SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ
ที่มาความสาคัญ
จากที่ได้มีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน โดยให้นักเรียนบูรณาการความรู้ทักษะและประสบการณ์ที่ได้จาก
ศึกษาในวิชาต่างๆเพื่อนามาสร้างสรรค์เป็นโครงงานตามความสนใจของนักเรียนและคาดว่านักเรียนจะสามารถสร้างโครงงานที่เป็น
องค์ความรู้ใหม่ขึ้นตลอดจนเสริมสร้างทักษะตามหลักสูตรที่ได้กาหนดไว้และปลูกคุณธรรมที่พึงประสงค์ตามความต้องการของสถาน
ประกอบการ เพื่อสามารถนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันและในอนาคตต่อไป
ในแต่ละปีมีขยะที่ไม่ย่อยสลายเยอะแยะมากมาย และแต่ละวันก็จะมีคนทิ้งขยะไม่เป็นที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนที่อยู่ใน
ระแวกนั้น ทาให้เกิดกลิ่นเน่าเสียและเกิดผลเสียตามมาทาให้เกิดโรคร้ายที่เกิดจากขยะที่ถูกทิ้งไม่เป็นที่หรือทาลายไม่ถูกวิธี
ซึ่งจากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงระดมความคิดของสมาชิกในกลุ่มและขอคาชี้แนะจากครูผู้สอนมา
พัฒนาโครงงาน เรื่อง โรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ ซึ่งผู้จัดทาคาดว่าเรื่องนี้ที่จะสร้างขึ้นจะช่วยเผยแพร่เรื่องที่เกี่ยวกับขยะ โรคร้ายจาก
ปัญหาขยะ และช่วยให้รู้ถึงการทิ้งขยะและการทาลายขยะอย่างถูกวิธี ตลอดจนเป็นการนาความรู้ ทักษะชีวิตอื่นๆ ที่ได้ศึกษาตาม
หลักสูตร เพื่อสร้างเป็นโครงงานใหม่ขึ้น ตลอดจนนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และเป็นแนวทางพัฒนาเรื่องนี้ในอนาคตต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจในการป้องกันโรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและนักเรียนตระหนักถึงการทิ้งขยะอย่างถูกที่ถูกวิธี
ประโยชน์
1. นามาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
2. นามาเผยแพร่และเป็นแนวทางในการลดปัญหาขยะ
3. ส่งเสริมให้ประชาชนทิ้งขยะอย่างถูกวิธี
4. ส่งเสริมให้ประชาชนเข้าใจในการป้องกันโรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ
ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าในเรื่องนี้ได้แก่ คนประชากรในชุมชนบ้านแม่นาเรือ
จานวน 50 คน
ขอบเขตการศึกษา
1. การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาเรื่องปัญหาโรคร ้ายที่เกิดจากมลพิษของขยะและ
กลิ่นของขยะ
2. ผู้วิจัยต้องการศึกษาภายในบริเวณชุมชนบ้านแม่นาเรือ
3. ผู้วิจัยต้องการสอบถามชุมชนบ้านแม่นาเรือ 50 คน
เอกสารงานวิจัย
ในการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ
ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ
โดยลาดับเนื้อหาที่เป็ นสาระสาคัญดังต่อไปนี้
1. สภาพทั่วไปของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
2. ความหมายของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
3. ความสาคัญของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
4. องค์ประกอบของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
สภาพทั่วไปของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
ทุกวันนี้ขยะจากบ้านเรือนมีแต่จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นเรื่อย ๆ ยิ่งเรา
เหล่านี้ก็จะส่งกลิ่นเหม็นรบกวน และเป็ นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ ได้
โอกาสที่จะได้รับพิษภัยจากขยะอย่างไม่รู้ตัว ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย
อาการเล็กน้อย จนกระทั่งรุนแรงมาก อาจเกิดขึ้นโดยทันทีหรือสะสมใน
เกิดขึ้นจากขยะเหล่านี้สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง ดังนี้คือ1. ทาง
2. ทางการหายใจ 3. ทางเดินอาหาร
สรุปคืออันตรายจากขยะเข้าสู่ร่างเราได้ง่ายมากๆแค่ ได้
รูปแบบของการรับประทานอาหาร
ความหมายของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้ความหมายของโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ
เก่าเจริญ หัวหน้าศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี อธิบายเรื่องนี้ให้
โอกาสที่จะได้รับพิษภัยจากขยะอย่างไม่รู้ตัว ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดย
อาการเล็กน้อย จนกระทั่งรุนแรงมาก อาจเกิดขึ้นโดยทันทีหรือสะสมใน
สรุปคือความหมายของโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ คือโรคที่มาจากภัย
การรับประทานอาหารที่สกปรก
ความสาคัญของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
ความสาคัญคือ โรคที่เกิดจากปัญหาขยะถ้าหากเราละเลยปัญหานี้มัน
เดือดร ้อนจากปัญหานี้และทาให้ประชาชนเสียชีวิตจากโรคร ้ายที่เกิดจาก
เราจึงต้องใส่ใจและจัดการกับปัญหานี้ให้รวดเร็วที่สุด
สรุปคือโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะมีความร ้ายแรงมาก เราจึง
ปัญหานี้ให้มากขึ้น และช่วยกันดูแลความสะอาดให้มากขึ้นด้วย
องค์ประกอบของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
1. เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและพาหะของโรค ขยะเศษวัสดุ ของเสีย มี
เนื่องจากการขยายตัวของเมือง การอยู่อาศัยอย่างหนาแน่น
2. เป็ นบ่อเกิดของโรค เนื่องจากการเก็บรวบรวมและการกาจัดขยะมูลฝอยไม่
ให้มีขยะเหลือทิ้งไว้ในชุมชน
3. ก่อให้เกิดความราคาญ การเก็บรวบรวมขยะได้ไม่หมดก็จะเกิดเป็ นกลิ่น
ชุมชน
4. ขยะมูลฝอยเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดมลพิษของน้า มลพิษของดิน
เนื่องจากขยะส่วนที่ขาดการเก็บรวบรวม หรือไม่นามากาจัดให้ถูกวิธี
5. ทาให้เกิดการเสี่ยงต่อสุขภาพ ขยะมูลฝอยที่ทิ้งและรวบรวมโดยขาด
งานวิจัยของโรคที่เกิดจากปัญหาขยะ
การวิจัยแบบมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของชุมชนเป็ นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยใช้เทคนิค
ดาเนินการเก็บข้อมูล
1. ศึกษาบริบทพื้นที่ที่จะทาการศึกษาวิจัย
2. การกาหนดปัญหาการจัดการขยะในชุมชน ซึ่งทาการสรุปคาถามหรือปัญหา โดยการ
การแก้ไขปัญหาให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เห็นภาพและเกิดความเข้าใจ
3. การวางแผนปฏิบัติงานวิจัยการจัดทาขั้นตอนการปฏิบัติงานวิจัยให้ชัดเจน รวมทั้งระบุด้วย
แต่ละฝ่ายจะมีส่วนร่วม
4. การติดตาม ตรวจสอบและปรับปรุง รวมทั้งการแก้ไขระหว่างการปฏิบัติงานวิจัย ในขั้นนี้
พิจารณาหาทางปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติการวิจัยแบบมีส่วนร่วม
5. การสรุปผลการวิจัย ในขั้นตอนนี้ผู้วิจัยจะทาการสรุปผลการวิจัยและเรียบเรียง เป็ นรายงาน
สาธารณชน
วิธีการดาเนินงาน
วิธีการดาเนินการวิจัยเรื่องโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ ผู้วิจัยได้ดาเนินการ
วิจัยโดยมีการดาเนินการตามขั้นตอนสาคัญดังนี้
1. ประชากร
2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
ประชากร
สถานภาพของประชากร จานวน(คน)
1.อายุ
1.1 ต่ากว่า 15 ปี
1.2 15 – 25 ปี
1.3 26 - 40 ปี
1.4 40 ปีขึ้นไป
7
23
4
16
รวม 50
2.ระยะเวลาที่อาศัย
2.1 น้อยกว่า 3 ปี
2.2 3 – 5 ปี
2.3 5 ปีขึ้นไป
7
6
37
รวม 50
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือทีใช้ในการศึกษาในครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเองซึ่ง
แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามชนิดตรวจเช็ครายการ(Check list) ใช้เก็บข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรอิสระ (อายุ
และระยะเวลาที่อาศัย)
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประเมินค่า(Rating Scale) ชนิด 5 ระดับตามวิธีการของ
เรนซิสลิเคอร์ท (RensisLikert) คือ อยู่ในระดับ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อยและน้อยที่สุด ใช้เก็บ
ข้อมูลเกี่ยวกับตัวแปรตาม
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสร้างแบบสอบถามซึ่งมีขั้นตอนในการดาเนินงานดังนี้
1. ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีนาแบบสอบถามไปสอบถามประชาชนและเก็บรวบรวมข้อมูลกลับด้วยการกรอกข้อมูลและตอบ
