SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
กระบวนการปฏิสนธิ
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 4 (ว30244)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ครูผู้สอน
คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครูชานาญการ (คศ.2) สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 กรุงเทพมหานคร
สมาชิก
(กลุ่มที่ 7 ห้อง 341 มัธยมศึกษาปีที่ 5 สายการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ แผนการเรียน คอมพิวเตอร์)
1.นายณปภัช เครือวรรณ เลขที่ 26
2.นายณภัทร ลิ้มสุวรรณ์ เลขที่ 27
3.นายธนดล บุนนาค เลขที่ 28
4.นายธีร์ พรหมปัทมะ เลขที่ 29
1. 3.2. 4.
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 4 รหัสวิชา ว30244 ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 ในหัวข้อ กระบวนการปฏิสนธิ คณะผู้จัดทาได้มีการใส่เนื้อหาเกี่ยวกับ
ความหมาย ที่มา และ กระบวนการของการปฏิสนธิของสิ่งมีชีวิตพร้อมยกตัวอย่าง โดย
ได้รับความช่วยเหลือจากคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชาที่ให้ความช่วยเหลือในด้าน
ต่างๆ คณะผู้จัดทาขอขอบคุณทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หัวข้อ หน้า
ความหมายของการปฏิสนธิ 6
ประเภทการปฏิสนธิของสัตว์ที่มีสองเพศอยู่ในตัวเดียวกันหรือเป็นกะเทย 7-8
ประเภทการปฏิสนธิของสัตว์ที่แยกเพศกัน 9-10
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน 11-19
บรรณานุกรม 20
กิตติกรรมประกาศ 21
ภาคผนวก 22-25
การปฏิสนธิ (FERTILIZATION)
การปฏิสนธิ (fertilization) คือการรวมตัวระหว่างนิวเคลียสของ เซลล์
สืบพันธุ์เพศผู้ (male gamete) หรือ อสุจิ (sperm) กับนิวเคลียสของเซลล์
เพศเมีย (female gamete) หรือไข่ (egg) ซึ่งได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอ
ซิส เป็นการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) โดยแบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1.กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศอยู่ในตัวเดียวกันหรือ
สัตว์ที่เป็นกะเทย (hermaphrodite) 2.กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้
เพศเมียกัน โดยทั้ง 2 กลุ่มมีวิธีการปฏิสนธิที่แตกต่างกันดังนี้
กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศอยู่ในตัวเดียวกันหรือ สัตว์ที่
เป็นกะเทย (hermaphrodite)
การปฏิสนธิในตัวเอง
การปฏิสนธิในตัวเอง (self
fertilization) เป็นการเจริญของ
เซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์
พวกนี้จะพร้อมกัน จึงสามารถ
ปฏิสนธิตัวเองได้ เช่น พยาธิตัวตืด
การปฏิสนธิข้ามตัว
การปฏิสนธิข้ามตัว (cross
fertilization) การเจริญของ
เซลล์สืบพันธุ์ทั้ง 2 ชนิดของสัตว์
พวกนี้จะไม่พร้อมกันจึงมีการ
ปฏิสนธิข้ามตัว เช่น พลานาเรีย
ไส้เดือนดิน ไฮดรา
ภาพการปฏิสนธิข้ามตัวของไส้เดือนดิน
แหล่งที่มา https://www.uwlax.edu/biology/zoo-lab/lab-7--annelids-and-smaller-ecdysozoans/
กลุ่มที่มีอวัยวะสืบพันธุ์อยู่แยกเพศผู้เพศเมียกัน
การปฏิสนธิภายนอก
การปฏิสนธิภายนอก (external
fertilization) สัตว์ที่ผสมพันธุ์กัน
จะปล่อยอสุจิและไข่ออกมา แต่ละ
ตัวต่างปล่อยเซลล์สืบพันธุ์ออกมา
เป็นจานวนมาก เซลล์สืบพันธุ์เพศ
ผู้หรืออสุจิจะว่ายน้าไปยังไข่แล้ว
เกิดการปฏิสนธิเป็นไซโกต เจริญ
เป็นเอ็มบริโอและเจริญต่อๆไป
การปฏิสนธิภายใน
การปฏิสนธิภายใน (internal
fertilization) ตัวผู้ตัวเมียจะจับคู่
กันแล้วตัวผู้ปล่อยอสุจิเข้าไปใน
ร่างกายของตัวเมียแล้วเกิดการ
ปฏิสนธิเป็นไซโกต เจริญเป็น
เอ็มบริโอ แล้วเจริญต่อๆไป มีทั้ง
ภายในและภายนอกตัวแม่ ขึ้นกับ
สัตว์แต่ละชนิด
ภาพการปฏิสนธิภายนอกของกบ
แหล่งที่มา https://slideplayer.com/slide/15444248/
1.sperm ที่หลั่งออกมามีโอกาส
รอดต่ามากก่อนที่จะถึงตัวไข่
เนื่องจากหลายปัจจัย เช่น สภาพ
ความเป็นกรดภายในช่องคลอด
หรือถูกทาลายโดย phagocytes
เป็นต้น
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน
2.ระหว่างทางก่อนที่ sperm จะถึง
ไข่ สารเคมีในมดลูกจะช่วยให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีกับทาง
สรีระรูปร่างที่หัว acrosome และ
หางของ sperm ช่วยในการ
เคลื่อนที่ให้เร็วขึ้นและช่วยในการ
เจาะไข่ได้ดีขึ้น กระบวนการนี้
เรียกว่า Sperm Capacitation
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน
3.เมื่อ sperm ถึงไข่แล้ว มันจะว่ายฝ่า corona radiata ซึ่งล้อมรอบไข่ไว้
โดยมีเอนไซม์ช่วย จนถึง zona pellucida
4.Sperm จะเกาะ receptors ใน zona pellucida ทาให้แคลเซียมไอออน
เพิ่มขึ้น กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยา acrosomal reaction ปฏิกิริยานี้เป็นการหลั่ง
เอนไซม์จาก acrosome ใช้ในการย่อย zona pellucida เพื่อให้สามารถเข้า
ไปถึงไข่ได้
5.เมื่อหัวของ sperm เข้าไปในไข่ได้แล้ว เยื่อหุ้มของ sperm จะเชื่อมรวมกับ
