SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
0
คู่มือการใช้งานฉบับภาษาไทย
เครื่อง Spectrophotometer
รุ่น Genesys 10S UV-VIS
ผลิตภัณฑ์ Thermo Scientific
คําเตือน
คู่มือนี้ มีจุดประสงค์เพื่อบอกขั้นตอนในการใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกเท่านั้น คําแนะนําการใช้งานนี้ได้แปลมา
จากภาษาอังกฤษ ถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่ชัดเจน หรือเกิดข้อผิดพลาด ควรอ่านรายละเอียดในคู่มือฉบับภาษาอังกฤษ
1
1. สถานที่ติดตั้งเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์
การติดตั้งเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ รุ่น Genesys10S
1.1 ควรห่างจากแหล่งที่มีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสูง ๆ เช่น เครื่อง NMR และหม้อแปลงไฟฟ้า
1.2 ไม่ควรวางในบริเวณที่มีก๊าซที่มีความกัดกร่อน
1.3 หลีกเลี่ยงการวางเครื่องใกล้บริเวณที่มีความสั่นสะเทือนสูง เช่น เครื่องเซนติฟิวส์
1.4 ไม่ควรวางใกล้แหล่งที่มีความชื้นสูง เช่น บริเวณใกล้อ่างนํ้า
1.5 หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีฝุ่นและแหล่งที่มีความร้อนสูงๆ เช่น วางเครื่องตากแดด
2. หลอดใส่สารตัวอย่างที่สามารถใช้งานกับเครื่องรุ่นนี้ได้มีดังนี้
2.1 หลอดใส่สารแบบแก้วสามารถใช้งานเฉพาะในช่วงวิสิเบิ้ลเท่านั้น
2.2 หลอดใส่สารแบบควอตซ์สามารถใช้งานได้ในช่วงยูวีและวิสิเบิ้ล
2.3 หลอดใส่สารแบบพลาสติค มี 2 แบบ ชนิดใช้งานในช่วงวิสิเบิ้ลอย่างเดียวและแบบที่สามารถใช้งาน
ในช่วงยูวีและวิสิเบิ้ลได้(สามารถพิจารณาจากเอกสารจากบริษัทผู้ผลิตในช่วงความยาวคลื่นที่สามารถใช้
งานได้)
*** ถ้าต้องการใช้หลอดใส่สารขนาดเล็กมากๆ ควรตรวจเช็คค่า Z-dimension สําหรับรุ่นนี้มีค่า Z = 8.5 mm ***
2
1. เสียบปลั๊ก โดยใช้ไฟฟ้า 220V/50Hz.
การเปิดเครื่อง
2. ก่อนเปิดเครื่องควรเช็คดูภายใน Cell holder ว่ามี cuvette หรือ Sample อยู่ภายในหรือไม่ ถ้ามีอยุ่ควรนําออกมาก่อน
เปิดสวิตซ์เครื่อง
3. กดสวิตซ์ ON/OFF ซึ่งอยู่ด้านหลังของเครื่อง
4. เมื่อเปิดสวิตซ์แล้ว เครื่องจะทําการตรวจสอบสภาพตัวเองก่อนการใช้งาน ห้ามเปิดฝาในขณะที่เครื่องกําลังทํางาน
โดยจะมีข้อความขึ้นตามลําดับดังนี้
4.1. Logo Evolution
4.2. Calibrating filter wheel
4.3. Finding zero order
4.4. Finding energy peak
4.5. Calibrating grating
5. ถ้าเครื่องอยู่ในสภาพปกติดีและพร้อมใช้งานจะผ่านการทดสอบทั้ง 5 ขั้นตอนดังข้างต้น
6. หลังตรวจสอบตัวเอง หน้าจอจะปรากฏให้พร้อมใช้งาน ควรอุ่นเครื่องอย่างน้อย 15 นาที ก่อนใช้งาน
3
General Test ประกอบด้วย 9 โปรแกรม ดังนี้
โปรแกรมสําเร็จรูปภายในเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์
1. โปรแกรม Advanced A / %T / C
สําหรับวัดค่าการดูดกลืนแสง เปอร์เซ็นต์การส่องผ่านของแสง และ ความเข้มข้นของสารตัวอย่าง
2. โปรแกรม Standard curve
สําหรับวัดค่าความเข้มข้นของสารละลาย เทียบกับกราฟมาตราฐาน
3. โปรแกรม Absorbance ratio
สําหรับวัดค่าอัตราส่วนของค่าการดูดกลืนแสงที่ 2 ความยาวคลื่น
4. โปรแกรม Absorbance Difference
สําหรับวัดค่าอัตราส่วนของค่าการดูดกลืนแสงที่ 2 ความยาวคลื่น พร้อมคํานวณความเข้มข้นของสาร
5. โปรแกรม Kinetics
สําหรับวัดค่าอัตราการเกิดปฎิกิริยา และ ค่าอัตราเร่ง ของสารตัวอย่าง ในปิกิริยา
6. โปรแกรม Scanning
7. โปรแกรม 3-point net
8. โปรแกรม Multiple wavelengths
9. โปรแกรม Performance Verification
1. หลังจากเปิดเครื่องและตรวจสอบตัวเองเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม Test เพื่อเข้าสู่หน้าจอที่แสดงโปรแกรม
ทั้ง 9 จะปรากฎดังรูป
วิธีการเข้าสู่โปรแกรม
2. เลือกโปรแกรมที่ต้องการโดยใช้ลูกศรที่หน้าปัดเครื่อง เลื่อนแถบไปยังโปรแกรมที่ต้องการ แล้วกด Enter
Test Types 11:55 pm 20 Jan 04
Advanced A-%T-C
Standard Curve
Absorbance Ratio
Absorbance Difference
Kinetics
Scanning
3-Point Net
Mutiwavelength
Performance Verification
Bio test Stored Tests
4
เป็นโปรแกรมการตั้งค่าเบื้องต้นของเครื่อง เช่น วันที่ , เวลา, อายุหลอดไฟ เป็นต้น
การใช้โปรแกรมยูทีลิตี (Utility)
1. การเข้าสู่โปรแกรม โดยการกดปุ่ม Utility ที่หน้าปัดของเครื่อง หน้าจอจะปรากฎ ดังนี้
2. เลือกตั้งค่า Parameter โดยการใช้ลูกศร เลื่อนขึ้น-ลง ไปยังพารามิเตอร์ ที่ต้องการเปลี่ยนแปลง แล้วกด Enter
3. การตั้งค่าการพิมพ์(Printer) โดยการเลื่อนแถบไปยังคําว่า Printer แล้วกด Enter จะปรากฏ ให้เลือก
เครื่องพิมพ์แบบภายในหรือต่อกับเครื่องพิมพ์ภายนอกแล้วกด Enter
4. การตั้งค่าวันที่และเวลา โดยการเลื่อนแถบไปที่ Date/Time Setup แล้วกด Enter ทําการเปลี่ยนแปลงแก้ไ-ด้วย
กด Enter
5. การตั้งเวลา Standby โดยการเลื่อนแถบไปที่ Standby แล้วกด Enter เลือกเวลาที่ต้องการ แล้วกด Enter
6. การตั้งค่า Beeper หรือ เสียงเมื่อกดปุ่มที่หน้าปักเครื่อง สามารถเลือกให้มีเสียง (on) หรือแบบไม่มีเสียง (off )
7. การเลือกภาษาที่ใช้ สามารถเลือกได้4 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และ ภาษาสเปนได้
8. การดูอายุของหลอดไฟที่ใช้ไปแล้ว โดยแสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์เช่น ดังรูปข้างบน %of lamp life used 0.1 %
หมายความว่า หลอดไฟได้ถูกใช้ไป 0.1 % แล้ว
9. การปรับความเข้ม สว่างของหน้าจอภาพ โดยการเลื่อนแถบไปที่ Screen contrast แล้วกด enter แล้วใช้ปุ่ม
ลูกศรเลื่อนในการปรับความเข้ม สว่างเพื่อความคมชัดในการใช้งานที่หน้าจอภาพ
10. การเลือกดูไฟล์ที่เก็บไว้โดยการเลื่อนแถบไปที่ Stored Test Directory แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏไฟล์
