปรับโดยครึ่งอายุของ 38 วัน
ในเซรุ่ม แอนติบอดีจะพบหรือปรากฎในนำ้ามูกเป็นส่วนใหญ่
โรคไอกรน เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย bordetella pertussis
ซึ่งมักเกิดขึ้นกับเด็กทารกและเด็กเล็กๆที่มีอายุตำ่ากว่า 2 ปีถึง 85 %
ลักษณะของเชื้อ
เชื้อจะมีลักษณะเป็นท่อนสั้นมาก coccobacilli ขนาดเล็ก
0.5-2 ไมโครเมตร อยู่เดี่ยวๆหรือเป็นคู่ ไม่เคลื่อนที่ ติดสีแกรมลบ สร้าง
แคปซุลเมื่อย้อมกับสีโทลูอิดีนบลู
สารที่ทำาให้เชื้อมีความรุนแรงในการก่อโรค
1. เพอทัสซิสทอกซิน
2. อิมทอกกลูตินิน
3. ทอกซินที่ไม่ทนความร้อน
4. ทอกซินที่ทนความร้อน
5. เทรเคียสไซโททอกซิน
6. อะดินีเลตไซเคลสทอกซิน
การทำาให้เกิดโรค
B.pertussis ทำาให้เกิดโรคในคนเท่านั้น และไม่มีพาหะนำา
โรค โดยเชื้อชอบเกาะกับเยื่อบุผิวที่หลอดลมและขั้วปอดที่มีวิเลียและทวี
จำานวนอย่างรวดเร็ว การติดเชื้อจะเกิดที่ผิวเซลล์เยื่อบุผิวเท่านั้นโดยไม่เข้า
กระแสเลือด ในการทดลองกับหนูโดยให้เชื้อทางช่องจมูก พบว่าเกิดโรค
รุนแรงกว่าให้เชื้อทางช่องท้อง 1000 เท่า
ระยะฟักตัวของโรคกินเวลาประมาน 10 วันถึง 2 สัปดาห์ เริ่ม
จากอาการในโพรงจมูกที่ไม่รุนแรงมีการจามคล้ายไข้หวัดและไอเล็กน้อย
จัดเป็นระยะอักเสบ วึ่งเป็นระยะที่มีการอักเสบของทางเดินอากาศของศรีษะ
และลำาคอ ระยะนี้มีเชื้อโรคอยู่มากในลำาคอ
ระยะที่ 2 เรียกว่าระยะรุนแรง จะมีการไอมากขึ้นไอจนอาเจียน
มักไอเป็นชุดติดต่อกันและหายใจเข้าแรงจนมีเสียงดัง (woop) เหนื่อย
หอบหายใจไม่ทัน และอาจชักได้อาจเกิดภาวะไซยาโนซิส คือผิวหน้าจะ
เป็นสีเขียว เนื่องจากขาดเลือดและออกซิเจน
ระยะสุดท้าย เป็นระยะฟื้นตัว อาการไอจะค่อยๆลดลงซึ่งกิน
เวลา 2-3 สัปดาห์
ภูมิคุ้มกันโรค
คนที่หายป่วยจากโรคนี้หรือได้รับวัคซีนอย่างเพียงพอแล้วจะมี
ภูมิคุ้มกันโรคได้ แต่ถ้าได้รับเชื้อซำ้าอีกก็อาจติดเชื้อได้แต่ไม่ค่อยรุนแรง
การติดเชื้อซำ้าในผู้ใหญ่อาจมีอาการรุนแรงกว่า ในเด็กทารกแรกเกิดมี
ความไวต่อการติดเชื้อไอกรนเพราะมีภูมิคุ้มกันจากแม่มีน้อยไม่เพียงพอจะ
ป้องกันโรค
การรักษาโรคไอกรน
เชื้อ B. pertussis นี้ไวต่อยาต้านจุลชีพหลายชนิดเมื่อ
ทดลองในหลอดแก้ว ถ้ามีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในเด็กทารก รักษาด้วยอี
ริโทรมัยซินหรืออาใช้เตตราไซคลิน คลอแรมเฟนิคอล
การป้องกันโรค
โรคไกรนมักเกิดกับเด็กเล็กและแพร่ระบาดได้ทั่วโลก จึงควร
ป้องกันโดยใช้วัคซีนที่ทำาจากเชื้อตาย ฉีดรวมกับทอกซอยด์จากเชื้อคอตีบ
และบาดทะยัก รวมเป็นวัควีน ดีพีที (DPT) ในเข็มเดียวกัน โดยเริ่มฉีดใน
เด็กอายุ 2,4,6 เดือน และฉีดกระตุ้นเมื่ออายุ 18 เดือน และ 4-5 ขวบ
4.โรคบาดทะยัก
แอนติบอดี เพื่อการป้องกันและการดูแลรักษาโรคบาดทะยัก
ในปี 1890 ล้าสมัย ซึ่งเซรุ่มที่ใช้ถูกเตรียมจากม้าที่ทำาให้มีภูมิคุ้มกันโรคที่
ใช้ในการดุแลของโรคบาดทะยักที่รุนแรงตั้งแต่การทำายาต้านชีวพิษให้เป้
นกลาง อันนี้ถือว่าเป็นส่วนของการดูแลที่สำาคัญ จากการทำาการศึกษา
ค้นคว้าทดลองที่กว้าง ได้กำาหนดปริมานยาที่เหมาะสมของสารต้านชีวพิษ
และผลตอบแทนที่ได้จากสารต้านชีวพิษ intrathecal ที่ค่อนข้างจะได้
ผลตอบแทนดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคบาดทะยัก วึ่งโรคบาดทะยักยังเป็น
ปัญหาที่สำาคัญในประเทศกำาลังพัฒนา ตั้งแต่ปี 1960 โกลบิวลินภูมิ
ต้านทานโรคบาดทะยักมนุษย์ถุกใช้การได้ในสหรัฐอเมริกา และใช้การได้
เฉพาะเขตบริเวณในประเทศเท่านั้น จากผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคกระท่อน
กระแท่น จากการได้รับบาดเจ็บจากแผลที่สกปรกจะใช้ TIG ซึ่งปริมานและ
ยาที่ใช้ในการป้องกันคือคือ IU 250 intra muscularly และการกระ
ตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เป็นการเริ่มต้นการดูแลรักษาเริ่มต้นที่ดี และในประเทศที่
ไม่ใช้ TIG มนุษย์แต่จะใช้สารต้านชีวพิษจากม้า จาก 3000 หน่วยนำ้า
หนักของอะตอมถึง 1500 หน่วยนำ้าหนักอะตอม.คือเมื่อผู้ป่วยได้รับ
บาดแผลร้ายแรงให้พิจารณาลักษณะของแผลว่า ลึก แคบ มีเลือดสกปรก
มากน้อยเพียงใดเปื้อนดิน ถูกแทงหรืถูกสัตว์กัด ถ้าไม่ทราบว่าผู้ป่วยเคยมี
ภูมิคุ้มกันโรคหรือยังให้รีบฉีดแอนติทอกซินก่อนเพื่อไปสะเทินทอกซินก่อ
นที่จะไปจับกับระบบประสาท ถ้าผุ้ป่วยแพ้แอนติทอกซินจากม้า เตตานัสอิม
มูนโกลบิวลิน TIG 250 หน่วย ที่เตรียมจากพลาสมาของคนที่ฉีดทอก
ซอยด์ไว้ก่อนแล้วเข้ากล้ามเนื้อและให้ผู้ป่วยสร้างภูมิคุ้มกันเองด้วย โดยฉีด
ทอกซอยด์เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อทอกซินแต่ถ้าผู้ป่วยมีภูมิ
คุ้มโรคอยุ่แล้วและได้รับบาดแผลร้ายแรงก็กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
เพิ่มขึ้นโดยฉีดทอกซอยด์อย่างเดียว ดังนั้นการรักษาผู้ป่วยทีมีอาการ
บาดทะยักแล้วอาจให้แอนติทอกซินในปริมานสูงถึง 3,000-10,000
หน่วยเข้าทางหลอดเลือดดำา ทำาความสะอาดแผลหรือผ่าตัดเพื่อชะล้างเอา
สิ่งสกปรกหรือเชื้อสาเหตุออกไปป้องกันการงอกและการเพิ่มจำานวนเชื้อโดย
ใช้ยาปฎิชีวนะที่ได้ผลดีคือ เพนิซิลลิน ซึ่งสารเหล่านี้จะแทรกซึมเข้าไปใน
บริเวณบาดแผลและในโรคบาดทะยักการดูแลรักษาที่สำาคัญถุกแนะนำาให้
TIG ใช้เป็นมาตราการป้องกันโรคบาดทะยัก
บาดทะยักในเด็กแรกเกิด ( tetanus
neonatorum )
ลักษณะของเชื้อ tetanus มีลักษณะเป็นท่อนตรงปลายมนยาว
2-5 ไมโครเมตร กว้าง 0.4-0.5 ไมโครเมตร ไม่มีแคปซูล เคลื่อนที่ได้
ด้วยแฟลกเจลลารอบตัว สร้างสปอร์ที่ปลายด้านหนึ่ง ของเซลล์เป็นรูปกลม
หรือรูปไข่
ซึ่งบาดทะยักในเด็กแรกเกิด มักเกิดจาการใช้วัสดุไม่สะอาดตัด
สายสะดือให้ทารกและเกิดการติดสปอร์ของเชื้อเข้าไปในระยะแรกเกิด
ทารกยังเป็นปกติดีสามารถดูดนมมารดาได้ ต่อมาอีก 5 วัน เริ่มเกิดอาการ
ขากรรไกรแข็งเปิดไม่ได้ ดูดนมไม่ได้ หน้ากระตุก เกิดอาการกระตุกของ
