SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน P L A S T I C P O L L U T I O N
ที่มาและความสาคัญ
ของโครงงาน
วัตถุประสงค์
หลักการและทฤษฎี
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ปัญหาขยะพลาสติก
พลาสติก/
ขยะพลาสติกคืออะไร
พลาสติกที่ใช้ในปัจจุบัน/
ข้อควรระวัง
ผลกระทบต่อ
สภาวะแวดล้อม
ผลกระทบต่อสุขภาพ
นวัตกรรมจัดการขยะ
พลาสติก
ข้อควรระวังในการใช้
พลาสติก
แนวทางการลดปริมาณ
ขยะพลาสติก
VDO"ขยะพลาสติก"
การคัดแยกที่เหมาะสม
ภัยอันตรายจากขยะ
พลาสติก
ไอเดียถ้าไม่ใช้ 'พลาสติก‘
จะใช้อะไร?
อ้างอิง
ชื่อผู้จัดทา
การใช้พลาสติกในปัจจุบันจะนิยมใช้ในการห่อข้าวของหรืออื่นๆมากขึ้น โดยที่ไม่สนใจถึงปัญหาที่จะ
เกิดขึ้นกับสภาพอากาศของโลก เพราะเมื่อมีการใช้ถุงพลาสติกที่มากขึ้นก็เกิดปัญหามากขึ้น
เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อน ปัญหาน้าน่าเสีย ปัญหาชื้อโรคต่างๆ จนทาให้เกิดปัญหาที่ตามมาอีก
หลักหลายประการ เช่น การป่วย การติดเชื้อที่ไม่รู้สาหตุ ต่างๆ การเกิดขยะที่ทาให้เกิดกลิ่น
เหม็น อากาศเป็นพิษ หลายครั้งที่มีการรณรงค์เกี่ยวกับการลดภาวะโลกร้อน แต่ก็เป็นแค่
บางส่วนของการที่จะช่วยอธิบายให้ผู้คนรู้จักภาวะโลกร้อนมากขึ้น แต่ก็ช่วยให้ประชาชนลดการใช้
ถุงพลาสติกได้มากขึ้น โดยการหันมาใช้ถุงผ้าแทนเพราะถุงผ้าก็สามารถนาไปใส่ของบรรจุของได้
เช่นกัน และยังเป็นผลิตมาจากธรรมชาตซึ่งมีความทนทานและอายุของการย่อยสลายก็ง่าย
จึงเป็นส่วนหนึ่งที่สามารถนามาช่วยให้ผู้คนรู้จักการใช้ถุงผ้าและลดการใช้ถุงพลาสติก
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
1. ลดโลกร้อน
2. ลดขยะในชุมชน
3. เพิ่มรายได้ให้คนในชุมชน
4. ลดการใช้พลาสติก
5. ทาให้สภาพแวดล้อมดูดี น่าอยู่มากยิ่งขึ้น
วัตถุประสงค์
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสาคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ
สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจานวนมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมี
จานวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกาจัดขยะไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจานวนขยะ ในแต่ละวันจะ
มีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจานวนนับร้อยล้านตัน แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับ
ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด
ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร
ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาดจิตสานึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนามาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะ
สามารถสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนากลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนากลับมาใช้ใหม่
ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจานวนมาก รวมทั้งปริมาณ