ต่างๆ ที่เก็บไว้ถ้าต้องเรียกออกมาใช้งาน ให้เลื่อนแถบไปยังไฟล์ที่ต้องการแล้ว กด Load Test
11. ถ้าต้องการออกจากโปรแกรม Utility โดยการกดปุ่ม ESC จะสามารถกลับไปสู่หน้าจอหลักได้
Utility 11:55 pm 20 Jan 04
Printer
Date /Time Setup 11:55 20 Jan 04
Standby 15 min
Baseline Exipararion (hr: min) off
Beeper on
Language English
% of Lamp life used 0.1%
Screen contrast
Printout contrast
Stored Tests Directory
Calculator
Press or to select parameter.
5
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ
ดังนี้
การใช้โปรแกรม Advance A-%T -C ในการวัดค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การส่องผ่านแสง
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆใช้ลูกศร ในการเลื่อนแถบไปยัง พารามิเตอร์ที่ต้องการเปลี่ยนแล้วกด enter
3. การตั้งชื่อ Test name โดยการเลื่อนแถบไปยัง Test name แล้วกด enter ทําการตั้งชื่อโดยเลื่อนลูกศรไปยัง
ตัวอักษรที่ต้องการ แล้วกด Add character จนกระทั่งได้ชื่อที่ต้องการแล้วกด Accept name จะได้ชื่อ Test
name ที่ต้องการ
4. การเลือก Measurement Mode ถ้าต้องการวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลาย ให้เลือกเป็น Absorbance
5. การตั้งค่าความยาวคลื่น พิมพ์ค่าความยาวคลื่นที่ต้องการแล้วกด enter
6. Delay time เป็นการตั้งเวลาให้เครื่องวัดค่า ตามเวลาที่ต้องการ
7. Sample positioner เป็นการตั้งโปรแกรมให้เครื่องอ่านค่าแบบอัตโนมัต หรือ แบบ Manual
- โปรแกรมให้เครื่องทําการวัดค่าโดยอัตมัติ 6 ตําแหน่ง โดยการเลือก Auto 6
- โปรแกรมให้เครื่องทําการวัดค่าโดยอัตโนมัติ 3 ตําแหน่ง (กรณีใช้กับ 6-position cell holder ที่มีที่จับ
หลอดแบบยาวขนาด 50 มม 3 อัน) โดยการเลือก Auto 3
- แบบ Manual หรือ 1-cell platform
8. Number of sample หรือจํานวนตัวอย่างที่ต้องการวัด
- สําหรับ 6-position cell holder จะใส่สารตัวอย่างได้ครั้งละ 5 ตัวอย่าง โดยตําแหน่ง B คือ Blank
- สําหรับ 1-cell holder สามารถใส่สารตัวอย่างได้ครั้งละ 1 ตัวอย่าง
9. เมื่อทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆเรียบร้อยแล้ว ให้กด Run test
6
10. กรณี 6-position : ใส่สารละลาย Blank และ สารละลายตัวอย่างลงในช่องใส่สารแล้วกด enter เครื่องจะถามว่า
ใส่สารตัวอย่างและ Blank ลงในตําแหน่งที่ถูกต้องแล้ว ให้กด enter
กรณี 6-position : ใส่สารละลาย Blank แล้วกด Measure blank แล้วนําสารละลาย Blank ออก นําสารละลายตัว
ย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้ว กด Measure sample
11. อ่านค่าที่ได้จากหน้าจอแสดงผล ถ้าเป็นรุ่นที่ต่อกับชุดพิมพ์ผลให้กด Print เพื่อพิมพ์ผลที่ได้
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ
ดังนี้
การใช้โปรแกรม Standard curve
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อกราฟมาตราฐาน
2.2 Date Standards Measured เป็นการใส่ วันที่ที่ทํากราฟมาตรฐานนี้
2.3 Wavelength เป็นการตั้งค่าความยาวคลื่นที่ต้องการ
2.4 Ref. Wavelength Correction เป็นการตั้งค่าความยาวคลื่นของสารที่เราทราบค่า ที่มีผสมในสารละลาย
มาจราฐานนี้ ปกติเราจะไม่ทราบ ต้องเลือกเป็น off
2.5 Curve Fit เป็นการเลือกแบบกราฟมาตราฐาน ถ้าต้องการกราฟเส้นตรง ให้เลือก Linear และถ้าต้องการ
กราฟแบบเส้นตรงผ่านศูนย์ให้เลือกเป็น Linear through zero
2.6 Number of Standards เป็นการกําหนดจํานวนสารมาตรฐานที่ต้องการ สามารถกําหนดได้สูงสุด 15 ค่า
2.7 Units เป็นการเลือกหน่วยของความเข้มข้น เช่น ppm , mg/ml , mol/l ….เป็นต้น
2.8 Sample Positioners
7
- กรณีเ Auto 6 เป็นการตั้งโปรแกรมการวัดค่าแบบอัตโนมัติ สําหรับรุ่น 6 position cell holder โดยจะใส่
สารละลาย Blank ลงในช่อง B และ ช่องที่ 1-5 สําหรับใส่สารตัวอย่าง
- กรณี 1-cell position ใส่สารละลาย Blank แล้วกด Measure blank แล้วนําสารละลาย Blank ออก นํา
สารละลายตัวย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้ว กด Measure Standards
3. หลังจากกําหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เรียบร้อยแล้วให้กด Run Standards
4. หน้าจอจะปรากฏให้ใส่ค่าความเข้มข้นของสารมาตรฐาน เมื่อพิมพ์ค่าเรียบร้อยแล้วให้กด Measure Standards
ดังรูป
5. กรณี Auto 6 นําสารละลาย Blank ใส่ในช่อง B และสารละลายมาตราฐานใส่ในช่องใส่สารตามจํานวนสาร
มาตรฐานที่เลือกไว้แล้วกด Measure Standards เครื่องจะทําการวัดค่าสารมาตรฐานแล้วสร้างกราฟ
มาตราฐาน (Standard curve)กรณี แบบ Manual นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure
Blank เมื่อวัด Blank เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นําสารละลาย Blank ออก แล้ว นําสารละลายมาตรฐานใส่ลงใน
ช่องใส่สารแล้วกด Measure Standards ทําการวัดจนกระทั่งครบจํานวนสารมาตรฐานที่กําหนดไว้
6. เมื่อวัดจนครบแล้วเครื่องจะแสดงค่าการดูดกลืนแสงของสารมาตรฐาน
Standard Curve 10:40 7 Mar 04
Test Name : PP 1
Std Conc. Abs
# mg/ml 546 nm.
1. 50.00 -------------
2. 60.00 -------------
3. 70.00 -------------
Save Edit Measure
Test Standards Standards
Standard Curve 10:40 7 Mar 04
Test Name : PP 1
Std Conc. Abs
# mg/ml 630 nm.
1. 50.00 0.082
2. 60.00 0.131
3. 70.00 0.142
View Save Edit Run
Graph Test Standards Test
8
7. ถ้าต้องการดูกราฟมาตราฐานที่ได้ให้กด View Graph
*** กดเลือก Change Fit ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของกราฟ ***
8. นําสารละลาย Blank และ ตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Run Test เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงผล
เป็นค่าความเข้มข้นของสาร
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ
ดังนี้
การใช้โปรแกรม Scan
9
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อการวิเคราะห์นี้
2.2 Measurement Mode เป็นการเลือกวิธีการสแกน มีให้เลือกดังนี้ Absorbance , Transmittance
2.3 Start Wavelength เป็นการกําหนดค่าความยาวคลื่นเริ่มต้นในการสแกน
2.4 Stop Wavelength ป้นการกําหนดค่าความยาวคลื่นต้องการหยุดการสแกน
2.5 Scan Speed เป็นการเลือกความเร็วในการสแกน มีให้เลือกระดับต่างๆดังนี้ Slow, Medium, Fast
- ถ้าต้องการความละเอียดของกราฟสูงควรเลือกความเร็วในการสแกนตํ่าๆเช่น Slow
- ถ้าต้องการสแกนแบบคร่าวๆเพื่อสํารวจกราฟ สามารถเลือกความเร็วแบบ Fast ได้เพื่อจะได้ไม่
เสียเวลาเพราะ การเลือกความเร็วในการแสกนตํ่าๆ จะใช้เวลามาก
2.6 Sample Positioners
3. เมื่อตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆเรียบร้อยแล้ว สามารถทําการวัดค่าได้โดย
- กรณีเลือก Auto 6 นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารตําแหน่ง B และสารตัวอย่างที่ต้องสแกนใส่
ลงในช่องที่ 1 แล้วกด Run test เครื่องจะทําการ Collect baseline และ สแกนสารโดยอัตโนมัติ
- กรณีเลือก single cell plate form หรือ แบบ Manual ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด
Run Test แล้วกด Collect Baseline ระหว่างทําการ Collect baseline ห้ามเปิดฝาช่องใส่สาร เมื่อเครื่องทํา
เสร็จแล้ว นําสารละลาย Blank ออกแล้ว จากนั้นนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วทําการกด
Measure Sample
4. ถ้าต้องการให้กราฟแสดงค่าความยาวคลื่นสูงสุด สามารถกดที่ Math เลือก Peak&Valleys และเลือก on
5. ถ้าต้องการให้กราฟแสดงแบบ 3-point net โดยการเลือกกด Math และ เลือก 3-point net แล้วกําหนดค่า
Factor
6. ถ้าต้องการให้แสดง Area Under the curve โดยการเลือกกด Math และ เลือกกด Area
10
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ
ดังนี้
โปรแกรมการวัดค่า Absorbance Ratio
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test
3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน
ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล
กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Blank
จากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Sample
เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล
11
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ
ปรากฏดังนี้
โปรแกรมการวัดค่า Absorbance Difference
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test
3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน
ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล
กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure
Blankจากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure
Sample เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล
12
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ
ปรากฏดังนี้
โปรแกรมการวัดค่า Kinetics
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test
3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน
ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล
กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure
Blankจากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure
Sample เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล
Kinetics 11:59 pm 31 Jan 04
Test Name -----------
Factor 1.000
Units C
Linearity Value 0.005
Sample Positioner Auto 6
Cell Correction off
ID# ( 0=off ) 1
Low/High Limits -9999/9999
Auto Print on
Press or to select item to change
Save Stored Run
Test Tests Test
13
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ
ปรากฏดังนี้
การใช้โปรแกรม Multiple Wavelengths
2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้
2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อการวิเคราะห์
2.2 Measurement Mode เลือกวิธีการวิเคราะห์แบบวัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance)
2.3 Sample Positioner เป็นการเลือกโปรแกรมการวัดแบบเลื่อนตําแหน่งแบบอัตโนมัติ Auto 6 หรือเลือก
เป็น Manual สําหรับรุ่น Single cell holder
2.4 กดปุ่ม Set nms หน้าจอจะปรากฏดังรูป ทําการตั้งค่าความยาวคลื่นที่ต้องการวัดสามารถตั้งได้สูงสุด
31 ค่า โดยการกด Add nm เพื่อเพิ่มค่าความยาวคลื่นแล้วพิมพ์ค่าความยาวคลื่นที่ต้องการ ถ้าต้องลบให้
กด Delete nm
Mutiwavelength 11:59 pm 31 Jan 04
Test Name -----------
WL# nm
1. 610
2. 660
3. 680
Press or to View data
Edit Add Delete Run
nm nm Tests
14
3. เมื่อตั้งค่าต่างๆเรียบร้อยแล้วให้กด Run test เพื่อทําการวัดค่า
4. นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร B และ สารละลายตัวอย่างในช่อง 1-5 แล้วกด Enter
5. อ่านผลที่หน้าจอแสดงผล
1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด Enter หน้าจอจะ
ปรากฏดังนี้
การใช้โปรแกรม Performance Verification
2. เลือก Wavelength Accuracy – Internal แล้วกด Enter
3. ตรวจสอบภายในเครื่องว่าไม่มีหลอดใส่สารค้างอยู่แล้วกด Start Test เครื่องจะทําการตรวจเช็คและรายงาน
ผลดังนี้
*** หากได้ผลลัพธ์เป็น Fail โปรดติดต่อฝ่ายช่างที่บริษัทฯ เพื่อเข้ามาซ่อมเครื่อง ***