กล้ามเนื้อตามร่างกาย เกิดอาการหลังแข็ง ถ้าเด็กเป็นเวลานานจะหายใจ
ลำาบากและสมองขาดออกซิเจนทำาให้เด็กเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่เด็กจะตายใน
เวลา 2 สัปดาห์แรกที่เกิดอาการของโรค
การป้องกันและรักษาบาดทะยัก
โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน
ตั้งแต่ตอนเด็กโดยฉีดทอกซอยด์ของบาดทะยักร่วมกับทอกซอยด์ของคอตีบ
และไอกรน(DPT) ในเข็มเดียวกันใน 1 ขวบแรก 3 ครั้ง และกระตุ้นเมื่อ
อายุขวบครึ่ง และ 4 ขวบครึ่งหลังจากนี้ให้ฉีดป้องกันบาดทะยักทุก 10 ปี
แก่ผุ้ที่มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดดรคเพื่อให้ระดับแอนติทอกซินคงที่
5.การติดต่อของเชื้อ Clostridium อื่นๆ
Clostridium จีนัส clostridium รวมถึงสปีชีส์ต่างๆที่
อาศัยอยู่ในนำ้าดินตามพืชผักต่างๆ ซึ่งมีบทบาทสำาคัญในการย่อยสลาย
ซากพืชซากสัตว์บางสปีชีส์เป็นทอมเมนชัลอยู่ในลำาไส้ที่ทำาให้เกิดโรค
เชื้อนี้เป็นสาเหตุสำาคัญของโบโทลึซึม บาดทะยัก และก๊าซแกงกรีน
ลักษณะ ทั่วไปของ clodtridium
Clostridium เป็นเชื้อแกรมบวก รูปท่อนที่สร้างสปอร์ได้ เซลล์มี
ความยาวตั้งแต่ 3-8 ไมโครเมตรและกว้าง 0.4-1.2 ไมโครเมตร
สปีชีส์ส่วนใหญ่เซลล์ที่มีสปอร์อยู่ข้างในมักพองออก เชื้อส่วนใหญ่ ไม่
ต้องการออกซิเจนเลย ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา
โรคที่เกิดจาก clostridium คือโรคอาหารเป็นพิษโบทูลึซึม
ก๊าซแกงกรีนและบาดทะยัก
การติดต่อของเชื้อ clostridium อื่น เป็นการได้รับพิษจากอาหาร
หรือโรคอาหารเป็นพิษโบโทลึซึม ซึ่งเกิดจากการกินอาหารที่มีพิษของ
แบคทีเรีย ที่อยู่ในอาหารประเภทใส้กรอก หรืออาหารหมักดอง ซึ่งมี
ความรุนแรงทำาให้กลายเป็นอัมพาตได้ ถ้าเกิดกินหรือกลืนสปอร์เป็น
พิษเข้าไป จากนักศึกษาแพทย์พบว่าอาหารกระป๋องก็มีพิษเชื้อ
แบคทีเรียเหมือนกันในใส้กรอกหรืออาหารหมักดอง ซึ่งมักเกิดขึ้นกับ
เด็กทารกที่กินนมผงผสมนำ้าผึ้ง ซึ่งมีพิษของแบคทีเรียอยู่ซึ่งเชื้อ
แบคทีเรียเหล่านี้จะอาศัยอยู่ในกระเพาะลำาไส้ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ซึ่งจากการได้รับพิษจากอาหารเหล่านี้ ถูกจัดการโดย สารต้านชีวพิษ
ที่ใช้กันแพร่หลายผ่านศูนย์กลางการควบคุมโรคและป้องกัน. และสาร
ต้านชีวพิษเหล่านี้สามารถให้แก่ผู้ที่ถูกสงสัว่าได้รับอาหารที่เป็นพิษ
เหล่านี้เข้าไปได้ และปัจจุบันกได้มีการทดลองในแคลิฟอร์เนีย ที่
เป็นการทดลองของ botulism TIG มนุษย์เพื่อการดูแลทารกที่ได้
รับอาหารเป็นพิษจากแบคทีเรียเหล่านี้ได้เป็นผลสำาเร็จ ผลิตภัณท์อันนี้
ใช้การได้สำาหรับการดูแลรักษาการได้รับสารพิษจากอาหารพวกใส้
กรอกอาหารหมักดองแต่ในผู้ป่วยที่เชื้อเข้าไปอยู่ในกระเพาะลำาไส้ก็จะ
เกิดผลทำาให้ลำาไส้อักเสบที่ปลายลำาไส้ใหญ่และรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ
และอิมมูนโกลบิวลิน IVIG มนุษย์ จาก 200mg /kg ถึง 400
mg/kg และมีการเตรียมโปรตนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรคในสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนม จำาพวกวัว เพื่อเป็นการป้องกันอย่างหนึ่ง
6. โรคติดเชื้อจาก STEPHYLOCOCCUS
เชื้อ staphylococcus มีอยู่ทั่วไปและความร้ายแรงของ
เชื้อจะเข้าไปฝังลึกในไขกระดูกทำาให้อักเสบ และทำาให้เกิดฝีที่ผิวหน้าในวัย
หนุ่มสาวที่เป็นสิวและการรักษาส่วนใหย่จะใช้ยาปฎิชีวนะซึ่งประสิทธิภาพ
ในการควบคุมการติดต่อในหลายๆคนที่ป่วย แต่ไม่ควรใช้อย่างพรำ่าเพรือ
และควรเลือกใช้รักษา ในกลุ่มอาการของโรคอาการชีอกจากพิษ
staphylococcus โรคช๊อก TSS ซึ่งมักเกิดในหญิงสาวที่ใช้ผ้าอนามัย
แบบสอด แต่บุคคลอื่นๆรวมทั้งเด้กและผู้ชายที่เป็นฝีหรือผู้ติดเชื้อ
staphylococcus ก็อาจเป็น TTS ได้ อาการมีไข้ ความดันตำ่า ท้องร่วง
เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ หลังจากที่มีการลอกผิวหน้าหรือเป็นสะเก็ด
วึ่งในกลุ่มอาการของโรคความตกใจที่มีพิษ หลังจากนั้นจะมีการปล่อยสาร
ต้านชีวพิษจะสร้างสารภูมิคุ้มกันดรคในร่างกายซึ่งทำาให้ร่างกายมีระบบ
ภูมิคุ้มกันโรคโดยปล่อยไซโกโทซิสจำานวนมากในนักศึกษาแพทย์ที่กำาลัง
วิจัยและผลก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะใช้ทดลองบวกกับการดูแลด้วยยาปิ
ชีวนะโดยหมุนเวียนใช้อย่างน้อย 400 mg /kg ตามคำาแนะนำา
ในครอบครัวใหญ่ ส่วนมากจะมีรายงานการเกิดกลุ่มอาการ
ของโรคความตกใจจากพิษ staphylococcus บ่อยที่เกี่ยวข้องกับระดับ
โปรตีนที่เกี่ยวกับภุมิคุ้มกันโรค เด็กชาย 2 คน ในครอบครัวใหญ่ไดรับการ
ให้ยา TVIG ตามปกติ ก็ได้เป็นผลสำาเร็จคือหาย ต่อไปก็เป็นเรื่องของ
แอนติบอดีที่มีบทบาทในการป้องกันการติดติอตัวจุลินทรีย์กลมคล้ายพวง
องุ่น ซึ่งมีผลต่อเด็กเกิดใหม่ โดยเฉพาะเด็กคลอดก่อนกำาหนด ซึ่งการติดต่อ
ในเด็กเกิดใหม่เป็นที่น่ากังวล เช่น การมีเชื้อแบคทีเรียในร่างกายและปริ
มานยา IVIG ที่บรรจุกำาลังแทรกซึมเข้าไปทำางานร่วมกับแอนติบอดี
STAPHYLO COCCUS เป็นสาเหตุสำาคัญของโรคฝีหนองถึง
80 %ถึงแม้จะมีการพัฒนายาปฎิชีวนะเพื่อใช้รักษาโรคและลดอัตราการ
ตายของโรคนี้ แต่เชื้อนี้ก็ยังเป็นเชื้อโรคที่สำาคัญในระบบและชุมชน
ลักษณะของเชื้อ
เชื้อมีลักษณะรูปทรงกลม แกรมบวกไม่เคลื่อนที่ ไม่สร้างสปอร์ เส้น
ผ่าศูนย์กลางประมาน 0.5-1.5 ไมโครเมตรเมื่อผนังเซลล์ติดกันจะคล้าย
พวงองุ่น
7. โรคที่เกิดจากการบุกรุกของเชื้อ STEPTOCOCCUS
Streptococcus เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ทรงกลมอยู่เป็นคู่
หรือสายพบทั่วไปตามธรรมชาติ
ลักษณะของเชิ้อ เชื้อมีลักษณระทรงกลมรูปไข่เรียงเป็นสายยาว
เซลล์แบ่งตัวตั้งฉากกับแกนยาวของสาย เชื้อสเตรบดตค็อกคัสบางสายพันธ์
สร้างแคปซูลได้ group A ,B ,C เชื้อที่ติดต่อและรุกรานเกิดจากเชื้อเกิด
จากเชื้อแบคทีเรีย Streptococci group A การบุกรุกของเชื้อนี้จะ
