SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
ปัญหาขยะในโรงเรียน
Computer project
สารบัญ- ที่ ม า แ ล ะ ค ว า ม สา คั ญ
- วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ โ ค ร ง ง า น
- ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ
- ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เ ห ตุ ผ ล
- เ นื้ อ ห า โ ค ร ง ง า น
- เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้
- ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง
- แ ห ล่ ง อ้ า ง อิ ง
- วิ ดี โ อ เ พิ่ ม เ ติ ม
Add a Footer 2
ที่มาและ
ความสาคัญ
Add a Footer 3
ในปัจจุบันมีปัญหา เช่น ขยะเน่าเหม็น น้าเน่าเสีย ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ เป็นต้น เพราะยิ่งนานเข้าขยะก็มากขึ้นเกิดปัญหา
ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เป็นเวลาหลายสิบปีที่หน่วยงานต่างๆ พยายามช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากขยะ แต่คนส่วน
ใหญ่ก็ละเลยไม่สนใจถึงผลกระทบที่จะตามมา โดยบางที่อาจจะเกิดปัญหาขยะที่มากเกินไป ทาให้สุขภาพของประชาชนที่อยู่
บริเวณนั้นเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคจากการติดเชื้อ โรคมะเร็ง มีขยะล้นถังขยะจะทาให้สัตว์ต่างๆ เช่น หนู สุนัข
แมลงสาบ หนอน เป็นต้น มาขุ่ยเขี่ยขยะทาให้กระจัดกระจายไปทั่วพื้นที่ ทาให้พื้นที่บริเวณนั้นสกปรก ส่งกลิ่นเหม็น และไม่มี
จากการศึกษาในเว็บhttps://look-edu.wikispaces.com/มลพิษขยะ พบว่าสาเหตุของมลพิษทางขยะ ขยะเป็นปัญหาสาคัญของ
หลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และ
สารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้
สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรตสะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม
โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก สาหรับ
ในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่
จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อ
พืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้วถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็น
จานวนมากมาย
Add a Footer 4
วัตถุประสงค์โครงงาน
5
• 1. เพื่อศึกษาปริมาณขยะในโรงเรียน
• 2. เพื่อศึกษาสาเหตุที่มาของขยะ
• 3. เพื่อศึกษาวิธีการป้ องกันขยะใน
โรงเรียน
• 4. เพื่อศึกษาวิธีการลดปริมาณขยะ
ในโรงเรียน
Add a Footer 6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
8Add a Footer 8
1. ทราบถึงปริมาณขยะในโรงเรียน
2. ทราบถึงสาเหตุที่มาของขยะ
3. ทราบถึงวิธีการป้องกันขยะในโรงเรียน
4. ทราบถึงวิธีการลดปริมาณขยะในโรงเรียน
หลักการและเหตุผล
10Add a Footer 10
หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสาคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศสาเหตุเนื่องมาจากประชากรใน
ประเทศมีจานวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือขยะ
ย่อมมีจานวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกาจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจานวนขยะ ในแต่ละวันจะมี
ขยะเพิ่มขึ้นเป็นจานวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกาจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้น(ข้อมูลจากกรม
พัฒนาและส่งเสริมพลังงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกาจัดอยู่เป็นจานวน
มาก แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็น
อย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัยกลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง ถึงแม้ว่าในปีหนึ่งๆ ประเทศ
จะต้องเสียงบประมาณเป็นจานวนมากไปกับการจัดการและแก้ไขปัญหาด้านขยะ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่า
พอใจ เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาด
จิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ เพราะ