ขยะก็จะจานวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป
หลักการและทฤษฎี
1. การนาขยะพลาสติกเป้าหมายกลับมาใช้ประโยชน์ 100%
2. ปริมาณขยะพลาสติกลดลง
3.ประชาชนใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติกเป็นประจา และตระหนัก
เห็นความสาคัญของสิ่งแวดล้อม
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพราะในยุคปัจจุบัน ความสะดวกสบายต้องมาก่อนเป็นอย่างแรก พวกเราจึงได้
ออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ทาจากพลาสติกซึ่งง่ายต่อการซื้อหาและง่ายต่อการโยนทิ้ง
ปัญหา คือ พลาสติกที่เราโยนทิ้งไปนั้นไม่ได้ไปไหนไกล ขยะพลาสติกส่วนใหญ่จะถูก
พบได้ในมหาสมุทร ที่ซึ่งขยะพลาสติกเหล่านี้ได้แตกตัวเป็นชิ้นเล็กๆ และสร้างความเข้าใจผิดให้กับ
สัตว์ทะเลว่าขยะชิ้นเล็กเหล่านี้เป็นอาหารของพวกมัน มลพิษขยะพลาสติกเป็นหนึ่งในภัยคุกคามที่
ยิ่งใหญ่ต่อมหาสมุทรของพวกเรา ตามมาด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการประมงเกิน
ขนาด
ปัญหาขยะพลาสติก
พลาสติกและขยะพลาสติก คืออะไร
พลาสติกเป็นวัสดุที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น โดยการนาวัตถุดิบที่ได้จากธรรมชาติ
เช่น น้ามันปิโตรเลียม มาแยกเป็นสารประกอบบริสุทธิ์หลายชนิด ซึ่งส่วนใหญ่เป็น
สารประกอบระหว่างคาร์บอน (ถ่าน) กับก๊าซไฮโดรเจน เมื่อนาเอาสารประกอบแต่ละ
ชนิดมาทาปฏิกิริยาให้มีลักษณะต่อ ๆ กันเป็นเส้นสายยาวมากๆ ก็จะได้วัสดุที่มีสมบัติ
เป็นพลาสติก พลาสติกที่เกิดจากสารประกอบที่ต่างกันจะมีสมบัติแตกต่างกันไปด้วย
และพลาสติกบางชนิดอาจเกิดจากสารประกอบมากกว่า 1 ชนิดก็ได้
ขยะพลาสติก คือ พลาสติกที่ใช้แล้วถูกทิ้งไปเป็นขยะพลาสติก ส่วนหนึ่งถูก
นามากลับมาใช้อีกในลักษณะที่แตกต่างกันและอีกส่วนหนึ่งถูกนาไปกาจัดทิ้งโดย
วิธีการต่างๆเช่นการฝังกลบการหล่อมการรีไซเคิล
พลาสติกที่ใช้ในปัจจุบันและข้อควรระวังพลาสติกถูกออกแบบให้มีคุณสมบัติตามการใช้งานที่
หลากหลายโดยสามารถแบ่งประเภทของพลาสติกที่นิยมใช้ในปัจจุบันดังนี้
พลาสติกโพลีเอทิลีนเทอพาทาเลท (Polyethylene terephthalate) แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือกลุ่มที่มีเนื้อใส
(A-PET) และกลุ่มที่เป็นผลึกสีขาว (C-PET) เช่น ขวดน้าดื่มขวดน้าอัดลมขวดน้ามันสาหรับปรุงอาหารถุง
ขนมขบเคี้ยว
ข้อควรระวัง 1) ขวดบรรจุน้าดื่มถูกออกแบบมาเพื่อใช้เพียงครั้งเดียวไม่ได้ออกแบบมาสาหรับให้นามาทา
ความสะอาดใหม่โดยใช้ความร้อนสูงหรือขัดถูแล้วนามาใช้ซ้าขวดที่ใช้แล้วควรนาไปผ่านกระบวนการรีไซเคิล
เพื่อนากลับมาใช้ใหม่มากกว่าการนากลับมาใช้ซ้าแม้ว่าการใช้ซ้านั้นอาจจะไม่มีอันตรายจากสารที่หลุดออกมา
แต่ผู้บริโภคอาจได้รับอันตรายจากการปนเปื้อนของจุลินทรีย์เนื่องจากการทาความสะอาดที่ไม่ถูกต้อง
พลาสติกที่ใช้ในปัจจุบันและข้อควรระวัง
2. พลาสติกโพลีเอทิลีนชนิดความหนาแน่นสูง (High denity polyethylene, HDPE)
เนื่องจากเป็นพลาสติกที่ทนทานต่อสารทาละลายต่าง ๆ ทาให้มีการนาไปใช้ทาผลิตภัณฑ์จ้าน