ทำาให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษรวมทั้งอาการของโรคความตกใจซึ่งกำาลัง
ขยายออกมีความรุนแรงและเกิดขึ้นบ่อย
อาการระยะหลังจะทำาให้เป็นไข้เมื่อเชื้อเข้าสู่เนื่อเยื่อชั้นในก็กระจายสู่
ท่อนำ้าเหลือง จากระบบนำ้าเหลืองเชื้อก็จะติดต่อเข้ากระแสเลือดซึ่งจะปล่อย
พิาออกมาทำาให้กลายเป็นโลหิตเป็นพิษ ในภาคปฎิบัติของนักศึกษาแพทย์
ได้ทดลองเกี่ยวกับที่บุกรุกจากเชื้อ Streptococci ซึ่งมีการให้ยาในปริ
มานที่มากจาก 1g /kg ถึง 2 g /kg บวกกับการบำาบัดโรค ซึ่งโรคนี้มัก
ทำาให้เกิดโรคแทรกซ้อนและติดต่อได้ทางอาหารและอากาศ กรกระจาย
โรค โดยการสัมผำสกับผู้ป่วยและผู้ที่ฟื้นจากไข้
ระยะฟักตัวประมาณ 3-4 วัน เริ่มมีอาการเจ็บคอ อาเจียนมีไข้ มีผื่น
ตามร่างกาย ในวันที่ 1 2 มีผื่นที่เพดานปาก และจะหายใน 4-5 วัน
โรคติดเชื้อ Streptococci ที่เกิดขึ้นระยะหลัง
1. ไข้รูมาติก อาการมีไข้อ่อนเพลีย ปวดบวมแดงตามข้อ ไข้รูมาติกพบ
มากในเด็กอายุ 3-10 ปี และทำาให้ตายได้ในช่วงอายุ 5-20 ปี
2. กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน โรคที่ไม่ใช่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย แต่เป็นปฎิ
กริยา ภุมิไวเกิน
8.การติดต่อในเด็กเกิดใหม่ที่มีความเสี่ยงสูง
ในเด็กเกิดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่คลอดก่อนกำาหนดนำ้าหนัก
แรกเกิดตำ่ากว่า 2000 กรัม ถ้าหากนำ้าหนักมากก่า 2000 กรัมจะทำาให้มี
แอนติบอดี ท่ได้รับจากแม่ทำาให้ลดความร้ายแรงของโรคลดลงได้ ในเด็ก
เกิดใหม่จะมีแอนติบอดีตำ่ามาก การตอบสนองของแอนติบอดีจะช้า และข้อ
ต่อต่างๆก็ขาดความแข็งแรง ดังนั้นจึงมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลของ IVIG
ในการป้องกันหรือดูแลในเด็กเกิดใหม่ที่คลอดก่อนกำาหนด จากการศึกษา
ในการตั้งครรภ์ 20 ถึง 37 สัปดาห์ มีนำ้าหนักแรกเกิดจาก 1300 ถึง
2000 กรัม ให้ปริมาณยา จำานวน 400 mg /kg ที่ใช้เพื่อการดูแลของ
การมีเชื้อแบคทีเรียในร่างกายเด็กเกิดใหม่ และผลจากการทดลองในเด็ก
52 คน เสียชีวิต 3 คน(5.7 %) ในการเปรียบเทียบการเสียชีวิต 13 ราย
ในทารก 42 คน(31%) เห็นความแตกต่างที่สำาคัญมาก
ซึ่ง IVIG จะมีความสำาคัญมากในเด็กทารก เพราะจะช่วยให้เกิดการ
หมุนเวียนของเม็ดเลือดขาว สรุป IVIG ยังไม่ไดรับการชี้ชัดสำาหรับมาตรา
การป้องกันของการติดต่อในเด็กเกิดใหม่ แต่มันก็มีบทบาทสำาคัยในเด็กที่รับ
ยาปฎิชีวนะไม่ได้
9. การรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยที่ช็อกหรือเครียดจาก
บาดแผล
ในผู้ป่วยที่ฝ่าความเครียดที่รุนแรงจากบาดแผลภายนอกหรือการ
รักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด มีการถ่ายเทอากาศและรับแสงอย่างปลอดโปร่ง
ไม่ให้ผู้ป่วยสะเทือนใจจากโรคติดต่อ ในร่างกายที่มีภูมิต้านทานตำ่าและมี
ภุมิแพ้เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งเป็นอันตรายต่อหน้าที่ของแอนติบอดีในการห้าม
เลือด และโรคความดันโลหิตตำ่าน่าจะมีการส่งเสริมการมีเชื้อแบคทีเรียใน
ร่างกายและได้มีการใช้ในผู้ป่วย 71 คน ที่มีการติดต่อบัคเตรี GRAM ลบ
และโรคจากความตกใจ โดยใช้ IVIG ในการรักษาและป้องกันแอนติบอดี
ในร่างกายไม่ได้ผลเท่ากับยา IVIG ตามปกติเลยในการเปรียบเทียบ การ
ให้ยาปฎิชีวนะบวกกับการรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด และจากการเปรียบ
เทียบผลกระทบต่อเนื่องของพวกเขาว่า ในผู้ป่วย 54 คน ที่ได้รับยาปฎิชีว
นะคนเดียว ไม่มีความแตกต่างในการอยุ่รอดเลยกลุ่ม IVIG ที่ห้อง ไอซียู
ที่ที่ถูกใช้ในระยะเวลาสั้นๆ ในการบำาบัดโรคและการป้องกัน ทำาให้ดีขึ้นและ
ลดจำานวนความตายจากการติดต่อลงได้ และจากการศึกษาของผู้ป่วย
552 คน จากการสังเกตที่ IVIG แบทีเรียชนิดหนึ่งที่ เกิดจากการนำา
เซรุ่ม ฉีดเข้าไปในกล้ามเนื้อเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคชนิดหนึ่ง โดยให้
400 mg/kg ทำาให้ลดจำานวนผู้ป่วยในห้องไอวียุ และลดระดับผู้ป่วยได้
จากการเปรียบเทียบ
10.โรคติดต่อจากเชื้อ Pseudomonas ที่รุนแรง
การติดต่อ Pseudomonas ที่รุนแรง เกิดความวุ่นวายและเป้
นปัญหาในหลายๆที่เกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่ต้องการรักษาพยาบาลอย่าง
ใกล้ชิด และโรคเกี่ยวกับเส้นใยกระเพาะปัสสาวะอักเสบ การศึกษาใน
ลักษณะเป็นแอนติบอดีจากสัตว์และในชั่วโมงเรียนของนักศึกษาแพทย์ได้
แย้มในผู้ป่วยที่เป็นรูเกิดจากไฟไหม้ที่ให้ เชื้อ Pseudomonas IVIG
มนุษย์หรือพลาสมา รูที่เกิดจากรอยไหม้จากการศึกษาได้ถูกพิสูจน์ผลจาก
ชั่วโมงเรียนแพทย์ภาคปฎิบัติ ในการศึกษาเมื่อเร็วๆนี้ ให้IVIG มนุษย์ที่
ทดลองและได้มาจากผู้บริจาคทำาให้มี๓มิคุ้มกันโรคโดยชีวพิษพอลีแซกคา
ไรด์ Pseudomonas ถูกให้ 100mg/kg และพอลีแซกคาไรด์ 24-
valent klebsiella ที่คู่กับผู้ป่วยที่ถูกเข้ามาในห้องไอวียู ภายในโรง
พยาบาล ซึ่งจากผลการปฎิบัติไม่มีอะไรที่สำาคัยเกี่ยวกับสถิติหรืออัตรา
ความร้ายแรงของการติดต่อในผู้ป่วยเหล่านี้เลย ในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะ
อักเสบ โกลบิวลินภูมิต้านทาน เชื้อนี้ กับภูมิต้านทานเกินมนุษย์ทดลองทั้ง
สอง และ IVIG ส่วนมากจะใช้ในชั่วโมงเรียนของแพทย์ที่ใช้ในการทดลอง
ต่างๆ และเป็นการยากที่จะกำาจัดให้หมดจากสิ่งมีชีวิตได้
อ้างอิง
Clinical Microbiology Reviews, Oct.
2000, p. 602-614
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. แบคทีเรียที่
เกี่ยวข้องกับโรค.
NOBELPRINT.พิมพ์ครั้งที่ 2. ศูนย์หนังสือจุลาลง
กรณ์มหาวิทยาลัย.2544
หน้า 31-238.
นงลักษ์,ปรีชา สุวรรณพนิจ. จุลชีววิทยาทั่วไป. บริษัท เท็กซ์
แอนด์เจอเนรัล พับลิเคชั่ น จำากัด.พิพม์ครั้งที่
3. สำานักพิพม์จุลาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2544.หน้า 646-654.