พอได้ยินคาว่า “ ขยะ ” หลายๆ คนก็ไม่สนใจ ละเลยและไม่เห็นคุณค่า
11Add a Footer 11
ขยะเหล่านั้นหากนามาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนากลับมา
หมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงิน
งบประมาณแผ่นดินได้เป็นจานวนมากรวมทั้งปริมาณขยะก็จะจานวนลงได้มากซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อ
สิ่งแวดล้อมต่อประชากรและต่อประเทศชาติต่อไป
การจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นเราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆ ก่อน ด้วยการปลูกฝังจิตสานึกที่ดีใน
เรื่องการทิ้งขยะให้กับเด็กๆ ให้พวกเขาได้เห็นความสาคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะ โดย
อาจจะเริ่มจากภายในโรงเรียนก่อน เมื่อนักเรียนรู้จักแยกขยะและทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางแล้วก็จะทา
ให้โรงเรียนดูสะอาดสะอ้าน มีบรรยากาศที่เหมาะสมแก่การเรียนรู้ และเมื่อเริ่มต้นจากในโรงเรียน
ได้ผลดีแล้วก็สามารถขยายผลไปยังชุมชนและประเทศชาติต่อไปได้
เนื้อหาโครงงาน
1.ปริมาณขยะในโรงเรียน
ขยะในโรงเรียนที่เก็บขนจากอาคารหรือขยะที่นักเรียนสร้างขึ้นและทิ้ง
ไม่เป็นที่ ขยะในโรงเรียนมีประมาณ 500ก.ก/อาทิตย์แต่มีปริมาณขยะเพียงวันละ
100 ก.ก จะมีปริมาณสะสมเพิ่มขึ้นทุกๆวัน ปริมาณขยะที่บันทึกได้นี้ยังมีขยะ
บางส่วนที่หลงเหลือจากการเก็บของจิตอาสาอีกจานวนหนึ่งด้วย
จากตัวเลขข้างต้นจะเห็นได้ว่าโรงเรียนกาลังเผชิญกับปัญหาขยะล้น
โรงเรียน เป็นแหล่งการศึกษา มีปริมาณนักเรียนที่เข้ามาร่วมใช้ทรัพยากรใน
โรงเรียนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การบริโภค การศึกษา และกิจกรรมต่างๆ จากการ
หมักหมมของกองขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยก ทาให้เกิดการเหม็นเน่า และทาให้
ภาพลักษณ์ของโรงเรียนดูแย่ลง
Add a Footer 13
2.สาเหตุที่มาของขยะ
เกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสานึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น
เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมากซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่ง
น้าโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้หรือแม้กระทั่งการซื้อของการใช้
สิ่งของของนักเรียนเช่น ขนม กระดาษ แก้วน้า ขวดน้า โดยใส่ถุงพลาสติก
หลายๆถุง ทาให้มีขยะเพิ่มในปริมาณมาก
Add a Footer 14
3.วิธีการป้องกันขยะในโรงเรียน
รณรงค์ให้นักเรียนมีจิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ โดยเริ่มจาก
นักเรียนกลุ่มเล็กๆ เช่น จิตอาสา สภานักเรียน เป็นต้น
การป้องกันและควบคุมการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่สาคัญ คือ
การลดขยะที่แหล่งกาเนิด (Source reduction) โดยอาศัยขบวนการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมในชีวิตประจาวัน การลดปริมาณขยะจะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการ
จัดการขยะตั้งแต่การเก็บรวบรวม ขนส่ง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ตลอดจนการ
กาจัดขั้นสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ
โดยทั่วไปแล้วหน่วยงานองค์กรและชุมชน สามารถลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้นได้
ก่อนจะทิ้งขยะ หยุดคิดสักนิดว่าเราจะสามารถลดปริมาณขยะและนาขยะกลับมาใช้
ประโยชน์ได้ไหม
Add a Footer 15
4.วิธีการลดปริมาณขยะในโรงเรียน
โรงเรียนในฐานะที่เป็นแหล่งให้ความรู้ และปลูกฝังวิถีการดาเนินชีวิตที่
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนซึ่งจะเติบโตเป็นอนาคตของชาติ
ต่อไป จึงมีแนวคิดที่จะให้นักเรียนลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวันลง
โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ฝึกการคัดแยกขยะที่สามารถ
นากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้วิธีการนี้นอก จากจะช่วยลดปริมาณขยะที่
ต้องนาเข้าเตาเผาได้แล้ว ยังเป็นการฝึกทักษะการทางานให้กับนักเรียน
และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งของอีกด้วย
Add a Footer 16
การจัดการขยะด้วยแนวคิด 7 R
แนวคิดด้านการจัดการขยะเพื่อการปรับตัวต่อภาวะโลกร้อนคือก่อนจะทิ้ง
ขยะควรหยุดคิดสักนิดว่าจะสามารถลดปริมาณขยะ หรือนาขยะกลับมาใช้
ประโยชน์ได้หรือไม่ แนวคิดที่น่าสนใจคือแนวคิด 7R ซึ่งมีรายละเอียด
ดังนี้
Add a Footer 17
1. Rethink ( คิดใหม่ )
เป็นการเปลี่ยนความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้อง
เหมาะสมไม่ได้ทาตามกระแสแต่อย่างเดียว แต่ทาจากใจหรือจากจิตสานึก
ที่ดี เช่น
-การซื้อสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Add a Footer 18
2. Reduce ( ลดการใช้)
เป็นการลดใช้ทรัพยากรให้เหลือเท่าที่จาเป็นหรือนามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ
สูงสุด เช่น
- ใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าหวายเลิกง้อถุงพลาสติก
- ใช้กล่องข้าวหรือปิ่นโตลดการใช้โฟม
- ใช้แก้วน้าส่วนตัวงดใช้แก้วที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง
- พยายามอย่าใช้กระดาษสิ้นเปลือง ควรพิมพ์และถ่ายเอกสารเท่าที่จาเป็น จะ
ช่วยลดการตัดต้นไม้และลดพลังงานในการผลิตได้
- ลองลดปริมาณน้าในถังชักโครก ด้วยการใส่ก้อนอิฐหรือขวดน้าไปแทนที่
น้า
Add a Footer 19
3. Reuse ( ใช้ซ้า )
เป็นการนากลับมาใช้ใหม่ หรือใช้อีกครั้ง หรือหลายๆครั้ง เช่น
- แยกประเภทกระดาษที่ใช้แล้วเพื่อนากลับมาใช้ใหม่อย่างเหมาะสม
กระดาษดีนามาใช้พิมพ์ใหม่เป็นกระดาษ2 หน้าสาหรับเอกสารร่าง
กระดาษยับนามาตัดเป็นกระดาษโน้ต กระดาษ 2 หน้าทาเป็นถุงใส่ของ
- บริจาคสิ่งของที่เลิกใช้แล้วแต่มีสภาพดีให้กับผู้ที่ขาดแคลน
Add a Footer 20
4. Recycle ( นากลับมาใช้ใหม่ )
เป็นการนาวัสดุที่หมดที่หมดสภาพแล้วหรือที่ใช้แล้วมาแปรสภาพด้วยกระบวนการ
ต่าง ๆ เพื่อนากลับมาใช้หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น
- คิดก่อนทิ้งว่าขยะช่วยกันแยกประเภทขยะเพื่อให้ได้ขยะรีไซเคิลมากที่สุด
และเพื่อช่วยลดขั้นตอนและลดพลังงานในการกาจัดขยะ เนื่องจากขยะแต่ละชนิดมี
วิธีการกาจัดที่ไม่เหมือนกัน
- สร้างธนาคารขยะที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อการหมุนเวียนทรัพยากร
กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- คัดแยกขยะประเภทกระดาษ แก้ว โลหะเพื่อการนากลับไปรีไซเคิลได้ไม่รู้
จบ
Add a Footer 21
5. Repair ( ซ่อมแซม)
เป็นการซ่อมแซมให้ใช้การได้ใหม่ เช่น
- กระป๋ องพลาสติกที่แตกร้าวหรือเป็นรูใช้กาวประสานหรืออุดรู
เหล่านั้นมันก็ยังใช้ได้เหมือนเดิมทาให้อายุการใช้งานนานขึ้น การ
กลายเป็นขยะก็ยืดเวลาออกไป
Add a Footer 22
6. Reject ( ปฏิเสธ )
เป็นการปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้าจากแดน
ไกล หรือการปฏิเสธใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาลายโลก เช่น พลาสติก
กล่องโฟมบรรจุอาหาร
Add a Footer 23
7. Return( ตอบแทน )
เป็นการตอบแทนสิ่งที่พวกเราได้ทาลายไปคืนสู่โลกเช่น
- ปลูกต้นไม้กันเยอะ ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนแก่โลก ช่วยโลกสดใส ลด
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดปัญหาโลกร้อน
Add a Footer 24
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-คอมพิวเตอร์
-อินเตอร์เน็ต
-ค้นคว้าจากหนังสือ
Add a Footer 26
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
28Add a Footer 28
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
-การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
30Add a Footer 30
HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/KARLDPRIMANKHYA
6/02-SUKSA-KHNKHWA-KHXMUL
HTTP://ARTS.KMUTT.AC.TH/SSC210/GROUP%20PROJEC
T/ASSC210/1.46ANTI%20DRUG/1.HTM
วิดีโอเพิ่มเติม
“ปัญหาขยะในโรงเรียน”
32Add a Footer 32
https://www.youtube.com/watch?v=Bnj0pCpfnCA
33Add a Footer 33
ผู้จัดทา
1.น.ส.ณิชารีย์ เวฬุสาโรจน์
ม.6/13 เลขที่ 15
2.น.ส.ณิชารีย์ ไชยมณี
ม.6/13 เลขที่ 23