วนมากไม่ว่าจะเป็นภาชนะบรรจุต่าง ๆ เช่นทัปเปอร์แวร์ขวดน้ายาซักผ้าขวดนมถังน้ามันสาหรับ
ยานพาหนะโต๊ะและเก้าอี้แบบพับได้ถุงพลาสติก
ข้อควรระวัง การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นสีควรระมัดระวังอันตรายจากเม็ดสีที่เติมเข้าไปซึ่งมีส่วนผสม
ของตะกั่วและแคดเมียมสารทั้งสองตัวนี้สามารถแพร่ออกมาจากพลาสติกได้
3. พลาสติกโพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl chloride) หรือที่เรียกกันว่าพีวีซี
(PVC) เช่นพลาสติกห่ออาหารถุงหูหิ้ว (ขนาดเล็กนิยมบรรจุอาหารประเภททอด
เช่นปาท่องโก๋กล้วยแขก) ขวดบรรจุชนิดบีบ (เช่นน้ามันพืช) กล่องอุปกรณ์ต่าง
ๆ ภาชนะบรรจุเครื่องดื่มอาหารตะแกรงคว่าจาน
ข้อควรระวัง สารเติมแต่งเพื่อปรับปรุงคุณภาพพีวีซีเช่นสารพลาสติกไซเซอร์และ
สารอื่น ๆ ได้แก่ พาทาเลทสารแต่งสีซึ่งมีตะกั่วและแคดเมียมสารทาให้คงตัว
(stabilizers) เช่นแบเรียมสามารถแพร่กระจายออกมาได้จึงควรหลีกเลี่ยงการห่อ
อาหารขณะร้อนด้วยพลาสติกอุ่นอาหารโดยมีพลาสติกที่ห่ออาหารอยู่และการใส่
อาหารร้อนในถุงหนิ้วโดยตรง
4. พลาสติกโพลีเอทิลีน ชนิดความหนาแน่นต่า (Low density polyethylene, LDPE)
เช่นถุงหูหิ้วขวดพลาสติกบางชนิดและที่ใช้กันมากที่สุดคือถุงเย็นสาหรับบรรจุอาหาร
ข้อควรระวัง 1) การใช้ถุงพลาสติกที่เป็นสีควรระมัดระวังอันตรายจากเม็ดสีที่เติมเข้าไปซึ่งมี
ส่วนผสมของตะกั่วและแคดเมียม
2) ถุงเย็นมีลักษณะขุ่นและยืดหยุ่นได้ดีกว่าถุงร้อนทนความเย็นได้ถึง 70 องศา
เซลเซียสแต่ทนความร้อนได้ไม่มากนัก
5. พลาสติกโพลีโพรพิลีน (Polypropylene, PP) เช่นถุงร้อนสาหรับบรรจุอาหารขวดใส่เครื่องดื่มซอง
ขนมภาชนะบรรจุโยเกิร์ตหลอดดูดขวดนมเด็ก
ข้อควรระวัง 1) สามารถติดไฟได้ง่ายจึงต้องมีการเติมสารหน่วงไฟเพื่อป้องกันการติดไฟในกระบวนการ
ผลิตซึ่งสารหน่วงไฟที่เติมจะเป็นพวกโบรมีเนเตตและคลอริเนเตตสารกลุ่มนี้ถ้าไหม้ไฟแล้วจะให้สาร
ไดออกซิน (dioxin) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง
2) สารเม็ดสีที่มีตะกั่วและแคดเมียมซึ่งผสมลงไปเพื่อทาให้พลาสติกมีสีต่าง ๆ ตะกั่วและ
แคดเมียมสามารถแพร่กระจายออกมาจากพลาสติกได้
3) ถุงร้อนมีลักษณะใสกว่าถุงเย็นและไม่มีความยืดหยุ่นสามารถทนความร้อนได้สูงถึง
100 องศาเซลเซียส (จุดเดือดของน้า) และทนไขมันได้ดีแต่สามารถบรรจุอาหารเย็นได้เพียง0องศา
เซลเซียส
6. พลาสติกโพลีสไตรีน (Polystyrene, PS) หรือที่เรียกกันว่าโฟมเช่นบรรจุรองรับการกระแทกกล่อง
สาหรับบรรจุอาหารพลาสติกที่ใช้แล้วทิ้ง (เช่นถ้วยข้อนส้อมมีด)-LIRT
ข้อควรระวัง 1) การใช้ภาชนะโฟมใส่อาหารที่ร้อนหรือนาไปเข้าไมโครเวฟสามารถทาให้สไตรีนโมโนเมอร์
ในโฟมละลายออกมาผสมในอาหารได้ซึ่งมีผลต่อสมองระบบประสาทเม็ดเลือดแดงตับไตและอาจก่อให้เกิด
อาการระคายเคืองกับผิวหนังตาระบบทางเดินหายใจซึมเศร้าอ่อนเพลียหรือทาให้สภาพการทางานของตับ
ลดลง
2) การเผาโฟมทาให้เกิดก๊าซพิษสไตรีนออกไซด์ซึ่งเป็นสาเหตุของของมะเร็ง