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลThanawut Rattanadon
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสChanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1oraneehussem
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีสแรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
แรงพยุงและหลักของอาร์คิมีดีส
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1ใบงาน 11.1
ใบงาน 11.1
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 

Similar to GENESYS™ 10S UV-Vis (Thai)

1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-041 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04Kamol Khositrangsikun
 
20121203-bookexpert
20121203-bookexpert20121203-bookexpert
20121203-bookexpertSo Pias
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1binLy
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6Aungkana Na Na
 

Similar to GENESYS™ 10S UV-Vis (Thai) (9)

1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-041 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
1 รายงานฉบับสมบูรณ์ 2015 09-04
 
Sme 8 12-54
Sme 8 12-54Sme 8 12-54
Sme 8 12-54
 
20121203-bookexpert
20121203-bookexpert20121203-bookexpert
20121203-bookexpert
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
081254
081254081254
081254
 
081254
081254081254
081254
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี6
 

More from Tassanee Lerksuthirat

External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMBExternal Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMBTassanee Lerksuthirat
 
Preparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussionPreparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussionTassanee Lerksuthirat
 
Meeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESIMeeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESITassanee Lerksuthirat
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยTassanee Lerksuthirat
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfTassanee Lerksuthirat
 
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPFluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPTassanee Lerksuthirat
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPTassanee Lerksuthirat
 

More from Tassanee Lerksuthirat (20)

External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMBExternal Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
External Grant-Devision of Research-19March2024-KM-IMB
 
Preparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussionPreparation note on longevity for discussion
Preparation note on longevity for discussion
 
Ministerial Regulation
Ministerial RegulationMinisterial Regulation
Ministerial Regulation
 
Note: The aging brain
Note: The aging brainNote: The aging brain
Note: The aging brain
 
Meeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESIMeeting report - policy distribution from MHESI
Meeting report - policy distribution from MHESI
 
Shorten link.pdf
Shorten link.pdfShorten link.pdf
Shorten link.pdf
 
Experimental design for biologists
Experimental design for biologistsExperimental design for biologists
Experimental design for biologists
 
Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)Note in RIAC2023 (day 3)
Note in RIAC2023 (day 3)
 
Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)Note in RIAC2023 (day 2)
Note in RIAC2023 (day 2)
 
Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)Note in RIAC2023 (day 1)
Note in RIAC2023 (day 1)
 