More Related Content

Similar to Feigh

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1Aobinta In
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6Wichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Cherry Patharawadee
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11Aobinta In
 
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ0856246184
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
Tu100 A9-2
Tu100 A9-2Tu100 A9-2
Tu100 A9-2jam anda
 
Tu100 a9 กลุ่ม2
Tu100 a9 กลุ่ม2Tu100 a9 กลุ่ม2
Tu100 a9 กลุ่ม2jam anda
 
ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 palmpannawat
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Mymi Santikunnukan
 
กระบวนการทางเทคโนโลยี
กระบวนการทางเทคโนโลยีกระบวนการทางเทคโนโลยี
กระบวนการทางเทคโนโลยีMisaki Kirika
 

Similar to Feigh (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Final Presentation
Final PresentationFinal Presentation
Final Presentation
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
K2
K2K2
K2
 
K2
K2K2
K2
 
GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26GREEN RESEARCH Issue March 26
GREEN RESEARCH Issue March 26
 
โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6โครงงานอิเล็ก6
โครงงานอิเล็ก6
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
Tu100 A9-2
Tu100 A9-2Tu100 A9-2
Tu100 A9-2
 
Tu100 a9 กลุ่ม2
Tu100 a9 กลุ่ม2Tu100 a9 กลุ่ม2
Tu100 a9 กลุ่ม2
 
ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16 ใบงาน 9 16
ใบงาน 9 16
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กระบวนการทางเทคโนโลยี
กระบวนการทางเทคโนโลยีกระบวนการทางเทคโนโลยี
กระบวนการทางเทคโนโลยี
 