3) การรีไซเคิลโฟมมีปัญหาสาคัญในเรื่องไม่คุ้มทุน
7. พลาสติกชนิดอื่น ๆ เช่นโพลีคาร์บอนเนต (Polycarbonate, PC) เช่นเนื่องจากโพลีคาร์บอเนตเป็น
พลาสติกที่มีลักษณะใสแข็งและทนความร้อนจึงนามาทาเป็นภาชนะบรรจุอาหารที่สามารถเก็บในตู้เย็นและนาเข้า
ไมโครเวฟได้เช่นเหยือกน้าขวดน้าขนาดบรรจุ 5 ลิตรขวดน้านักกีฬาขวดนมรวมทั้งจาพวกถ้วยข้อนส้อมมีดชนิด
ใส
ข้อควรระวัง มีการศึกษาพบว่าขวดน้าดื่มจะแพร่สารบิสฟีนอลเอ (Bisphenol A, BPA) ออกมามากกว่า
ปกติถึง 55 เท่าเมื่อใช้บรรจุน้าร้อนไม่ว่าจะเป็นขวดเก่าหรือขวดใหม่ก็ตามซึ่งสารนี้มีโครงสร้างคล้ายฮอร์โมน
เอสโตรเจน (estrogen) ของเพศหญิงส่งผลกระทบทาให้สเปริมลดลงเปลี่ยนพฤติกรรมเพศนอกจากนี้ยัง
พบว่าเหนี่ยวนาให้เกิดการต้านทานอินซูลิน (insulin) และเพิ่มความเสี่ยงการเกิดมะเร็งเต้านมอีกด้วยในเด็กทา
ให้เป็นหนุ่มเป็นสาวเร็วเกินไปมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคอ้วนและไฮเปอร์แอคทีฟ
สารพิษในพลาสติกแม้จะยังไม่ถูกพิจารณาให้เป็นปัญหาหลักของระบบสาธารณสุขแต่การใช้งานผลิตภัณฑ์
จากพลาสติกที่ไม่ถูกต้องและไม่ปลอดภัยโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับอาหารและเครื่องดื่มอาจนามาซึ่งการสะสม
สารพิษและความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังต่าง ๆ ของผู้บริโภคสารประกอบบางชนิดที่เป็นสาเหตุของการ
เกิดโรค
1. สารพาทาเลต (Phthalate) ที่เติมลงไปในการผลิตพลาสติกชนิดพอลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride)
เพื่อให้พลาสติกมีคุณสมบัติที่อ่อนนุ่มและสามารถยืดหยุ่นได้ดีสารนี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพเนื่องจากเป็น
สารที่มีกลไกทางานคล้ายฮอร์โมนจึงไปรบกวนการทางานของฮอร์โมนตามธรรมชาติ
2. สาร Vinyl chloride เป็นวัตถุดิบในการผลิตเม็ด Polyvinylchloride Resin หรือ PVC Resin
ที่ความดันบรรยากาศปกติจะเป็นแก๊สไม่มีสีส่วนใหญ่จะบรรจุอยู่ในรูปของแก๊สที่อัดอยู่ในรูปของเหลว
(compressed tiquefied gas) นิยมใช้ทาท่อน้าสายไฟฟ้าของเด็กเล่นชนิดเป่าลมและเฟอร์นิเจอร์
ผลกระทบต่อสุขภาพ
3. สาร (Styrene) เป็นสารตั้งต้นของการผลิตพลาสติกชนิดพอลิสไตรีนคือ กล่องโฟมสาร Styrene ซึ่ง
เป็นสารอันตรายส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและระบบเม็ดเลือดอีกทั้งยังมีผลต่อสารพันธุกรรม (DNA)
และโครโมโซมปัจจุบันทั่วโลกตื่นตัวและมีการรณรงค์งดใช้สิ่งของที่ทาจาก
โฟมรวมถึงการใช้พลาสติกโฟมรูปถ้วยเพื่อกันของแตกหักในการขนส่งสินค้าซึ่งหลายมลรัฐในประเทศ
สหรัฐอเมริกาได้ห้ามไม่ให้ใช้โฟมในการขนส่งสินค้ารวมถึงร้านแฮมเบอร์เกอร์ชื่อดังได้ประกาศเลิกใช้กล่องโฟม
ในการบรรจุอาหารและเปลี่ยนไปใช้กระดาษแทน
4. สาร (Bisphenol) ใช้ในการผลิตพลาสติกชนิด Polycarbonate ซึ่งใช้ทาขวดนมเด็กขวดน้าดื่มแบบใสสาร
Bisphenol A เป็นสารที่ทาหน้าที่คล้ายฮอร์โมนเอสโตรเจนสามารถรบกวนการทางานของฮอร์โมนธรรมชาติ