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยคู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
คู่มือการปฏิบัติตนเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย
 
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdfSentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
Sentiment Analysis for Public Opinions in Healthcare_Redacted.pdf
 
Upright microscope location
Upright microscope locationUpright microscope location
Upright microscope location
 
Upright Lens
Upright LensUpright Lens
Upright Lens
 
Computer specification
Computer specificationComputer specification
Computer specification
 
MU saving seminar note
MU saving seminar noteMU saving seminar note
MU saving seminar note
 
Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)Nikon Ti-U Manual (Eng)
Nikon Ti-U Manual (Eng)
 
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdfCi-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
Ci-S-Ci-L (Eng-Manual).pdf
 
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOPFluorescence microscope (Ci-L) - SOP
Fluorescence microscope (Ci-L) - SOP
 
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOPFluorescence microscope (Ti Series) - SOP
Fluorescence microscope (Ti Series) - SOP
 

GENESYS™ 10S UV-Vis (Thai)

  • 1. 0 คู่มือการใช้งานฉบับภาษาไทย เครื่อง Spectrophotometer รุ่น Genesys 10S UV-VIS ผลิตภัณฑ์ Thermo Scientific คําเตือน คู่มือนี้ มีจุดประสงค์เพื่อบอกขั้นตอนในการใช้งาน เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกเท่านั้น คําแนะนําการใช้งานนี้ได้แปลมา จากภาษาอังกฤษ ถ้าส่วนหนึ่งส่วนใดไม่ชัดเจน หรือเกิดข้อผิดพลาด ควรอ่านรายละเอียดในคู่มือฉบับภาษาอังกฤษ
  • 2. 1 1. สถานที่ติดตั้งเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ การติดตั้งเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ รุ่น Genesys10S 1.1 ควรห่างจากแหล่งที่มีสนามแม่เหล็กไฟฟ้าสูง ๆ เช่น เครื่อง NMR และหม้อแปลงไฟฟ้า 1.2 ไม่ควรวางในบริเวณที่มีก๊าซที่มีความกัดกร่อน 1.3 หลีกเลี่ยงการวางเครื่องใกล้บริเวณที่มีความสั่นสะเทือนสูง เช่น เครื่องเซนติฟิวส์ 1.4 ไม่ควรวางใกล้แหล่งที่มีความชื้นสูง เช่น บริเวณใกล้อ่างนํ้า 1.5 หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีฝุ่นและแหล่งที่มีความร้อนสูงๆ เช่น วางเครื่องตากแดด 2. หลอดใส่สารตัวอย่างที่สามารถใช้งานกับเครื่องรุ่นนี้ได้มีดังนี้ 2.1 หลอดใส่สารแบบแก้วสามารถใช้งานเฉพาะในช่วงวิสิเบิ้ลเท่านั้น 2.2 หลอดใส่สารแบบควอตซ์สามารถใช้งานได้ในช่วงยูวีและวิสิเบิ้ล 2.3 หลอดใส่สารแบบพลาสติค มี 2 แบบ ชนิดใช้งานในช่วงวิสิเบิ้ลอย่างเดียวและแบบที่สามารถใช้งาน ในช่วงยูวีและวิสิเบิ้ลได้(สามารถพิจารณาจากเอกสารจากบริษัทผู้ผลิตในช่วงความยาวคลื่นที่สามารถใช้ งานได้) *** ถ้าต้องการใช้หลอดใส่สารขนาดเล็กมากๆ ควรตรวจเช็คค่า Z-dimension สําหรับรุ่นนี้มีค่า Z = 8.5 mm ***
  • 3. 2 1. เสียบปลั๊ก โดยใช้ไฟฟ้า 220V/50Hz. การเปิดเครื่อง 2. ก่อนเปิดเครื่องควรเช็คดูภายใน Cell holder ว่ามี cuvette หรือ Sample อยู่ภายในหรือไม่ ถ้ามีอยุ่ควรนําออกมาก่อน เปิดสวิตซ์เครื่อง 3. กดสวิตซ์ ON/OFF ซึ่งอยู่ด้านหลังของเครื่อง 4. เมื่อเปิดสวิตซ์แล้ว เครื่องจะทําการตรวจสอบสภาพตัวเองก่อนการใช้งาน ห้ามเปิดฝาในขณะที่เครื่องกําลังทํางาน โดยจะมีข้อความขึ้นตามลําดับดังนี้ 4.1. Logo Evolution 4.2. Calibrating filter wheel 4.3. Finding zero order 4.4. Finding energy peak 4.5. Calibrating grating 5. ถ้าเครื่องอยู่ในสภาพปกติดีและพร้อมใช้งานจะผ่านการทดสอบทั้ง 5 ขั้นตอนดังข้างต้น 6. หลังตรวจสอบตัวเอง หน้าจอจะปรากฏให้พร้อมใช้งาน ควรอุ่นเครื่องอย่างน้อย 15 นาที ก่อนใช้งาน