Feigh

  • 2. สารบัญ- ที่ ม า แ ล ะ ค ว า ม สา คั ญ - วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ โ ค ร ง ง า น - ผ ล ที่ ค า ด ว่ า จ ะ ไ ด้ รั บ - ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เ ห ตุ ผ ล - เ นื้ อ ห า โ ค ร ง ง า น - เ ค รื่ อ ง มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ - ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง - แ ห ล่ ง อ้ า ง อิ ง - วิ ดี โ อ เ พิ่ ม เ ติ ม Add a Footer 2
  • 4. ในปัจจุบันมีปัญหา เช่น ขยะเน่าเหม็น น้าเน่าเสีย ก่อให้เกิดมลพิษทางอากาศ เป็นต้น เพราะยิ่งนานเข้าขยะก็มากขึ้นเกิดปัญหา ต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เป็นเวลาหลายสิบปีที่หน่วยงานต่างๆ พยายามช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากขยะ แต่คนส่วน ใหญ่ก็ละเลยไม่สนใจถึงผลกระทบที่จะตามมา โดยบางที่อาจจะเกิดปัญหาขยะที่มากเกินไป ทาให้สุขภาพของประชาชนที่อยู่ บริเวณนั้นเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคจากการติดเชื้อ โรคมะเร็ง มีขยะล้นถังขยะจะทาให้สัตว์ต่างๆ เช่น หนู สุนัข แมลงสาบ หนอน เป็นต้น มาขุ่ยเขี่ยขยะทาให้กระจัดกระจายไปทั่วพื้นที่ ทาให้พื้นที่บริเวณนั้นสกปรก ส่งกลิ่นเหม็น และไม่มี จากการศึกษาในเว็บhttps://look-edu.wikispaces.com/มลพิษขยะ พบว่าสาเหตุของมลพิษทางขยะ ขยะเป็นปัญหาสาคัญของ หลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบางชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และ สารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้ สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรตสะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจากเทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงาน อุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก สาหรับ ในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจากโรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่ จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถมทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อ พืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยังประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้า เครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้วถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็น จานวนมากมาย Add a Footer 4
  • 6. • 1. เพื่อศึกษาปริมาณขยะในโรงเรียน • 2. เพื่อศึกษาสาเหตุที่มาของขยะ • 3. เพื่อศึกษาวิธีการป้ องกันขยะใน โรงเรียน • 4. เพื่อศึกษาวิธีการลดปริมาณขยะ ในโรงเรียน Add a Footer 6
  • 8. 8Add a Footer 8 1. ทราบถึงปริมาณขยะในโรงเรียน 2. ทราบถึงสาเหตุที่มาของขยะ 3. ทราบถึงวิธีการป้องกันขยะในโรงเรียน 4. ทราบถึงวิธีการลดปริมาณขยะในโรงเรียน
  • 10. 10Add a Footer 10 หลักการและเหตุผล ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสาคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศสาเหตุเนื่องมาจากประชากรใน ประเทศมีจานวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือขยะ ย่อมมีจานวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกาจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจานวนขยะ ในแต่ละวันจะมี ขยะเพิ่มขึ้นเป็นจานวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกาจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้น(ข้อมูลจากกรม พัฒนาและส่งเสริมพลังงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี) จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกาจัดอยู่เป็นจานวน มาก แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็น อย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัยกลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง ถึงแม้ว่าในปีหนึ่งๆ ประเทศ จะต้องเสียงบประมาณเป็นจานวนมากไปกับการจัดการและแก้ไขปัญหาด้านขยะ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่า พอใจ เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาด จิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ เพราะ พอได้ยินคาว่า “ ขยะ ” หลายๆ คนก็ไม่สนใจ ละเลยและไม่เห็นคุณค่า