More Related Content

Similar to gjuhjklkj;klnmjbjj

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วมการใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วมUtai Sukviwatsirikul
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนAdisorn Tanprasert
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททpakpoomounhalekjit
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคChitsanupong Prommawan
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 Utai Sukviwatsirikul
 
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบัน
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบันพฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบัน
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบันboobieboo
 

Similar to gjuhjklkj;klnmjbjj (20)

ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วมการใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
การใช้ยาโรคที่มาจากน้ำท่วม
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
11 พยาบาลกับความปลอดภัย-ปรับ
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
Paraqaut
ParaqautParaqaut
Paraqaut
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททพยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
พยาธิวิทยาทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรคบทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง รู้เรื่องโรค
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557 แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2557
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
8
88
8
 
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบัน
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบันพฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบัน
พฤติกรรมการใช้หน้ากากอนามัยของคนไทยในปัจจุบัน
 

gjuhjklkj;klnmjbjj

  • 1. รายงาน เรื่อง : โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย (ในเด็กและทารกแรกเกิด) เสนอ อาจารย์ ดอเลาะ ดาลี โดย นางสาว ฮาซีย๊ะ แตอาลี รหัสนักศึกษา 404652002 กลุ่มพื้นฐานที่ 13 โปรแกรมวิชา ชีววิทยาประยุกต์ รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา จุลชีววิทยา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2547 มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา คำานำา ในการจัดทำารายงานเล่มนี้ ผู้จัดทำาได้ทำาการศึกษา ค้นคว้าจาก Review และได้ทำาการแปลความหมายศึกษาค้นคว้า
  • 2. ทำาความเข้าใจเพิ่มเติมจากตำาราและเอกสารประกอบ อื่นๆ เพื่อให้รายงานเล่มนี้มีความสมบูรณ์ถูกต้องและที่สำาคัญสร้างประโยชน์ให้ กับตนเอง ทำาให้ผู้จัดทำาเกิดความเข้าใจ และเพิ่มความรู้ทั้งทางด้าน วิชาการจุลชีววิทยา และทางด้านการค้นคว้าจากเทคโนโลยี ก่อให้เกิด ความรู้ความชำานาญในด้านเนื้อหาวิชาและด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทำา นางสาวฮาซีย๊ะ แตอาลี 16 มกราคม 2548 สารบาญ โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย (ในเด็กและทารกแรกเกิด) เรื่อง หน้า 1.บทนำา 2.โรคติดเชื้อจากแบคทีเรีย 2.1- โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ
  • 3. 2.2- โรคคอตีบ 2.3- โรคไอกรน 2.4- โรคบาดทะยัก 2.5- การติดต่อของเชื้อ Clostridium และอื่นๆ 2.6- โรคติดเชื้อแบคทีเรีย strephylo coccal 2.7- การติดต่อที่รุกรานของเชื้อ steptococcal 2.8- การติดต่อในเด็กเกิดใหม่ที่มีความเสี่ยงสูง 2.9- การรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยที่ช้อกจากการ ฝ่าความรุนแรงของบาดแผล 2.10 – โรคติดต่อจากเชื้อแบคทีเรีย Pseudo monas ที่รุนแรง บทนำา แอนติบอดีกำาลังถูกใช้เพื่อการป้องกันและการดูแล ของโรคติดต่อมาแล้วประมาณ 1 ศตวรรษ. โรคติดเชื้อจาก แบคทีเรียร่างกายจะสร้างแอนติบอดีทำาให้ชีวพิษเป็นกลาง ทำาให้ ง่ายต่อการแทรกซึมและละลายเชื้อแบคทีเรียในส่วนที่เพิ่มเติม โดยในโรคไวรัส แอนติบอดีในร่างกายจะเข้าไปบุกในไวรัส เซลล์ ก่อนการใช้ยาปฎิชีวนะใดๆแอนติบอดีที่ร่างกายสร้างขึ้น มาจะดูแลและทำาลายเชื้อต่างๆก่อนทุกครั้ง. แต่บทบาทของ แอนติบอดีโดยส่วนมากแล้วยาปฎิชีวนะจะเป็นผู้มีบทบาท ส่วน แอนติบอดีในร่างกายไม่ค่อยได้ทำาหน้าที่หรือทำางานในบทบาท. โปรตีนในฐานะที่เกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรคมนุษย์ ได้ถูกนำามาใช้เป็น ภูมิคุ้มกันฉีดเข้าเส้นเลือดหรือฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือเซรุ่ม แอนติบอดี การใช้ mab ที่สามารถรักษาโรคให้หายได้ซึ่งเป็น
  • 4. ที่น่าประทับใจ แต่เป็นการรักษาโรคไวรัสที่เกี่ยวกับการหายใจ อนุญาติให้ใช้สำาหรับมาตราการป้องกันโรคที่ติดต่อได้เท่านั้น โรคติดเชื้อเนื่องจากแบคทีเรีย 1.โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ โรคที่ติดต่อทางระบบหายใจ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียตัว กลม Streptococcus, Streptococcus pneumoniae, himophilus influzae type b Streptococcus เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ทรงกลม อยู่ เป็นคู่หรือเป็นสาย ภูมิคุ้มกันโรค ความต้านทานต่อโรคจากเชื้อสเตรปโตค้อกคัสมีความจำา เพาะต่อทัยป์ เมื่อผู้ป่วยหายจากโรคของเชื้อสเตรปโตค็อกคัสทัยป์ใด ก้จะมี ภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อซำ้าจากทัยป์เดิม แต่สามารถติดเชื้อจากทัยป์อื่นได้ อีก การระบาด การป้องกัน และควบคุม เชื้อสเตรปโตค็อกคัสหลายชนิด เป็นเชื้อประจำาถิ่นใน ร่างกายคนแต่จะทำาให้เกิดโรคเมื่ออยู่ในร่างกายส่วนอื่นเช่น ลิ้นหัวใจ ใน กรณีที่ผ่าตัดส่วนต่างๆ เช่นทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ อาจทำาให้ติดเชื้อแบคทีเรียได้ แหล่งสุดท้ายที่เชื้อสเตรปโตค็อกคัสอยู่คือ