  • 4. 3 General Test ประกอบด้วย 9 โปรแกรม ดังนี้ โปรแกรมสําเร็จรูปภายในเครื่องสเปคโตรโฟโตมิเตอร์ 1. โปรแกรม Advanced A / %T / C สําหรับวัดค่าการดูดกลืนแสง เปอร์เซ็นต์การส่องผ่านของแสง และ ความเข้มข้นของสารตัวอย่าง 2. โปรแกรม Standard curve สําหรับวัดค่าความเข้มข้นของสารละลาย เทียบกับกราฟมาตราฐาน 3. โปรแกรม Absorbance ratio สําหรับวัดค่าอัตราส่วนของค่าการดูดกลืนแสงที่ 2 ความยาวคลื่น 4. โปรแกรม Absorbance Difference สําหรับวัดค่าอัตราส่วนของค่าการดูดกลืนแสงที่ 2 ความยาวคลื่น พร้อมคํานวณความเข้มข้นของสาร 5. โปรแกรม Kinetics สําหรับวัดค่าอัตราการเกิดปฎิกิริยา และ ค่าอัตราเร่ง ของสารตัวอย่าง ในปิกิริยา 6. โปรแกรม Scanning 7. โปรแกรม 3-point net 8. โปรแกรม Multiple wavelengths 9. โปรแกรม Performance Verification 1. หลังจากเปิดเครื่องและตรวจสอบตัวเองเรียบร้อยแล้ว ให้กดปุ่ม Test เพื่อเข้าสู่หน้าจอที่แสดงโปรแกรม ทั้ง 9 จะปรากฎดังรูป วิธีการเข้าสู่โปรแกรม 2. เลือกโปรแกรมที่ต้องการโดยใช้ลูกศรที่หน้าปัดเครื่อง เลื่อนแถบไปยังโปรแกรมที่ต้องการ แล้วกด Enter Test Types 11:55 pm 20 Jan 04 Advanced A-%T-C Standard Curve Absorbance Ratio Absorbance Difference Kinetics Scanning 3-Point Net Mutiwavelength Performance Verification Bio test Stored Tests
  • 5. 4 เป็นโปรแกรมการตั้งค่าเบื้องต้นของเครื่อง เช่น วันที่ , เวลา, อายุหลอดไฟ เป็นต้น การใช้โปรแกรมยูทีลิตี (Utility) 1. การเข้าสู่โปรแกรม โดยการกดปุ่ม Utility ที่หน้าปัดของเครื่อง หน้าจอจะปรากฎ ดังนี้ 2. เลือกตั้งค่า Parameter โดยการใช้ลูกศร เลื่อนขึ้น-ลง ไปยังพารามิเตอร์ ที่ต้องการเปลี่ยนแปลง แล้วกด Enter 3. การตั้งค่าการพิมพ์(Printer) โดยการเลื่อนแถบไปยังคําว่า Printer แล้วกด Enter จะปรากฏ ให้เลือก เครื่องพิมพ์แบบภายในหรือต่อกับเครื่องพิมพ์ภายนอกแล้วกด Enter 4. การตั้งค่าวันที่และเวลา โดยการเลื่อนแถบไปที่ Date/Time Setup แล้วกด Enter ทําการเปลี่ยนแปลงแก้ไ-ด้วย กด Enter 5. การตั้งเวลา Standby โดยการเลื่อนแถบไปที่ Standby แล้วกด Enter เลือกเวลาที่ต้องการ แล้วกด Enter 6. การตั้งค่า Beeper หรือ เสียงเมื่อกดปุ่มที่หน้าปักเครื่อง สามารถเลือกให้มีเสียง (on) หรือแบบไม่มีเสียง (off ) 7. การเลือกภาษาที่ใช้ สามารถเลือกได้4 ภาษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน และ ภาษาสเปนได้ 8. การดูอายุของหลอดไฟที่ใช้ไปแล้ว โดยแสดงค่าเป็นเปอร์เซ็นต์เช่น ดังรูปข้างบน %of lamp life used 0.1 % หมายความว่า หลอดไฟได้ถูกใช้ไป 0.1 % แล้ว 9. การปรับความเข้ม สว่างของหน้าจอภาพ โดยการเลื่อนแถบไปที่ Screen contrast แล้วกด enter แล้วใช้ปุ่ม ลูกศรเลื่อนในการปรับความเข้ม สว่างเพื่อความคมชัดในการใช้งานที่หน้าจอภาพ 10. การเลือกดูไฟล์ที่เก็บไว้โดยการเลื่อนแถบไปที่ Stored Test Directory แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏไฟล์ ต่างๆ ที่เก็บไว้ถ้าต้องเรียกออกมาใช้งาน ให้เลื่อนแถบไปยังไฟล์ที่ต้องการแล้ว กด Load Test 11. ถ้าต้องการออกจากโปรแกรม Utility โดยการกดปุ่ม ESC จะสามารถกลับไปสู่หน้าจอหลักได้ Utility 11:55 pm 20 Jan 04 Printer Date /Time Setup 11:55 20 Jan 04 Standby 15 min Baseline Exipararion (hr: min) off Beeper on Language English % of Lamp life used 0.1% Screen contrast Printout contrast Stored Tests Directory Calculator Press or to select parameter.
  • 6. 5 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ ดังนี้ การใช้โปรแกรม Advance A-%T -C ในการวัดค่าการดูดกลืนแสงและเปอร์เซ็นต์การส่องผ่านแสง 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆใช้ลูกศร ในการเลื่อนแถบไปยัง พารามิเตอร์ที่ต้องการเปลี่ยนแล้วกด enter 3. การตั้งชื่อ Test name โดยการเลื่อนแถบไปยัง Test name แล้วกด enter ทําการตั้งชื่อโดยเลื่อนลูกศรไปยัง ตัวอักษรที่ต้องการ แล้วกด Add character จนกระทั่งได้ชื่อที่ต้องการแล้วกด Accept name จะได้ชื่อ Test name ที่ต้องการ 4. การเลือก Measurement Mode ถ้าต้องการวัดค่าการดูดกลืนแสงของสารละลาย ให้เลือกเป็น Absorbance 5. การตั้งค่าความยาวคลื่น พิมพ์ค่าความยาวคลื่นที่ต้องการแล้วกด enter 6. Delay time เป็นการตั้งเวลาให้เครื่องวัดค่า ตามเวลาที่ต้องการ 7. Sample positioner เป็นการตั้งโปรแกรมให้เครื่องอ่านค่าแบบอัตโนมัต หรือ แบบ Manual - โปรแกรมให้เครื่องทําการวัดค่าโดยอัตมัติ 6 ตําแหน่ง โดยการเลือก Auto 6 - โปรแกรมให้เครื่องทําการวัดค่าโดยอัตโนมัติ 3 ตําแหน่ง (กรณีใช้กับ 6-position cell holder ที่มีที่จับ หลอดแบบยาวขนาด 50 มม 3 อัน) โดยการเลือก Auto 3 - แบบ Manual หรือ 1-cell platform 8. Number of sample หรือจํานวนตัวอย่างที่ต้องการวัด - สําหรับ 6-position cell holder จะใส่สารตัวอย่างได้ครั้งละ 5 ตัวอย่าง โดยตําแหน่ง B คือ Blank - สําหรับ 1-cell holder สามารถใส่สารตัวอย่างได้ครั้งละ 1 ตัวอย่าง 9. เมื่อทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆเรียบร้อยแล้ว ให้กด Run test