  • 11. 11Add a Footer 11 ขยะเหล่านั้นหากนามาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสามารถสร้างประโยชน์ได้และยังสามารถนากลับมา หมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงิน งบประมาณแผ่นดินได้เป็นจานวนมากรวมทั้งปริมาณขยะก็จะจานวนลงได้มากซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อ สิ่งแวดล้อมต่อประชากรและต่อประเทศชาติต่อไป การจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้นเราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆ ก่อน ด้วยการปลูกฝังจิตสานึกที่ดีใน เรื่องการทิ้งขยะให้กับเด็กๆ ให้พวกเขาได้เห็นความสาคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะ โดย อาจจะเริ่มจากภายในโรงเรียนก่อน เมื่อนักเรียนรู้จักแยกขยะและทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางแล้วก็จะทา ให้โรงเรียนดูสะอาดสะอ้าน มีบรรยากาศที่เหมาะสมแก่การเรียนรู้ และเมื่อเริ่มต้นจากในโรงเรียน ได้ผลดีแล้วก็สามารถขยายผลไปยังชุมชนและประเทศชาติต่อไปได้
  • 13. 1.ปริมาณขยะในโรงเรียน ขยะในโรงเรียนที่เก็บขนจากอาคารหรือขยะที่นักเรียนสร้างขึ้นและทิ้ง ไม่เป็นที่ ขยะในโรงเรียนมีประมาณ 500ก.ก/อาทิตย์แต่มีปริมาณขยะเพียงวันละ 100 ก.ก จะมีปริมาณสะสมเพิ่มขึ้นทุกๆวัน ปริมาณขยะที่บันทึกได้นี้ยังมีขยะ บางส่วนที่หลงเหลือจากการเก็บของจิตอาสาอีกจานวนหนึ่งด้วย จากตัวเลขข้างต้นจะเห็นได้ว่าโรงเรียนกาลังเผชิญกับปัญหาขยะล้น โรงเรียน เป็นแหล่งการศึกษา มีปริมาณนักเรียนที่เข้ามาร่วมใช้ทรัพยากรใน โรงเรียนเพิ่มขึ้น ส่งผลให้การบริโภค การศึกษา และกิจกรรมต่างๆ จากการ หมักหมมของกองขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยก ทาให้เกิดการเหม็นเน่า และทาให้ ภาพลักษณ์ของโรงเรียนดูแย่ลง Add a Footer 13
  • 14. 2.สาเหตุที่มาของขยะ เกิดจากความมักง่ายและขาดจิตสานึกถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้น เป็นสาเหตุที่พบบ่อยมากซึ่งจะเห็นได้จากการทิ้งขยะลงตามพื้นหรือแหล่ง น้าโดยไม่ทิ้งลงในถังรองรับที่จัดไว้ให้หรือแม้กระทั่งการซื้อของการใช้ สิ่งของของนักเรียนเช่น ขนม กระดาษ แก้วน้า ขวดน้า โดยใส่ถุงพลาสติก หลายๆถุง ทาให้มีขยะเพิ่มในปริมาณมาก Add a Footer 14
  • 15. 3.วิธีการป้องกันขยะในโรงเรียน รณรงค์ให้นักเรียนมีจิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ โดยเริ่มจาก นักเรียนกลุ่มเล็กๆ เช่น จิตอาสา สภานักเรียน เป็นต้น การป้องกันและควบคุมการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะที่สาคัญ คือ การลดขยะที่แหล่งกาเนิด (Source reduction) โดยอาศัยขบวนการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมในชีวิตประจาวัน การลดปริมาณขยะจะสามารถลดค่าใช้จ่ายในการ จัดการขยะตั้งแต่การเก็บรวบรวม ขนส่ง การคัดแยกและใช้ประโยชน์ตลอดจนการ กาจัดขั้นสุดท้าย ลดปัญหาสภาวะสิ่งแวดล้อม และประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ โดยทั่วไปแล้วหน่วยงานองค์กรและชุมชน สามารถลดปริมาณขยะที่จะเกิดขึ้นได้ ก่อนจะทิ้งขยะ หยุดคิดสักนิดว่าเราจะสามารถลดปริมาณขยะและนาขยะกลับมาใช้ ประโยชน์ได้ไหม Add a Footer 15
  • 16. 4.วิธีการลดปริมาณขยะในโรงเรียน โรงเรียนในฐานะที่เป็นแหล่งให้ความรู้ และปลูกฝังวิถีการดาเนินชีวิตที่ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียนซึ่งจะเติบโตเป็นอนาคตของชาติ ต่อไป จึงมีแนวคิดที่จะให้นักเรียนลดปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในแต่ละวันลง โดยให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ฝึกการคัดแยกขยะที่สามารถ นากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้วิธีการนี้นอก จากจะช่วยลดปริมาณขยะที่ ต้องนาเข้าเตาเผาได้แล้ว ยังเป็นการฝึกทักษะการทางานให้กับนักเรียน และเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับสิ่งของอีกด้วย Add a Footer 16