เยื่อหุ้มเซลล์ของไข่ และนิวเคลียสของ sperm จะเข้าไปรวมกับนิวเคลียสของ
ไข่
ภาพส่วนประกอบต่างๆของไข่
แหล่งที่มา https://www.pinterest.com/pin/378302437433677592/
ภาพกระบวนการ SPERM PENETRATION
แหล่งที่มา https://slideplayer.com/slide/6319282/
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน
6.sperm หลายๆตัวจะเจาะไข่พร้อมกัน (polyspermae) แต่เนื่องจาก
ต้องการให้ sperm เข้าไปในไข่ได้เพียงตัวเดียว จึงมีวิธีการป้องกัน เรียก
ปฏิกิริยานี้ว่า zona reaction หรือ cortical reaction ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นจาก
การกระตุ้นของปริมาณแคลเซียมไอออนที่มากขึ้นเมื่อ sperm 1 ตัวสามารถ
เจาะเข้ามาได้ หลังจากนั้น cortical granules จึงปล่อยเอนไซม์มาทาลาย
receptors และ zona pellucida แข็งมากขึ้น กระบวนการทั้งหมดเรียกเป็น
ภาษาอังกฤษว่า Block to Polyspermy
ภาพกระบวนการ BLOCK TO POLYSPERMY
แหล่งที่มา https://ib.bioninja.com.au/higher-level/topic-11-animal-physiology/114-sexual-
reproduction/human-fertilization.html
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและคน
7.ในระหว่างที่นิวเคลียสของ sperm เข้าไปหานิวเคลียสของไข่
- นิวเคลียสของ sperm จะขยายใหญ่ขึ้นเป็น male pronucleus
- นิวเคลียสของไข่ถูกกระตุ้นด้วยแคลเซียมไอออน แล้วเริ่มกระบวนการ
meiosis II ต่อ ได้ ovum กับ second polar body
- ovum ขยายใหญ่ขึ้นเป็น female pronucleus
8.ทั้งสอง pronuclei รวมตัวกันเกิดการปฏิสนธิแล้วเจริญเป็นเอ็มบริโอต่อไป
ภาพกระบวนการปฏิสนธิในเซลล์ไข่
แหล่งที่มา https://slideplayer.com/slide/6319282/
บรรณานุกรม
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. (2562). เอกสารประกอบการเรียนการสอน สาระเพิ่มเติม
รายวิชา ชีววิทยา 4 ว30244. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Margaret Singleton. Pregnancy and Human Development. [ออนไลน์]. สืบค้น
จาก https://slideplayer.com/slide/6319282/
Bioninja. Human Fertilization. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก
https://ib.bioninja.com.au/higher-level/topic-11-animal-
physiology/114-sexual-reproduction/human-fertilization.html
กิตติกรรมประกาศ
รายงานนาเสนอในหัวข้อกระบวนการปฏิสนธิ สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความ
อนุเคราะห์จากคุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูประจาวิชา ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนาชี้แนะ
ในการศึกษาค้นคว้า แนะนาขั้นตอนและวิธีจัดทารายงานจนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะ
ผู้จัดทาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และ
สมาชิกในกลุ่มที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทาโครงงานครั้งนี้ จนกระทั่งประสบ
ความสาเร็จด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ภาคผนวก
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันค้นคว้าหาข้อมูล
เรียบเรียงข้อมูลจากเพื่อนๆทั้งหมดมานาเสนอผ่านสไลด์ POWERPOINT และ
โปสเตอร์
ดำเนินกำรพิมพ์โปสเตอร์และเตรียมนำเสนอโปสเตอร์
หากผิดพลาดประการใด ทางคณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ โอกาสนี้

More Related Content

Similar to Fertilization

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 
การเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือนการเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือนBamSin
 
Technology for helping birth
Technology for helping birthTechnology for helping birth
Technology for helping birthmazuroze
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5Suwakhon Phus
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55krupornpana55
 
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825SuchiraThimphuangtho
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 

Similar to Fertilization (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 
การเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือนการเกิดรอบเดือน
การเกิดรอบเดือน
 
Fertilization
FertilizationFertilization
Fertilization
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
Twins-341 pre2
Twins-341 pre2Twins-341 pre2
Twins-341 pre2
 
Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561Lesson1 celldivision2561
Lesson1 celldivision2561
 
Technology for helping birth
Technology for helping birthTechnology for helping birth
Technology for helping birth
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
343 pre4
343 pre4343 pre4
343 pre4
 
11 1
11 111 1
11 1
 
11
1111
11
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 

Fertilization