  • 7. 6 10. กรณี 6-position : ใส่สารละลาย Blank และ สารละลายตัวอย่างลงในช่องใส่สารแล้วกด enter เครื่องจะถามว่า ใส่สารตัวอย่างและ Blank ลงในตําแหน่งที่ถูกต้องแล้ว ให้กด enter กรณี 6-position : ใส่สารละลาย Blank แล้วกด Measure blank แล้วนําสารละลาย Blank ออก นําสารละลายตัว ย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้ว กด Measure sample 11. อ่านค่าที่ได้จากหน้าจอแสดงผล ถ้าเป็นรุ่นที่ต่อกับชุดพิมพ์ผลให้กด Print เพื่อพิมพ์ผลที่ได้ 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ ดังนี้ การใช้โปรแกรม Standard curve 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้ 2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อกราฟมาตราฐาน 2.2 Date Standards Measured เป็นการใส่ วันที่ที่ทํากราฟมาตรฐานนี้ 2.3 Wavelength เป็นการตั้งค่าความยาวคลื่นที่ต้องการ 2.4 Ref. Wavelength Correction เป็นการตั้งค่าความยาวคลื่นของสารที่เราทราบค่า ที่มีผสมในสารละลาย มาจราฐานนี้ ปกติเราจะไม่ทราบ ต้องเลือกเป็น off 2.5 Curve Fit เป็นการเลือกแบบกราฟมาตราฐาน ถ้าต้องการกราฟเส้นตรง ให้เลือก Linear และถ้าต้องการ กราฟแบบเส้นตรงผ่านศูนย์ให้เลือกเป็น Linear through zero 2.6 Number of Standards เป็นการกําหนดจํานวนสารมาตรฐานที่ต้องการ สามารถกําหนดได้สูงสุด 15 ค่า 2.7 Units เป็นการเลือกหน่วยของความเข้มข้น เช่น ppm , mg/ml , mol/l ….เป็นต้น 2.8 Sample Positioners
  • 8. 7 - กรณีเ Auto 6 เป็นการตั้งโปรแกรมการวัดค่าแบบอัตโนมัติ สําหรับรุ่น 6 position cell holder โดยจะใส่ สารละลาย Blank ลงในช่อง B และ ช่องที่ 1-5 สําหรับใส่สารตัวอย่าง - กรณี 1-cell position ใส่สารละลาย Blank แล้วกด Measure blank แล้วนําสารละลาย Blank ออก นํา สารละลายตัวย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้ว กด Measure Standards 3. หลังจากกําหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ เรียบร้อยแล้วให้กด Run Standards 4. หน้าจอจะปรากฏให้ใส่ค่าความเข้มข้นของสารมาตรฐาน เมื่อพิมพ์ค่าเรียบร้อยแล้วให้กด Measure Standards ดังรูป 5. กรณี Auto 6 นําสารละลาย Blank ใส่ในช่อง B และสารละลายมาตราฐานใส่ในช่องใส่สารตามจํานวนสาร มาตรฐานที่เลือกไว้แล้วกด Measure Standards เครื่องจะทําการวัดค่าสารมาตรฐานแล้วสร้างกราฟ มาตราฐาน (Standard curve)กรณี แบบ Manual นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Blank เมื่อวัด Blank เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นําสารละลาย Blank ออก แล้ว นําสารละลายมาตรฐานใส่ลงใน ช่องใส่สารแล้วกด Measure Standards ทําการวัดจนกระทั่งครบจํานวนสารมาตรฐานที่กําหนดไว้ 6. เมื่อวัดจนครบแล้วเครื่องจะแสดงค่าการดูดกลืนแสงของสารมาตรฐาน Standard Curve 10:40 7 Mar 04 Test Name : PP 1 Std Conc. Abs # mg/ml 546 nm. 1. 50.00 ------------- 2. 60.00 ------------- 3. 70.00 ------------- Save Edit Measure Test Standards Standards Standard Curve 10:40 7 Mar 04 Test Name : PP 1 Std Conc. Abs # mg/ml 630 nm. 1. 50.00 0.082 2. 60.00 0.131 3. 70.00 0.142 View Save Edit Run Graph Test Standards Test
  • 9. 8 7. ถ้าต้องการดูกราฟมาตราฐานที่ได้ให้กด View Graph *** กดเลือก Change Fit ในกรณีที่ต้องการเปลี่ยนรูปแบบของกราฟ *** 8. นําสารละลาย Blank และ ตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Run Test เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงผล เป็นค่าความเข้มข้นของสาร 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ ดังนี้ การใช้โปรแกรม Scan
  • 10. 9 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้ 2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อการวิเคราะห์นี้ 2.2 Measurement Mode เป็นการเลือกวิธีการสแกน มีให้เลือกดังนี้ Absorbance , Transmittance 2.3 Start Wavelength เป็นการกําหนดค่าความยาวคลื่นเริ่มต้นในการสแกน 2.4 Stop Wavelength ป้นการกําหนดค่าความยาวคลื่นต้องการหยุดการสแกน 2.5 Scan Speed เป็นการเลือกความเร็วในการสแกน มีให้เลือกระดับต่างๆดังนี้ Slow, Medium, Fast - ถ้าต้องการความละเอียดของกราฟสูงควรเลือกความเร็วในการสแกนตํ่าๆเช่น Slow - ถ้าต้องการสแกนแบบคร่าวๆเพื่อสํารวจกราฟ สามารถเลือกความเร็วแบบ Fast ได้เพื่อจะได้ไม่ เสียเวลาเพราะ การเลือกความเร็วในการแสกนตํ่าๆ จะใช้เวลามาก 2.6 Sample Positioners 