5. สาร (Formaldehyde ) อาจปนเปื้อนสู่อาหารจากการใช้ภาชนะที่ทาจาก Melamine ไม่ถูกวิธี เช่น
นาไปใช้กับไมโครเวฟหรือเตาอบอุณหภูมิสูง เป็นสาเหตุให้เกิดโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
1. ก่อให้เกิดมลภาวะทางน้าจากการเพิ่มของค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (BOD) และค่า
ความต้องการออกซิเจนทางเคมี
2. เกิดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายของพลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะ
แวดล้อมเช่นการย่อยสลายของพลาสติกในสภาวะการฝังกลบหรือการคอมโพสท์อาจทาให้
สารเติมแต่งต่าง ๆ รวมถึงสีพลาสติกไซเซอร์สารคะตะลิสต์ที่ตกค้างรั่วไหลและปนเปื้อนไป
กับแหล่งน้าใต้ดินและบนดินซึ่งสารบางชนิดอาจมีความเป็นพิษต่อระบบนิเวศ
3. เกิดมลภาวะจากขยะอันเนื่องมาจากการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่ถูกทิ้งหรือตกลง
ในสิ่งแวดล้อมที่มีสภาวะไม่เหมาะสมต่อการย่อยสลาย
4. ความเป็นพิษของคอมโพสท์ที่ได้จากการหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพเนื่องจากการมี
สารตกค้างหรือใช้สารเติมแต่งที่มีความเป็นพิษและส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์
ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม
5. เกิดสารประกอบที่ไม่ย่อยสลายเช่นสารประกอบประเภทแอโรแมติกจากการย่อยสลาย
ของพลาสติกบางชนิดเช่นชิ้นส่วนที่เป็นวงแหวนแอโรแมติกในพอลิเมอร์จะเกิดการ
เปลี่ยนแปลงเป็นสารประกอบขนาดเล็กเช่นกรดเทเรฟทาลิคซึ่งย่อยสลายทางชีวภาพได้ไม่
ดีนัก
6. การตกค้างของสารเติมแต่งที่เติมลงในพลาสติกย่อยสลายได้เพื่อปรับคุณสมบัติให้
เหมาะสมกับการใช้งานเช่นเดียวกับพลาสติกทั่วไปเมื่อพลาสติกเกิดการย่อยสลายสารเติม
แต่งเหล่านี้อาจปนเปื้อนอยู่ในสภาวะแวดล้อม
1. การคัดแยกขยะมีผลให้
- สามารถลดปริมาณขยะลงได้เพราะเมื่อแยกวัสดุส่วนที่ยังมีประโยชน์ออก
- สามารถประหยัดงบประมาณลงเพราะเหลือปริมาณขยะจริงที่กาจัดหรือ
ทาลายน้อยลง
- สามารถได้วัสดุหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่เรียกว่า(Recycle)
- สามารถสงวนทรัพยากรธรรมชาติและประหยัดพลังงานจากข้อ 3 เพราะนอกจากจะลดการใช้วัสดุที่
เป็นทรัพยากรธรรมชาติแล้วยังไม่ต้องใช้พลังงานในการขุดค้นเช่นการผลิตอุปกรณ์ที่เป็นพลาสติก
จะต้องใช้เม็ดพลาสติกใหม่เพราะกว่าจะได้เม็ดพลาสติกต้องใช้พลังงานมากดังนั้นควรใช้พลาสติกที่ผ่าน
การใช้แล้วนามาหลอมใช้ใหม่สามารถช่วยให้สิ่งแวดล้อมดีขึ้น
แนวทางการลดปริมาณขยะและ
การกาจัดขยะพลาสติกอย่างถูกวิธี
2. การนาขยะพลาสติกใช้แล้วกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มี 5 วิธีดังนี้
1) การนากลับมาใช้ซ้าผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้แล้วเช่นถ้วยจานแก้วขวดหรือภาชนะบางชนิดสามารถ
นากลับมาทาความสะอาดเพื่อใช้ซ้าได้หลายครั้ง
2) การหลอมขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ใหม่การนาขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่โดยวิธีขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่
เป็นวิธีที่นิยมมากแต่เมื่อเทียบกับปริมาณของขยะพลาสติกทั้งหมดยังเป็นเพียงส่วนน้อยการนาพลาสติก
ใช้แล้วมาหลอมขึ้นรูปใหม่
3) การเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ของเหลวและก๊าซการเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ของเหลวและ
ก๊าซเป็นวิธีที่ทาให้ได้สารไฮโดรคาร์บอนที่เป็นของเหลวและก๊าซหรือเป็นสารผสมไฮโดรคาร์บอนหลาย
ชนิดซึ่งอาจใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงหรือกลั่นแยกเป็นสารบริสุทธิ์
4) การใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงพลาสติกประเภทเทอร์โมพลาสติกส่วนมากมีคุณสมบัติเป็นสารที่ติด
ไฟและลุกไหม้ได้ดีจึงใช้เป็นเชื้อเพลิงได้โดยตรง
5) การใช้เป็นวัสดุประกอบน้าพลาสติกใช้แล้วผสมกับวัสดุอย่างอื่นเพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์วัสดุ
ประกอบที่เป็นประโยชน์ เช่น ไม้เทียม หินอ่อนเทียม
1. ไม่ควรนาถุงพลาสติกเย็นมาใส่อาหารร้อนหรือใช้บรรจุอาหารสาหรับ
นาเข้าเตาไมโครเวฟ
2. ไม่ควรนาถุงพลาสติกชนิดถุงหิ้วมาใช้บรรจุอาหารโดยตรง
3. ไม่ควรใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารร้อนอาหารที่มีน้ามันและอาหารที่มี
แอลกอฮอล์
4. ไม่ควรนาภาชนะที่ทาจากเมลามีนมาใช้กับเตาไมโครเวฟและสัมผัสของ
ร้อนที่อุณหภูมิสูงเนื่องจากอาจทาให้สารฟอร์มาลดีไฮด์ปนเปื้อนสู่อาหาร
5. ไม่ควรใช้ฟิล์มห่ออาหาร (Food wrap, Cing film) สัมผัสกับอาหาร
โดยตรงเนื่องจากที่ความร้อนสูงฟิล์มอาจจะละลายติดกับอาหารที่จะ
รับประทานได้
6. ไม่ควรใช้สินค้าที่ไม่มีคุณภาพหรือไม่ได้รับการรับรองจากหน่วยงานที่
ควบคุมดูแลเช่นสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
ข้อควรระวังในการใช้ผลิตภัณฑ์จากพลาสติก
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารจัดการขยะพลาสติกที่จาเป็นต้องนามาใช้และจะทวีบทบาทในโลกอนาคต
อย่างมีนัยสาคัญ 4 เรื่อง
นวัตกรรมอัพไซคลิ่ง : Upcycling
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการรีไซเคิล และเป็นวิธีการแก้ปัญหาพลาสติกเหลือทิ้งที่เหมาะสมกับบริบทของ
ประเทศไทย โดยเป็นการนาขยะมาแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ทาให้เป็นสิ่งใหม่ สามารถนามาใช้ได้ในรูปแบบ
ใหม่ๆ โดยไม่สร้างขยะกลับคืนสู่วงจรขยะพลาสติกอีกครั้ง เช่น การนามาทาเป็นวัสดุก่อสร้าง อุปกรณ์
สานักงาน สินค้าไลฟ์สไตล์ เป็นต้น
พลาสติกที่ย่อยสลายได้ตามธรรมชาติหรือไบโอพลาสติก
ซึ่งเป็นพลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้ด้วยจุลินทรีย์และแบคทีเรียตามธรรมชาติ โดยสามารถผลิตจาก
วัตถุดิบที่สามารถผลิตทดแทนขึ้นใหม่ได้ในธรรมชาติ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ข้าวโพด ฯลฯ มีคุณสมบัติ
ในการใช้งานใกล้เคียงพลาสติกจากปิโตรเคมีแบบดั้งเดิม และพลาสติกชีวภาพแบบย่อยสลายได้จะกลับคืนสู่