  • 5. คนซึ่งอาจเกิดการติดเชื้ออย่างมากหรืออ่อนๆหรือเป็นพาหะนำาโรคติดต่อไป สู่ผู้อื่นโดยการไอ จาม ผ่านทางนำ้ามูก นำ้าลายซึ่งเป็นแหล่งอันตรายที่สุดที่ เชื้อกระจายไป การควบคุมโรค ดดยการควบคุมที่แหล่งของคน โดย 1. ตรวจหาและให้การรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ 2. ให้ยาต้านเชื้อสเตรปโตค็อกคัสแก่คนที่เป็นไข้รูมาติก คนที่เป็นไข้รู มาติกอาจทำาให้หัวใจพิการได้ จึงต้องรักษาอย่างต่อเนื่องโดย เฉพาะในเด็กต้องต่อเนื่องเป็นปี 3. การระบาดจากพาหะนำาโรค ซึ่งสำาคัญในกรณีที่อยุ่รวมๆกัน เช่นใน ห้องเรียน ห้องผ่าตัด 4. ควบคุมความสะอาดเกี่ยวกับฝุ่นละออง การกรองอากาส 5. เชื้อสเตรปโตค้อกคัสมักพบในเด็กแรกเกิด เพราะติดเชื้อจากช่อง คลอดมารดา Streptococcus pneumoniae เชื้อมีลักษณะเป็น รูปกลมหรือรูปไข่คล้ายปลายหอก เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1.25 ไมโครเมตร สร้างแคปซูลได้ ปกติพบอยู่ตามทางเดินหายใจส่วนบนของ คน สามารถทำาให้เกิดโรคปอดบวม ไซนัสอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ หลอดลมอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ข้ออักเสบ เป็นต้น การรักษา เนื่องจากเชื้อไวต่อยาปฎิชีวนะ การรักษาแต่เนิ่นๆจะทำาให้หายจาก โรคได้ ยาต้านจุลชีพที่ใช้คือ เพนนิซิลลิน ปัจจุบันพบว่าเชื้อดื้อต่อยาเตตรา ไซคลินและมีรายงานว่าเชื้อดื้อต่อยาเพนิซิลลินจี ส่วนเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จากนิวโมค็อกคัสควรรักษาด้วย คลอแรมเฟนีคอล การระบาด การป้องกัน และการควบคุมโรค โรคปอดบวมติดต่อโดยพาหะนำาโรคมากกว่าจะติดต่อกับผู้ป่วย เอง นอกจากนี้ยังเกิดจากร่างกายมีความต้านทานดรคลดลง จึงมีโอกาศติด เชื้อได้ การป้องกันโรคอาจให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันโดยใช้ทัยป์-พอลิแซก คาไรด์ ทำาวัคซีนซึ่งป้องกันเชื้อเข้ากระแสเลือดได้ถึง 90% Haemophilus influenzae เป็นสาเหตุของ โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบในเด็กอายุ 2 เดือนจนถึง 5 ปี เชื้อนี้พบอยู่ในเยื่อ เมือกของทางเดินหายใจส่วนบนของคนและติดต่อเข้ากระแสเลือดไปถึงเยื่อ หุ้มสมองอักเสบ และบางครั้งทำาให้เกิดโรคติดเชื้อทางเดินหายในเด็กและ ผู้ใหญ่ ลักษณะการทำาให้เกิดโรค
  • 6. เชื้อ H.influenzae ส่วนใหญ่มากกว่า 95%ที่พบได้ใน คนปกติหรือในทางเดินหายใจของคนเป็นโรคเป็นเชื้อที่ไม่มีแคปซูลและ ทำาให้เกิดโรคได้แบบซำ้าเติมหลังจากการติดเชื้อครั้งแรก แต่ส่วนน้อยของ เชื้อที่มีแคปซูลจะอยู่ในลำาคอของคนปกติที่เป็นพาหะของโรคโดยจะเป็น เชื้อสำาคัทำาให้เกิดโรคในทางเดินหายใจและเยื่อหุ้มสมองอักเสบโดยเฉพาะ เชื้อทัยป์ b การรักษา รักษาด้วยเซฟาโลสปอริน เช่น ซีโฟแทกซีน 150-200 mg/kg/วัน ฉีดเข้าหลอดเลือดดำาก็ให้ผลดีในการรักษา การป้องกัน เด็กอายุตำ่ากว่า 4 ปี แนะนำาให้ป้องกันเด็กเหล่านี้ด้วยยาไร แฟมพิน 20 mg/kg/วัน เป็นเวลา 4 วัน Neisseria มีรูปร่างเป็นทรงกลม ทำาให้เกิดโรคได้ เนื่องจากทนทานต่อกระบวนการฟาโกไซโทซิส Neisseria มี 2 สปีชีส์ที่ ทำาให้เกิดดรคที่สำาคัญคือ Neissria meningitidis ทำาให้เกิดโรคเยื่อ หุ้มสมองอักเสบ Neisseria meningtidis เป็นดิโพลค็อกไคซึ่งพักอยู่ร่วมกันที่นาโซฟาริงของคนที่ มีสุขภาพดีและเป็นสาเหตุของโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ลักษณะของเชื้อ มีรูปร่างเป็นทรงกลมติดสีแกรมลบไม่เคลื่อนที่มักเจริญ อยู่เป็นคู่ บางครั้งอาจเป็น 4 เซลล์หรือเป็นกลุ่ม แต่ละเซลล์มีขนาด เล็ก 0.8-1.0 ไมโครเมตร ภูมิคุ้มกันโรค ภูมิคุ้มกันจะเกิดขึ้นหลังจากการติดเชื้อหรือฉีดแอนติเจนเข้าไป เด็กทารกจะได้รับภูมิคุ้มกันที่ถ่ายทอดจากมารดาถ้าไม่มีแอนติบอดีจาก มารดาแล้วจะติดเชื้อได้ง่ายอัตราเสี่ยงอายุ 6-24 เดือน การป้องกัน การควบคุม ละการรักษา โรคนี้มักเป็นในเด็กอายุตำ่ากว่า 5 ปี และมักพบในชุมชน แออัด การป้องกันโดยหลีกเลี่ยงการอยุ่ในชุมชนที่แออัดที่อาจมีพาหะของ โรคอยู่ และการฉีดวัคซีน การป้องกันโรคสำาหรับผุ้ที่สำาผัสกับโรคโดยให้ยา ต้านจุลชีพ เช่นไรแพนนิซิน โดยกินครั้งละ 600 mg วันละ 2 ครั้ง เป็น เวลา 2 วัน ซึ่งถ้าแอนติบอดีในผู้ป่วยมีไม่เพียงพอจะทำาให้เกิดโรคติดต่อเหล่า นี้ได้ง่ายขึ้นและเซรุ่มที่ใช้ในสัตว์ถูกใช้ในปี 1930 เพื่อควบคุมและรักษา การติดต่อที่รุนแรง ตัวอย่างเช่น โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ หลังจากนั้นก็มีการ แนะนำา ซัลโฟนาไมด์ ซึ่งการรวมตัวกันของซัลโฟนาไมด์กับแอนติบอดี
  • 7. เป็นการเสริมกันที่ดี ซึ่งเมื่อเร็วๆนี้ถูกใช้กับทารกชาวอเมริกัน และอีก 22 คนถูกใช้ในการศึกษา โดยใช้โกลบิวลินภูมิต้านทานพอลิแซกคาไรด์ติดชื่อ แบคทีเรีย BPIG 80 mg ต่อนำ้าหนักตัว 1 kg อายุ 2,6,10 เดือน และ ทารกอีก 218 คน ในการควบคุมทำาการฉีดนำ้าเค็มในอายุที่เหมือนกัน และ จากการเปรียบเทียบ กลุ่มการควบคุม BPIG เห็นความแตกต่างที่สำาคัญ และทำาให้ปริมานเด็กเป็นโรคหูนำ้าหนวกลดลง ซึ่งทารกอเมริกันท้องถิ่นอะ ปาเช่ เสี่ยงต่อการเกิดโรคเหล่านี้ แต่อัตราการลดลงของจำานวนผู้เป็นโรค เหล่านี้ก้ไม่ใช่ทั้งหมด 2.โรคคอตีบ ผลข้างเคียงเกิดขึ้นเป็นจำานวนมากเนื่องจากการใช้ยาต่อ ต้านของโรคคอตีบกำาลังก่อให้เกิดการกระทำาของชีวพิษทำาให้มีผลต่อระบบ ประสาทส่วนกลางและอวัยวะอื่นๆการใช้สารต้านชีวพิษโรคคอตีบรวมทั้ง การใช้ยาปฎิชีวนะ ซึ่งปริมาณยาขึ้นอยู่กับความร้ายแรงและบริเวณที่เกิด โรค สำาหรับโรคคอตีบที่เกิดบริเวรช่อง หลังโคนลิ้นหรือกล่องเสียง ต้องให้ ยาเป็นเวลา 48 ชั่วโมง จาก 20000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอมถึง 40000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม สำาหรับบาดแผล นาโซฟาริง จาก 40000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอมถึง 60000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม และถ้าอาการและแผลของโรคกว้างกต้องใช้ระยะเวลาที่นานก่าคือ 72 ชั่วโมง ถ้าคอบวมมีนำ้าในคอจาก 80000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม ถึง 120000 หน่วยนำ้าหนักของอะตอม ฉีดเข้าเส้นเลือดดำา จากการใช้ยา ต้านชีวพิษร่างกายตอบสนองทางผิวหนังมากเกินไปและกดการไวของเส้น ประสาทรับความรู้สึก เพราะฉะนั้นยาหรือวัคซีนที่ใช้การได้จะต้องผ่าน ศูนย์กลางการควบคุมโรคและการป้องกัน Atlanta โรคคอตีบเกิดจากเชื้อ Corynebacterium เป็นเชื้อรูปท่อนแก รมบวก รูปร่างไม่แน่นอนไม่สร้างสปอร์ ไม่เคลื่อนที่ ไม่สร้างแคปซูล การทำาให้เกิดโรค โรคคอตีบมักเกิดกับเด็กอายุ 5-14 ปีจะเกิดการติดเชื้อทางเดิน หายใจส่วนบนที่เยื่อเมือก มักเกิดที่ คอหอยมากที่สุด นอกจากนี้การติดเชื้อ ยังเกิดที่ต่อมทอนซิล เชื้อนี้จะไม่แพร่กระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อชั้นในหรือกระแส เลือด แต่เมื่อเจริญมันจะสร้างทอกซินซึ่งแพร่กระจายไปทั่วร่างกายทาง กระแสเลือดทำา ให้เกิดโลหิตเป็นพิษทำา อันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ เนื้อเยื่อประสาทต่อมหมวกไต ตับ ไต อาการของโรค มีไข้สูงเพิ่มขึ้นทีละน้อย ต่อมาเจ็บคอหายใจ ลำาบาก เพราะมีเยื่อปิดกั้นในคอในเด็กเล็กมีอาการมากจนถึงหายใจไม่ออก