  • 17. การจัดการขยะด้วยแนวคิด 7 R แนวคิดด้านการจัดการขยะเพื่อการปรับตัวต่อภาวะโลกร้อนคือก่อนจะทิ้ง ขยะควรหยุดคิดสักนิดว่าจะสามารถลดปริมาณขยะ หรือนาขยะกลับมาใช้ ประโยชน์ได้หรือไม่ แนวคิดที่น่าสนใจคือแนวคิด 7R ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ Add a Footer 17
  • 18. 1. Rethink ( คิดใหม่ ) เป็นการเปลี่ยนความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้อง เหมาะสมไม่ได้ทาตามกระแสแต่อย่างเดียว แต่ทาจากใจหรือจากจิตสานึก ที่ดี เช่น -การซื้อสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม Add a Footer 18
  • 19. 2. Reduce ( ลดการใช้) เป็นการลดใช้ทรัพยากรให้เหลือเท่าที่จาเป็นหรือนามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุด เช่น - ใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าหวายเลิกง้อถุงพลาสติก - ใช้กล่องข้าวหรือปิ่นโตลดการใช้โฟม - ใช้แก้วน้าส่วนตัวงดใช้แก้วที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง - พยายามอย่าใช้กระดาษสิ้นเปลือง ควรพิมพ์และถ่ายเอกสารเท่าที่จาเป็น จะ ช่วยลดการตัดต้นไม้และลดพลังงานในการผลิตได้ - ลองลดปริมาณน้าในถังชักโครก ด้วยการใส่ก้อนอิฐหรือขวดน้าไปแทนที่ น้า Add a Footer 19
  • 20. 3. Reuse ( ใช้ซ้า ) เป็นการนากลับมาใช้ใหม่ หรือใช้อีกครั้ง หรือหลายๆครั้ง เช่น - แยกประเภทกระดาษที่ใช้แล้วเพื่อนากลับมาใช้ใหม่อย่างเหมาะสม กระดาษดีนามาใช้พิมพ์ใหม่เป็นกระดาษ2 หน้าสาหรับเอกสารร่าง กระดาษยับนามาตัดเป็นกระดาษโน้ต กระดาษ 2 หน้าทาเป็นถุงใส่ของ - บริจาคสิ่งของที่เลิกใช้แล้วแต่มีสภาพดีให้กับผู้ที่ขาดแคลน Add a Footer 20
  • 21. 4. Recycle ( นากลับมาใช้ใหม่ ) เป็นการนาวัสดุที่หมดที่หมดสภาพแล้วหรือที่ใช้แล้วมาแปรสภาพด้วยกระบวนการ ต่าง ๆ เพื่อนากลับมาใช้หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น - คิดก่อนทิ้งว่าขยะช่วยกันแยกประเภทขยะเพื่อให้ได้ขยะรีไซเคิลมากที่สุด และเพื่อช่วยลดขั้นตอนและลดพลังงานในการกาจัดขยะ เนื่องจากขยะแต่ละชนิดมี วิธีการกาจัดที่ไม่เหมือนกัน - สร้างธนาคารขยะที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อการหมุนเวียนทรัพยากร กลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด - คัดแยกขยะประเภทกระดาษ แก้ว โลหะเพื่อการนากลับไปรีไซเคิลได้ไม่รู้ จบ Add a Footer 21
  • 22. 5. Repair ( ซ่อมแซม) เป็นการซ่อมแซมให้ใช้การได้ใหม่ เช่น - กระป๋ องพลาสติกที่แตกร้าวหรือเป็นรูใช้กาวประสานหรืออุดรู เหล่านั้นมันก็ยังใช้ได้เหมือนเดิมทาให้อายุการใช้งานนานขึ้น การ กลายเป็นขยะก็ยืดเวลาออกไป Add a Footer 22
  • 23. 6. Reject ( ปฏิเสธ ) เป็นการปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้าจากแดน ไกล หรือการปฏิเสธใช้สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาลายโลก เช่น พลาสติก กล่องโฟมบรรจุอาหาร Add a Footer 23
  • 24. 7. Return( ตอบแทน ) เป็นการตอบแทนสิ่งที่พวกเราได้ทาลายไปคืนสู่โลกเช่น - ปลูกต้นไม้กันเยอะ ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนแก่โลก ช่วยโลกสดใส ลด ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลดปัญหาโลกร้อน Add a Footer 24
  • 28. 28Add a Footer 28 -คณิตศาสตร์ -วิทยาศาสตร์ -การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 30. 30Add a Footer 30 HTTPS://SITES.GOOGLE.COM/SITE/KARLDPRIMANKHYA 6/02-SUKSA-KHNKHWA-KHXMUL HTTP://ARTS.KMUTT.AC.TH/SSC210/GROUP%20PROJEC T/ASSC210/1.46ANTI%20DRUG/1.HTM
  • 32. 32Add a Footer 32 https://www.youtube.com/watch?v=Bnj0pCpfnCA
  • 33. 33Add a Footer 33 ผู้จัดทา 1.น.ส.ณิชารีย์ เวฬุสาโรจน์ ม.6/13 เลขที่ 15 2.น.ส.ณิชารีย์ ไชยมณี ม.6/13 เลขที่ 23