ธรรมชาติได้ 100% ซึ่งเป็นแนวทางสาหรับการใช้งานเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้อย่างแท้จริง
นวัตกรรมเพื่อการจัดการไมโครพลาสติก
เนื่องจากไมโครพลาสติกถือเป็นพลาสติกขนาดเล็กและมองไม่เห็น ซึ่งมักจะปนเปื้อนในแหล่งน้า
ทะเล และทาให้สัตว์ต่างๆ เสียชีวิต ตามที่ปรากฏในข่าวสาร เรื่องดังกล่าวจาเป็นต้องแก้ไขอย่าง
เร่งด่วน โดยผู้ประกอบการและต้นทางในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องควรให้ความใส่ใจอย่างจริงจัง ด้วย
การหาวัสดุทดแทนหรือมีกระบวนการจัดการที่รัดกุม เพื่อสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศที่ดีขึ้นทั้งระบบ
การเปลี่ยนขยะพลาสติกเป็นพลังงาน
เป็นอีกหนึ่งนวัตกรรมที่น่าสนใจ โดยสามารถนาขยะพลาสติกที่มีอยู่จานวนมหาศาลมาแปรรูปเป็นพลังงาน
ความร้อน พลังงานไฟฟ้า ฯลฯ การพัฒนานวัตกรรมในรูปแบบนี้ยังจะช่วยลดต้นทุนในกิจกรรมดังกล่าว
พร้อมสร้างมูลค่าให้กับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้อีกด้วย
"ขยะพลาสติก" กับการคัดแยกที่เหมาะสม
พลาสติกถือเป็นวัสดุที่นิยมใช้อย่างแพร่หลาย ไม่ว่าจะเป็นร้านค้าหรือครัวเรือน รวมถึงของกินของใช้ในยุค
ปัจจุบัน ล้วนทาจากพลาสติกทั้งสิ้น และเหตุนี้จึงทาให้พลาสติกกลายเป็นขยะที่มีปริมาณมากและแพร่หลาย
อย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เพราะพลาสติกเป็นวัสดุที่ไม่สามารถย่อยสลายด้วยตัวเองเนื่องจากเป็นสารสังเคราะห์
และเป็นวัสดุที่ถูกทิ้งเกลื่อนกลาดในทุก ๆ วันทั่วโลก โดยเฉลี่ยถุงพลาสติกจะเป็นขยะที่มีปริมาณมากที่สุด
รองลงมาจะเป็นหลอดเครื่องดื่ม ฝาพลาสติก และภาชนะบรรจุอาหาร ซึ่งจากปัญหาขยะพลาสติกล้นโลก
หลายคนจึงหาวิธีกาจัดซึ่งหารู้ไม่ว่าวิธีเหล่านั้นอาจทาให้เกิดอันตรายต่อชีวิตได้
การเผาพลาสติก
การเผาพลาสติกไม่ได้ช่วยให้ดีขึ้น เพราะโดยรวมการเผาพลาสติกจะยิ่งทาให้เกิดสารพิษในชั้นบรรยากาศจาก
ส่วนประกอบของพลาสติก อาจนาไปสู่การปนเปื้อนของแหล่งน้า แหล่งดิน รวมไปถึงอาหารการกิน ซึ่งจะ
ทาให้คนส่วนใหญ่ได้รับสารพิษจากการสูดดม ดื่มน้า และทานอาหารที่มีสารปนเปื้อน
ส่วนการเผาไหม้พลาสติกประเภทพีวีซีก็ทาให้เกิดสารพิษต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะ เป็น
สารก่อมะเร็ง และรบกวนการทางานของระบบฮอร์โมน หากสะสมอยู่ในร่างกาย อาจส่งผลกระทบต่อ
ลูกในท้องได้ นอกจากนี้ยังเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจ ระบบทางเดินหายใจ หอบหืด เกิด
อาการผื่นคัน คลื่นไส้ ปวดหัว หรืออาจทาลายระบบประสาท ตับ ไต และระบบสืบพันธุ์ เป็นต้น
นอกจากนี้แล้วพลาสติกอาจก่อให้ผลกระทบต่อ
• สิ่งแวดล้อม มลภาวะเกิดเป็นพิษ
• อุดตันตามท่อระบายน้า
• ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
• อันตรายต่อสัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
ถ้าไม่ใช้ 'พลาสติก‘ จะใช้อะไร? ส่องไอเดียบรรจุภัณฑ์ยุคใหม่ใส่ใจต่อโลก