  • 8. การรักษาโรคคอตีบ 1. การรักษาโดยใช้แอนติเจนทอกซินของเชื้อคอตีบ เพื่อไปลบล้าง สารพิษที่จะต้องกระทำาโดยเร็วที่ที่สุดเพราะถ้าทอกซินเข้าสู่เนื่อ เยื่อต่างๆแล้วการรักษาจะไม่ได้ผล 2. การใช้ยาปฎิชีวนะ เช่น เพนิซิลลินจี คลอแรมเฟนิคอล เตตรา ไซคลินสำาหรับในรายที่แพ้ต่อยาเพนิซิลลินจีเพื่อไปทำาลายเชื้อ เป็นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไม่ให้เกิดการสร้างแผ่น เยื่อที่ลำาคอ และป้องกันโลหิตเป็นพิษ การรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ ต้องกระทำาร่วมกับการใช้แอนตีทอกซิน การติดต่อ การป้องกัน และควบคุมโรค การติดต่อ เกิดได้โดยตรงจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่ง โดย ผ่านพาหะที่ไม่แสดงอาการ นอกจากนี้ยังติดต่อโดยการสัมผัสกับ นำ้ามูก นำ้าลาย สิ่งของ ภาชนะเครื่องใช้ที่ปนเปื้อนด้ายเชื้อ การป้องกันโรค โดยให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองซึ่งมีความ สำาคัญมากในการควบคุมและป้องกันโรค โดยให้วัคซีนในรูปของทอกซอย ด์ แก่เด็ก วัคซีนที่ให้อยู่ในรูปวัคซีนรวมเพื่อป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โดยฉีดเข้ากล้ามเนื้อให้เด็กอายุ 2,4,6 เดือน 1 ½ ปี และฉีด กระตุ้นเมื่ออายุ 4-6 ปี และหลังจากนั้นจะให้ทุกๆ 10 ปี ในรูปของทอก ซอยด์ของเชื้อคอตีบ บาดทะยัก 3.ไอกรน เซรุ่มในการต่อต้านไอกรนถูกใช้ในปี 1930 ถูกใช้เพื่อ การดูแลรักษาโรคคอตีบ โดยส่วนมากจะถูกละทิ้งในส่วนของการป้องกัน และการรักษาโรคไอกรน มีการทดลองเซรุ่มในมนุษย์ที่มีภูมิต้านทาน และ ทำาให้มีภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีน two-component acellular ได้ ทดลองในเด็กๆ 33 คน รับยาเท่าๆกัน ทำาให้การไอ และการตะโกนเสียงดัง ลดลง โดยเฉพาะตัวยาเข้าไปดูแลรักษาเร็วมาก ซึ่งการทดลองนี้ประสบผล สำาเร็จและได้มีการทดลองใช้ในเด็กที่มีอายุ 1 ปี ที่มีอาการป่วยรุนแรง แล ได้ทดลองใช้โกลบิวลินภูมิต้านทานไอกรน 4 5% ในการทดลองใช้กับ เด็กๆ 26 คนและพบระดับปริมานยาหรือผลิตภัณท์ที่ปลอดภัยในระดับปริ มานยา 250 750 และ 1500 mg/kg และโปรตีนที่เป็นภุมิคู้มกันโรค ไอกรน ที่มีประสิทธิภาพในการรักษาดูแล ถูกปรับโดยครึ่งอายุของ 38 วัน ในเซรุ่ม แอนติบอดีจะพบหรือปรากฎในนำ้ามูกเป็นส่วนใหญ่
  • 9. โรคไอกรน เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย bordetella pertussis ซึ่งมักเกิดขึ้นกับเด็กทารกและเด็กเล็กๆที่มีอายุตำ่ากว่า 2 ปีถึง 85 % ลักษณะของเชื้อ เชื้อจะมีลักษณะเป็นท่อนสั้นมาก coccobacilli ขนาดเล็ก 0.5-2 ไมโครเมตร อยู่เดี่ยวๆหรือเป็นคู่ ไม่เคลื่อนที่ ติดสีแกรมลบ สร้าง แคปซุลเมื่อย้อมกับสีโทลูอิดีนบลู สารที่ทำาให้เชื้อมีความรุนแรงในการก่อโรค 1. เพอทัสซิสทอกซิน 2. อิมทอกกลูตินิน 3. ทอกซินที่ไม่ทนความร้อน 4. ทอกซินที่ทนความร้อน 5. เทรเคียสไซโททอกซิน 6. อะดินีเลตไซเคลสทอกซิน การทำาให้เกิดโรค B.pertussis ทำาให้เกิดโรคในคนเท่านั้น และไม่มีพาหะนำา โรค โดยเชื้อชอบเกาะกับเยื่อบุผิวที่หลอดลมและขั้วปอดที่มีวิเลียและทวี จำานวนอย่างรวดเร็ว การติดเชื้อจะเกิดที่ผิวเซลล์เยื่อบุผิวเท่านั้นโดยไม่เข้า กระแสเลือด ในการทดลองกับหนูโดยให้เชื้อทางช่องจมูก พบว่าเกิดโรค รุนแรงกว่าให้เชื้อทางช่องท้อง 1000 เท่า ระยะฟักตัวของโรคกินเวลาประมาน 10 วันถึง 2 สัปดาห์ เริ่ม จากอาการในโพรงจมูกที่ไม่รุนแรงมีการจามคล้ายไข้หวัดและไอเล็กน้อย จัดเป็นระยะอักเสบ วึ่งเป็นระยะที่มีการอักเสบของทางเดินอากาศของศรีษะ และลำาคอ ระยะนี้มีเชื้อโรคอยู่มากในลำาคอ ระยะที่ 2 เรียกว่าระยะรุนแรง จะมีการไอมากขึ้นไอจนอาเจียน มักไอเป็นชุดติดต่อกันและหายใจเข้าแรงจนมีเสียงดัง (woop) เหนื่อย หอบหายใจไม่ทัน และอาจชักได้อาจเกิดภาวะไซยาโนซิส คือผิวหน้าจะ เป็นสีเขียว เนื่องจากขาดเลือดและออกซิเจน ระยะสุดท้าย เป็นระยะฟื้นตัว อาการไอจะค่อยๆลดลงซึ่งกิน เวลา 2-3 สัปดาห์ ภูมิคุ้มกันโรค คนที่หายป่วยจากโรคนี้หรือได้รับวัคซีนอย่างเพียงพอแล้วจะมี ภูมิคุ้มกันโรคได้ แต่ถ้าได้รับเชื้อซำ้าอีกก็อาจติดเชื้อได้แต่ไม่ค่อยรุนแรง การติดเชื้อซำ้าในผู้ใหญ่อาจมีอาการรุนแรงกว่า ในเด็กทารกแรกเกิดมี ความไวต่อการติดเชื้อไอกรนเพราะมีภูมิคุ้มกันจากแม่มีน้อยไม่เพียงพอจะ ป้องกันโรค การรักษาโรคไอกรน
  • 10. เชื้อ B. pertussis นี้ไวต่อยาต้านจุลชีพหลายชนิดเมื่อ ทดลองในหลอดแก้ว ถ้ามีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในเด็กทารก รักษาด้วยอี ริโทรมัยซินหรืออาใช้เตตราไซคลิน คลอแรมเฟนิคอล การป้องกันโรค โรคไกรนมักเกิดกับเด็กเล็กและแพร่ระบาดได้ทั่วโลก จึงควร ป้องกันโดยใช้วัคซีนที่ทำาจากเชื้อตาย ฉีดรวมกับทอกซอยด์จากเชื้อคอตีบ และบาดทะยัก รวมเป็นวัควีน ดีพีที (DPT) ในเข็มเดียวกัน โดยเริ่มฉีดใน เด็กอายุ 2,4,6 เดือน และฉีดกระตุ้นเมื่ออายุ 18 เดือน และ 4-5 ขวบ 4.โรคบาดทะยัก แอนติบอดี เพื่อการป้องกันและการดูแลรักษาโรคบาดทะยัก ในปี 1890 ล้าสมัย ซึ่งเซรุ่มที่ใช้ถูกเตรียมจากม้าที่ทำาให้มีภูมิคุ้มกันโรคที่ ใช้ในการดุแลของโรคบาดทะยักที่รุนแรงตั้งแต่การทำายาต้านชีวพิษให้เป้ นกลาง อันนี้ถือว่าเป็นส่วนของการดูแลที่สำาคัญ จากการทำาการศึกษา ค้นคว้าทดลองที่กว้าง ได้กำาหนดปริมานยาที่เหมาะสมของสารต้านชีวพิษ และผลตอบแทนที่ได้จากสารต้านชีวพิษ intrathecal ที่ค่อนข้างจะได้ ผลตอบแทนดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคบาดทะยัก วึ่งโรคบาดทะยักยังเป็น ปัญหาที่สำาคัญในประเทศกำาลังพัฒนา ตั้งแต่ปี 1960 โกลบิวลินภูมิ ต้านทานโรคบาดทะยักมนุษย์ถุกใช้การได้ในสหรัฐอเมริกา และใช้การได้ เฉพาะเขตบริเวณในประเทศเท่านั้น จากผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันโรคกระท่อน กระแท่น จากการได้รับบาดเจ็บจากแผลที่สกปรกจะใช้ TIG ซึ่งปริมานและ ยาที่ใช้ในการป้องกันคือคือ IU 250 intra muscularly และการกระ ตุ้นภูมิคุ้มกันโรคที่เป็นการเริ่มต้นการดูแลรักษาเริ่มต้นที่ดี และในประเทศที่ ไม่ใช้ TIG มนุษย์แต่จะใช้สารต้านชีวพิษจากม้า จาก 3000 หน่วยนำ้า หนักของอะตอมถึง 1500 หน่วยนำ้าหนักอะตอม.