3. เมื่อตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆเรียบร้อยแล้ว สามารถทําการวัดค่าได้โดย - กรณีเลือก Auto 6 นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารตําแหน่ง B และสารตัวอย่างที่ต้องสแกนใส่ ลงในช่องที่ 1 แล้วกด Run test เครื่องจะทําการ Collect baseline และ สแกนสารโดยอัตโนมัติ - กรณีเลือก single cell plate form หรือ แบบ Manual ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Run Test แล้วกด Collect Baseline ระหว่างทําการ Collect baseline ห้ามเปิดฝาช่องใส่สาร เมื่อเครื่องทํา เสร็จแล้ว นําสารละลาย Blank ออกแล้ว จากนั้นนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วทําการกด Measure Sample 4. ถ้าต้องการให้กราฟแสดงค่าความยาวคลื่นสูงสุด สามารถกดที่ Math เลือก Peak&Valleys และเลือก on 5. ถ้าต้องการให้กราฟแสดงแบบ 3-point net โดยการเลือกกด Math และ เลือก 3-point net แล้วกําหนดค่า Factor 6. ถ้าต้องการให้แสดง Area Under the curve โดยการเลือกกด Math และ เลือกกด Area
  • 11. 10 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะปรากฏ ดังนี้ โปรแกรมการวัดค่า Absorbance Ratio 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test 3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Blank จากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Sample เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล
  • 12. 11 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ ปรากฏดังนี้ โปรแกรมการวัดค่า Absorbance Difference 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test 3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Blankจากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Sample เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล
  • 13. 12 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ ปรากฏดังนี้ โปรแกรมการวัดค่า Kinetics 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ แล้วกด Run Test 3. กรณีที่เลือก Auto 6 ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร ช่อง B และ นําสารละลายตัวอย่างใส่ลงใน ช่องใส่สารที่ 1-5 แล้วกด enter เครื่องจะทําการวัดค่าและแสดงค่าทางจอแสดงผล กรณีแบบ Manual หรือ 1-cell plate form ให้นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Blankจากนั้นนําสารละลาย Blank ออก แล้วนําสารละลายตัวอย่างใส่ลงในช่องใส่สารแล้วกด Measure Sample เครื่องจะทําการอ่านค่าและแสดงค่าที่จอแสดงผล Kinetics 11:59 pm 31 Jan 04 Test Name ----------- Factor 1.000 Units C Linearity Value 0.005 Sample Positioner Auto 6 Cell Correction off ID# ( 0=off ) 1 Low/High Limits -9999/9999 Auto Print on Press or to select item to change Save Stored Run Test Tests Test
  • 14. 13 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด enter หน้าจอจะ ปรากฏดังนี้ การใช้โปรแกรม Multiple Wavelengths 2. ทําการตั้งค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ดังนี้ 2.1 Test Name เป็นการตั้งชื่อการวิเคราะห์ 2.2 Measurement Mode เลือกวิธีการวิเคราะห์แบบวัดค่าการดูดกลืนแสง (Absorbance) 2.3 Sample Positioner เป็นการเลือกโปรแกรมการวัดแบบเลื่อนตําแหน่งแบบอัตโนมัติ Auto 6 หรือเลือก เป็น Manual สําหรับรุ่น Single cell holder 2.4 กดปุ่ม Set nms หน้าจอจะปรากฏดังรูป ทําการตั้งค่าความยาวคลื่นที่ต้องการวัดสามารถตั้งได้สูงสุด 31 ค่า โดยการกด Add nm เพื่อเพิ่มค่าความยาวคลื่นแล้วพิมพ์ค่าความยาวคลื่นที่ต้องการ ถ้าต้องลบให้ กด Delete nm Mutiwavelength 11:59 pm 31 Jan 04 Test Name ----------- WL# nm 1. 610 2. 660 3. 680 Press or to View data Edit Add Delete Run nm nm Tests
  • 15. 14 3. เมื่อตั้งค่าต่างๆเรียบร้อยแล้วให้กด Run test เพื่อทําการวัดค่า 4. นําสารละลาย Blank ใส่ลงในช่องใส่สาร B และ สารละลายตัวอย่างในช่อง 1-5 แล้วกด Enter 5. อ่านผลที่หน้าจอแสดงผล 1. ทําการเลือกโปรแกรมนี้ โดยการกดปุ่ม Test แล้วเลื่อนแถบไปยังโปรแกรมนี้แล้วกด Enter หน้าจอจะ ปรากฏดังนี้ การใช้โปรแกรม Performance Verification 2. เลือก Wavelength Accuracy – Internal แล้วกด Enter 3. ตรวจสอบภายในเครื่องว่าไม่มีหลอดใส่สารค้างอยู่แล้วกด Start Test เครื่องจะทําการตรวจเช็คและรายงาน ผลดังนี้ *** หากได้ผลลัพธ์เป็น Fail โปรดติดต่อฝ่ายช่างที่บริษัทฯ เพื่อเข้ามาซ่อมเครื่อง ***