นวัตกรรมหยดน้ากินได้นี้มีชื่อว่า Ooho เป็นบรรจุภัณฑ์ที่
สามารถกินได้ทั้งชิ้น ผลิตโดยบริษัท Skipping Rock โดย
ใช้หลักการเดียวกับไข่แดงที่มีเยื่อบางๆ ห่อหุ้มของเหลวเอาไว้
โดยเยื่อดังกล่าวทาขึ้นจากสาหร่ายและแคลเซียมคลอไรด์ เมื่อ
กัดลงไปก็จะแตกในปาก น้าที่บรรจุอยู่ภายในก็จะสะอาด
ปลอดภัย ที่สาคัญเจ้าหยดน้านี้มีราคาถูกกว่าขวดพลาสติก
ด้วย
‘I AM NOT PLASTIC’
ถุงมันสาปะหลังละลายในน้าไม่ละลายในมือ
นี่ไม่ใช่พลาสติกและไม่ใช่ M&M ด้วย แต่เป็น
นวัตกรรมถุงกินได้จากบริษัท Avani Eco
ผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์รักษ์โลกสัญชาติอินเดีย โดย
ผลิตจากมันสาปะหลังที่สามารถนากลับมาใช้ใหม่
ได้ รีไซเคิล และย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ที่
สาคัญคือละลายได้ในน้า คุณสมบัติหลักที่ผู้ผลิต
ตั้งใจคิดค้นเลยทีเดียว เพราะจุดประสงค์หลักคือ
ต้องการแก้ปัญหาขยะในลาคลองในอินโดนีเซียที่
ท่วมล้นจนต้องระดมพลเข้าไปขุดลอกกันบ่อยครั้ง
ในขณะเดียวกันถุงของ Evani Eco ยังเป็นมิตร
กับสัตว์อย่างนกและปลาที่มักกินพลาสติกเพราะ
เข้าใจผิดว่าเป็นอาหาร คราวนี้ก็กินได้จริง ไม่เป็น
ปัญหาต่อร่างกายสิ่งมีชีวิตอีกต่อไป
แพ็กเกจจิ้งเครื่องสาอางจากแบคทีเรีย
Elena Amato ดีไซเนอร์ชาวกัวเตมาลาที่ได้ทดลองเอา SCOBY ซึ่งเป็นแบคทีเรียดีและยีสต์ที่หลงเหลือจาก
การทา Kombucha มาใช้ในการทาแพ็กเกจจิ้ง กระบวนการทาก็คือนาน้า, SCOBY และใช้สีจากธรรมชาติ
เช่น สาหร่าย ผงถ่าน ผสมทุกอย่างเข้าด้วยกันจากนั้นเทใส่แม่พิมพ์จนได้ที่ ก็จะได้แผ่น SCOBY ที่มี
ลักษณะคล้ายกระดาษและพลาสติก สามารถนาไปใช้ในการห่อหุ้มโปรดักต์จาพวกเครื่องสาอางและสกินแคร์
ต่างๆ ที่สาคัญย่อยสลายง่าย ดีต่อโลกด้วย
แหล่งอ้างอิง
http://www.bioformthailand.com/TH/environment/%E0%B8%A0
%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%
E0%B8%A2-
%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD%E0%B8%B1
%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%
E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%82
https://mgronline.com/greeninnovation/detail/9620000124434
https://act.greenpeace.org/page/34356/petition/1https://act.gre
enpeace.org/page/34356/petition/1
จัดทำโดย
1. นำงสำว คนึงนิจ ติคำ เลขที่ 28 ม.6/13
2. นำงสำว จำรุวรรณ จันทะกี เลขที่ 40 ม.6/13

More Related Content

More from NaluttapornPhakamung (7)

Computer projrct 3
Computer projrct 3Computer projrct 3
Computer projrct 3
 
Final computer
Final computerFinal computer
Final computer
 
Project computer 3
Project computer 3Project computer 3
Project computer 3
 
Alopecia
AlopeciaAlopecia
Alopecia
 
Tinnitus
TinnitusTinnitus
Tinnitus
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Stinky feet
Stinky feetStinky feet
Stinky feet
 

Final Presentation