คือเมื่อผู้ป่วยได้รับ บาดแผลร้ายแรงให้พิจารณาลักษณะของแผลว่า ลึก แคบ มีเลือดสกปรก มากน้อยเพียงใดเปื้อนดิน ถูกแทงหรืถูกสัตว์กัด ถ้าไม่ทราบว่าผู้ป่วยเคยมี ภูมิคุ้มกันโรคหรือยังให้รีบฉีดแอนติทอกซินก่อนเพื่อไปสะเทินทอกซินก่อ นที่จะไปจับกับระบบประสาท ถ้าผุ้ป่วยแพ้แอนติทอกซินจากม้า เตตานัสอิม มูนโกลบิวลิน TIG 250 หน่วย ที่เตรียมจากพลาสมาของคนที่ฉีดทอก ซอยด์ไว้ก่อนแล้วเข้ากล้ามเนื้อและให้ผู้ป่วยสร้างภูมิคุ้มกันเองด้วย โดยฉีด ทอกซอยด์เพื่อกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันต่อทอกซินแต่ถ้าผู้ป่วยมีภูมิ คุ้มโรคอยุ่แล้วและได้รับบาดแผลร้ายแรงก็กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน เพิ่มขึ้นโดยฉีดทอกซอยด์อย่างเดียว ดังนั้นการรักษาผู้ป่วยทีมีอาการ บาดทะยักแล้วอาจให้แอนติทอกซินในปริมานสูงถึง 3,000-10,000 หน่วยเข้าทางหลอดเลือดดำา ทำาความสะอาดแผลหรือผ่าตัดเพื่อชะล้างเอา สิ่งสกปรกหรือเชื้อสาเหตุออกไปป้องกันการงอกและการเพิ่มจำานวนเชื้อโดย ใช้ยาปฎิชีวนะที่ได้ผลดีคือ เพนิซิลลิน ซึ่งสารเหล่านี้จะแทรกซึมเข้าไปใน บริเวณบาดแผลและในโรคบาดทะยักการดูแลรักษาที่สำาคัญถุกแนะนำาให้ TIG ใช้เป็นมาตราการป้องกันโรคบาดทะยัก
  • 11. บาดทะยักในเด็กแรกเกิด ( tetanus neonatorum ) ลักษณะของเชื้อ tetanus มีลักษณะเป็นท่อนตรงปลายมนยาว 2-5 ไมโครเมตร กว้าง 0.4-0.5 ไมโครเมตร ไม่มีแคปซูล เคลื่อนที่ได้ ด้วยแฟลกเจลลารอบตัว สร้างสปอร์ที่ปลายด้านหนึ่ง ของเซลล์เป็นรูปกลม หรือรูปไข่ ซึ่งบาดทะยักในเด็กแรกเกิด มักเกิดจาการใช้วัสดุไม่สะอาดตัด สายสะดือให้ทารกและเกิดการติดสปอร์ของเชื้อเข้าไปในระยะแรกเกิด ทารกยังเป็นปกติดีสามารถดูดนมมารดาได้ ต่อมาอีก 5 วัน เริ่มเกิดอาการ ขากรรไกรแข็งเปิดไม่ได้ ดูดนมไม่ได้ หน้ากระตุก เกิดอาการกระตุกของ กล้ามเนื้อตามร่างกาย เกิดอาการหลังแข็ง ถ้าเด็กเป็นเวลานานจะหายใจ ลำาบากและสมองขาดออกซิเจนทำาให้เด็กเสียชีวิตได้ส่วนใหญ่เด็กจะตายใน เวลา 2 สัปดาห์แรกที่เกิดอาการของโรค การป้องกันและรักษาบาดทะยัก โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกัน ตั้งแต่ตอนเด็กโดยฉีดทอกซอยด์ของบาดทะยักร่วมกับทอกซอยด์ของคอตีบ และไอกรน(DPT) ในเข็มเดียวกันใน 1 ขวบแรก 3 ครั้ง และกระตุ้นเมื่อ อายุขวบครึ่ง และ 4 ขวบครึ่งหลังจากนี้ให้ฉีดป้องกันบาดทะยักทุก 10 ปี แก่ผุ้ที่มีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดดรคเพื่อให้ระดับแอนติทอกซินคงที่ 5.การติดต่อของเชื้อ Clostridium อื่นๆ Clostridium จีนัส clostridium รวมถึงสปีชีส์ต่างๆที่ อาศัยอยู่ในนำ้าดินตามพืชผักต่างๆ ซึ่งมีบทบาทสำาคัญในการย่อยสลาย ซากพืชซากสัตว์บางสปีชีส์เป็นทอมเมนชัลอยู่ในลำาไส้ที่ทำาให้เกิดโรค เชื้อนี้เป็นสาเหตุสำาคัญของโบโทลึซึม บาดทะยัก และก๊าซแกงกรีน ลักษณะ ทั่วไปของ clodtridium Clostridium เป็นเชื้อแกรมบวก รูปท่อนที่สร้างสปอร์ได้ เซลล์มี ความยาวตั้งแต่ 3-8 ไมโครเมตรและกว้าง 0.4-1.2 ไมโครเมตร สปีชีส์ส่วนใหญ่เซลล์ที่มีสปอร์อยู่ข้างในมักพองออก เชื้อส่วนใหญ่ ไม่ ต้องการออกซิเจนเลย ส่วนใหญ่เคลื่อนที่ได้ด้วยแฟลกเจลลา โรคที่เกิดจาก clostridium คือโรคอาหารเป็นพิษโบทูลึซึม ก๊าซแกงกรีนและบาดทะยัก การติดต่อของเชื้อ clostridium อื่น เป็นการได้รับพิษจากอาหาร หรือโรคอาหารเป็นพิษโบโทลึซึม ซึ่งเกิดจากการกินอาหารที่มีพิษของ แบคทีเรีย ที่อยู่ในอาหารประเภทใส้กรอก หรืออาหารหมักดอง ซึ่งมี ความรุนแรงทำาให้กลายเป็นอัมพาตได้ ถ้าเกิดกินหรือกลืนสปอร์เป็น พิษเข้าไป จากนักศึกษาแพทย์พบว่าอาหารกระป๋องก็มีพิษเชื้อ แบคทีเรียเหมือนกันในใส้กรอกหรืออาหารหมักดอง ซึ่งมักเกิดขึ้นกับ เด็กทารกที่กินนมผงผสมนำ้าผึ้ง ซึ่งมีพิษของแบคทีเรียอยู่ซึ่งเชื้อ
  • 12. แบคทีเรียเหล่านี้จะอาศัยอยู่ในกระเพาะลำาไส้ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งจากการได้รับพิษจากอาหารเหล่านี้ ถูกจัดการโดย สารต้านชีวพิษ ที่ใช้กันแพร่หลายผ่านศูนย์กลางการควบคุมโรคและป้องกัน. และสาร ต้านชีวพิษเหล่านี้สามารถให้แก่ผู้ที่ถูกสงสัว่าได้รับอาหารที่เป็นพิษ เหล่านี้เข้าไปได้ และปัจจุบันกได้มีการทดลองในแคลิฟอร์เนีย ที่ เป็นการทดลองของ botulism TIG มนุษย์เพื่อการดูแลทารกที่ได้ รับอาหารเป็นพิษจากแบคทีเรียเหล่านี้ได้เป็นผลสำาเร็จ ผลิตภัณท์อันนี้ ใช้การได้สำาหรับการดูแลรักษาการได้รับสารพิษจากอาหารพวกใส้ กรอกอาหารหมักดองแต่ในผู้ป่วยที่เชื้อเข้าไปอยู่ในกระเพาะลำาไส้ก็จะ เกิดผลทำาให้ลำาไส้อักเสบที่ปลายลำาไส้ใหญ่และรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ และอิมมูนโกลบิวลิน IVIG มนุษย์ จาก 200mg /kg ถึง 400 mg/kg และมีการเตรียมโปรตนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันโรคในสัตว์เลี้ยง ลูกด้วยนม จำาพวกวัว เพื่อเป็นการป้องกันอย่างหนึ่ง 6. โรคติดเชื้อจาก STEPHYLOCOCCUS เชื้อ staphylococcus มีอยู่ทั่วไปและความร้ายแรงของ เชื้อจะเข้าไปฝังลึกในไขกระดูกทำาให้อักเสบ และทำาให้เกิดฝีที่ผิวหน้าในวัย หนุ่มสาวที่เป็นสิวและการรักษาส่วนใหย่จะใช้ยาปฎิชีวนะซึ่งประสิทธิภาพ ในการควบคุมการติดต่อในหลายๆคนที่ป่วย แต่ไม่ควรใช้อย่างพรำ่าเพรือ และควรเลือกใช้รักษา ในกลุ่มอาการของโรคอาการชีอกจากพิษ staphylococcus โรคช๊อก TSS ซึ่งมักเกิดในหญิงสาวที่ใช้ผ้าอนามัย แบบสอด แต่บุคคลอื่นๆรวมทั้งเด้กและผู้ชายที่เป็นฝีหรือผู้ติดเชื้อ staphylococcus ก็อาจเป็น TTS ได้ อาการมีไข้ ความดันตำ่า ท้องร่วง เยื่อบุตาอักเสบ ปวดกล้ามเนื้อ หลังจากที่มีการลอกผิวหน้าหรือเป็นสะเก็ด วึ่งในกลุ่มอาการของโรคความตกใจที่มีพิษ หลังจากนั้นจะมีการปล่อยสาร ต้านชีวพิษจะสร้างสารภูมิคุ้มกันดรคในร่างกายซึ่งทำาให้ร่างกายมีระบบ ภูมิคุ้มกันโรคโดยปล่อยไซโกโทซิสจำานวนมากในนักศึกษาแพทย์ที่กำาลัง วิจัยและผลก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ซึ่งจะใช้ทดลองบวกกับการดูแลด้วยยาปิ ชีวนะโดยหมุนเวียนใช้อย่างน้อย 400 mg /kg ตามคำาแนะนำา ในครอบครัวใหญ่ ส่วนมากจะมีรายงานการเกิดกลุ่มอาการ ของโรคความตกใจจากพิษ staphylococcus บ่อยที่เกี่ยวข้องกับระดับ โปรตีนที่เกี่ยวกับภุมิคุ้มกันโรค เด็กชาย 2 คน ในครอบครัวใหญ่ไดรับการ ให้ยา TVIG ตามปกติ ก็ได้เป็นผลสำาเร็จคือหาย ต่อไปก็เป็นเรื่องของ แอนติบอดีที่มีบทบาทในการป้องกันการติดติอตัวจุลินทรีย์กลมคล้ายพวง องุ่น ซึ่งมีผลต่อเด็กเกิดใหม่ โดยเฉพาะเด็กคลอดก่อนกำาหนด ซึ่งการติดต่อ ในเด็กเกิดใหม่เป็นที่น่ากังวล เช่น การมีเชื้อแบคทีเรียในร่างกายและปริ มานยา IVIG ที่บรรจุกำาลังแทรกซึมเข้าไปทำางานร่วมกับแอนติบอดี STAPHYLO COCCUS เป็นสาเหตุสำาคัญของโรคฝีหนองถึง 80 %ถึงแม้จะมีการพัฒนายาปฎิชีวนะเพื่อใช้รักษาโรคและลดอัตราการ ตายของโรคนี้ แต่เชื้อนี้ก็ยังเป็นเชื้อโรคที่สำาคัญในระบบและชุมชน
  • 13. ลักษณะของเชื้อ เชื้อมีลักษณะรูปทรงกลม แกรมบวกไม่เคลื่อนที่ ไม่สร้างสปอร์ เส้น ผ่าศูนย์กลางประมาน 0.5-1.5 ไมโครเมตรเมื่อผนังเซลล์ติดกันจะคล้าย พวงองุ่น 7. โรคที่เกิดจากการบุกรุกของเชื้อ STEPTOCOCCUS Streptococcus เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก ทรงกลมอยู่เป็นคู่ หรือสายพบทั่วไปตามธรรมชาติ ลักษณะของเชิ้อ เชื้อมีลักษณระทรงกลมรูปไข่เรียงเป็นสายยาว เซลล์แบ่งตัวตั้งฉากกับแกนยาวของสาย เชื้อสเตรบดตค็อกคัสบางสายพันธ์ สร้างแคปซูลได้ group A ,B ,C เชื้อที่ติดต่อและรุกรานเกิดจากเชื้อเกิด จากเชื้อแบคทีเรีย Streptococci group A การบุกรุกของเชื้อนี้จะ ทำาให้เกิดภาวะโลหิตเป็นพิษรวมทั้งอาการของโรคความตกใจซึ่งกำาลัง ขยายออกมีความรุนแรงและเกิดขึ้นบ่อย อาการระยะหลังจะทำาให้เป็นไข้เมื่อเชื้อเข้าสู่เนื่อเยื่อชั้นในก็กระจายสู่ ท่อนำ้าเหลือง จากระบบนำ้าเหลืองเชื้อก็จะติดต่อเข้ากระแสเลือดซึ่งจะปล่อย พิาออกมาทำาให้กลายเป็นโลหิตเป็นพิษ ในภาคปฎิบัติของนักศึกษาแพทย์ ได้ทดลองเกี่ยวกับที่บุกรุกจากเชื้อ Streptococci ซึ่งมีการให้ยาในปริ มานที่มากจาก 1g /kg ถึง 2 g /kg บวกกับการบำาบัดโรค ซึ่งโรคนี้มัก ทำาให้เกิดโรคแทรกซ้อนและติดต่อได้ทางอาหารและอากาศ กรกระจาย โรค โดยการสัมผำสกับผู้ป่วยและผู้ที่ฟื้นจากไข้ ระยะฟักตัวประมาณ 3-4 วัน เริ่มมีอาการเจ็บคอ อาเจียนมีไข้ มีผื่น ตามร่างกาย ในวันที่ 1 2 มีผื่นที่เพดานปาก และจะหายใน 4-5 วัน โรคติดเชื้อ Streptococci ที่เกิดขึ้นระยะหลัง 1. ไข้รูมาติก อาการมีไข้อ่อนเพลีย ปวดบวมแดงตามข้อ ไข้รูมาติกพบ มากในเด็กอายุ 3-10 ปี และทำาให้ตายได้ในช่วงอายุ 5-20 ปี 2. กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน โรคที่ไม่ใช่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย แต่เป็นปฎิ กริยา ภุมิไวเกิน 8.การติดต่อในเด็กเกิดใหม่ที่มีความเสี่ยงสูง ในเด็กเกิดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่คลอดก่อนกำาหนดนำ้าหนัก แรกเกิดตำ่ากว่า 2000 กรัม ถ้าหากนำ้าหนักมากก่า 2000 กรัมจะทำาให้มี แอนติบอดี ท่ได้รับจากแม่ทำาให้ลดความร้ายแรงของโรคลดลงได้ ในเด็ก เกิดใหม่จะมีแอนติบอดีตำ่ามาก การตอบสนองของแอนติบอดีจะช้า และข้อ ต่อต่างๆก็ขาดความแข็งแรง ดังนั้นจึงมีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลของ IVIG ในการป้องกันหรือดูแลในเด็กเกิดใหม่ที่คลอดก่อนกำาหนด จากการศึกษา ในการตั้งครรภ์ 20 ถึง 37 สัปดาห์ มีนำ้าหนักแรกเกิดจาก 1300 ถึง 2000 กรัม ให้ปริมาณยา จำานวน 400 mg /kg ที่ใช้เพื่อการดูแลของ การมีเชื้อแบคทีเรียในร่างกายเด็กเกิดใหม่ และผลจากการทดลองในเด็ก
  • 14. 52 คน เสียชีวิต 3 คน(5.7 %) ในการเปรียบเทียบการเสียชีวิต 13 ราย ในทารก 42 คน(31%) เห็นความแตกต่างที่สำาคัญมาก ซึ่ง IVIG จะมีความสำาคัญมากในเด็กทารก เพราะจะช่วยให้เกิดการ หมุนเวียนของเม็ดเลือดขาว สรุป IVIG ยังไม่ไดรับการชี้ชัดสำาหรับมาตรา การป้องกันของการติดต่อในเด็กเกิดใหม่ แต่มันก็มีบทบาทสำาคัยในเด็กที่รับ ยาปฎิชีวนะไม่ได้ 9. การรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยที่ช็อกหรือเครียดจาก บาดแผล ในผู้ป่วยที่ฝ่าความเครียดที่รุนแรงจากบาดแผลภายนอกหรือการ รักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด มีการถ่ายเทอากาศและรับแสงอย่างปลอดโปร่ง ไม่ให้ผู้ป่วยสะเทือนใจจากโรคติดต่อ ในร่างกายที่มีภูมิต้านทานตำ่าและมี ภุมิแพ้เข้ามาเกี่ยวข้องซึ่งเป็นอันตรายต่อหน้าที่ของแอนติบอดีในการห้าม เลือด และโรคความดันโลหิตตำ่าน่าจะมีการส่งเสริมการมีเชื้อแบคทีเรียใน ร่างกายและได้มีการใช้ในผู้ป่วย 71 คน ที่มีการติดต่อบัคเตรี GRAM ลบ และโรคจากความตกใจ โดยใช้ IVIG ในการรักษาและป้องกันแอนติบอดี ในร่างกายไม่ได้ผลเท่ากับยา IVIG ตามปกติเลยในการเปรียบเทียบ การ ให้ยาปฎิชีวนะบวกกับการรักษาพยาบาลอย่างใกล้ชิด และจากการเปรียบ เทียบผลกระทบต่อเนื่องของพวกเขาว่า ในผู้ป่วย 54 คน ที่ได้รับยาปฎิชีว นะคนเดียว ไม่มีความแตกต่างในการอยุ่รอดเลยกลุ่ม IVIG ที่ห้อง ไอซียู ที่ที่ถูกใช้ในระยะเวลาสั้นๆ ในการบำาบัดโรคและการป้องกัน ทำาให้ดีขึ้นและ ลดจำานวนความตายจากการติดต่อลงได้ และจากการศึกษาของผู้ป่วย 552 คน จากการสังเกตที่ IVIG แบทีเรียชนิดหนึ่งที่ เกิดจากการนำา เซรุ่ม ฉีดเข้าไปในกล้ามเนื้อเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคชนิดหนึ่ง โดยให้ 400 mg/kg ทำาให้ลดจำานวนผู้ป่วยในห้องไอวียุ และลดระดับผู้ป่วยได้ จากการเปรียบเทียบ 10.โรคติดต่อจากเชื้อ Pseudomonas ที่รุนแรง การติดต่อ Pseudomonas ที่รุนแรง เกิดความวุ่นวายและเป้ นปัญหาในหลายๆที่เกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่ต้องการรักษาพยาบาลอย่าง ใกล้ชิด และโรคเกี่ยวกับเส้นใยกระเพาะปัสสาวะอักเสบ การศึกษาใน ลักษณะเป็นแอนติบอดีจากสัตว์และในชั่วโมงเรียนของนักศึกษาแพทย์ได้ แย้มในผู้ป่วยที่เป็นรูเกิดจากไฟไหม้ที่ให้ เชื้อ Pseudomonas IVIG มนุษย์หรือพลาสมา รูที่เกิดจากรอยไหม้จากการศึกษาได้ถูกพิสูจน์ผลจาก ชั่วโมงเรียนแพทย์ภาคปฎิบัติ ในการศึกษาเมื่อเร็วๆนี้ ให้IVIG มนุษย์ที่ ทดลองและได้มาจากผู้บริจาคทำาให้มี๓มิคุ้มกันโรคโดยชีวพิษพอลีแซกคา ไรด์ Pseudomonas ถูกให้ 100mg/kg และพอลีแซกคาไรด์ 24- valent klebsiella ที่คู่กับผู้ป่วยที่ถูกเข้ามาในห้องไอวียู ภายในโรง พยาบาล ซึ่งจากผลการปฎิบัติไม่มีอะไรที่สำาคัยเกี่ยวกับสถิติหรืออัตรา
  • 15. ความร้ายแรงของการติดต่อในผู้ป่วยเหล่านี้เลย ในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะ อักเสบ โกลบิวลินภูมิต้านทาน เชื้อนี้ กับภูมิต้านทานเกินมนุษย์ทดลองทั้ง สอง และ IVIG ส่วนมากจะใช้ในชั่วโมงเรียนของแพทย์ที่ใช้ในการทดลอง ต่างๆ และเป็นการยากที่จะกำาจัดให้หมดจากสิ่งมีชีวิตได้ อ้างอิง Clinical Microbiology Reviews, Oct. 2000, p. 602-614 ผู้ช่วยศาสตราจารย์นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. แบคทีเรียที่ เกี่ยวข้องกับโรค. NOBELPRINT.พิมพ์ครั้งที่ 2. ศูนย์หนังสือจุลาลง กรณ์มหาวิทยาลัย.2544 หน้า 31-238.
  • 16. นงลักษ์,ปรีชา สุวรรณพนิจ. จุลชีววิทยาทั่วไป. บริษัท เท็กซ์ แอนด์เจอเนรัล พับลิเคชั่ น จำากัด.พิพม์ครั้งที่ 3. สำานักพิพม์จุลาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2544.หน้า 646-654.