แบบสอบถาม
2. ได้รับแบสอบถามกลับคืนและตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามแล้ว มีความสมบูรณ์ 50 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 100
3. นาแบบสอบถามมาตรวจให้คะแนนดังนี้(ในกรณีของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า)
มีความคิดเห็น มากที่สุดให้ 5 คะแนน
มีความคิดเห็น มาก ให้ 4 คะแนน
มีความคิดเห็น ปานกลาง ให้ 3 คะแนน
มีความคิดเห็น น้อย ให้ 2 คะแนน
มีความคิดเห็น น้อยที่สุด ให้ 1 คะแนน
4. นาคะแนนที่ได้จัดพิมพ์ลงเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเตรียมการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
การวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้วิจัยได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
1. วิเคราะห์สภาพของประชากรจาแนกตาม อายุและระยะเวลาที่อาศัยโดยใช้ความถี่และค่าร้อยละ
2. วิเคราะห์แบบสอบถามโดยการหา ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานโดยรวมและรายข้อ
3. นาผลที่ได้จากการวิเคราะห์ทางสถิติมาแปลผลแบ่งคะแนนเป็นช่วง ๆ มีความหมายดังนี้
ค่าเฉลี่ย 4.50-5.00 แปลความหมายว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 3.50-4.49 แปลความหมายว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 2.50-3.49 แปลความหมายว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 1.50-2.49 แปลความหมายว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 1.00-1.49 แปลความหมายว่า มีความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
สถานภาพประชากร จานวน (คน) ร้อยละ
1.อายุ
1.1 ต่ากว่า 15 ปี
1.2 15 – 25 ปี
1.3 26 – 40 ปี
1.4 40 ปีขึ้นไป
7
23
4
16
14
46
8
32
รวม 50 100
2.ระยะเวลาที่อาศัย
2.1 น้อยกว่า 3 ปี
2.2 3 – 5 ปี
2.3 มากว่า 5 ปี
7
6
37
14
12
74
รวม 50 100
ประเด็นคาถาม ค่า X-
bar
SD ระดับความคิดเห็น
1.การรักษาความสะอาดในชุมชนเป็นหน้าที่ของทุกคน 4.68 0.62 มากที่สุด
2.การทิ้งขยะลงถังเป็นหน้าที่ของทุกคนพึงปฏิบัติ 4.72 0.61 มากที่สุด
3.การคัดแยกขยะทาให้ลดปริมาณขยะ 3.60 1.51 มาก
4.หากไม่มีถังขยะหน้าบ้าน สามารถนาขยะไปทิ้งในที่สาธารณะได้ 1.92 1.24 น้อย
5.การทิ้งขยะให้ถูกที่เป็นหน้าที่ของทุกคนไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานรัฐ 4.06 1.08 มาก
6.การป้องกันโรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะเป็นหน้าที่ของหน่วยงานรัฐ 2.90 1.16 ปานกลาง
7.การทิ้งขยะไม่เลือกที่อาจเกิดปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะได้ 4.48 0.81 มาก
8.หากทุกคนทิ้งขยะไม่ถูกที่จะทาให้ขยะเกลื่อนเมือง 4.62 0.70 มากที่สุด
9.การคัดแยกขยะก่อนทิ้งทาให้เสียเวลาโดยใช่เหตุ 2.30 1.30 น้อย
10.เราทิ้งขยะให้ถูกที่ ทาลายถูกวิธี ทาให้ป้องกันโรคร้ายที่เกิดจากปัญหาขยะได้ 4.24 0.94 มาก
11.ปัจจุบันท่านทิ้งขยะลงที่จัดเก็บทุกครั้ง 4.22 1.04 มาก
12.ปัจจุบันท่านคัดแยกขยะก่อนทิ้งทุกครั้ง 3.68 1.25 มาก
รวม 3.79 1.39 มาก
ผลการดาเนินงาน
ด้านกลุ่มอายุต่ากว่า 15 ปี มีจานวนร ้อยละ 14 ด้านกลุ่มอายุ 15-25 ปี มีจานวน
ร ้อยละ 46 ด้านกลุ่มอายุ 26-40 ปีขึ้นมีจานวนร ้อยละ 8 และด้านกลุ่มอายุ 40 ปีขึ้นไป
มีจานวนร ้อยละ 32 ด้านระยะเวลาที่อาศัยของประชากร ระยะเวลาน้อยกว่า 3 ปี มี
จานวนร ้อยละ 14 ระยะเวลา 3-5 ปี มีจานวนร ้อยละ 12และระยะเวลา 5 ปีขึ้นไป มี
จานวนร ้อยละ 74
ระดับความคิดเห็นของประชากร ต่อการมีความรู้ความเข้าใจการตระหนัก
ถึงโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ ทั้ง 12 ข้อโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมา( = 3.79) จากค่า มา
ที่สุดไปหาน้อยที่สุด ตามลาดับ ดังนี้ ข้อที่ 2 ( = 4.72), ข้อที่ 1 ( = 4.68), ข้อที่ 8 ( =
4.62), ข้อที่ 7 ( = 4.48), ข้อที่ 10 ( = 4.24), ข้อที่ 11 ( = 4.22), ข้อที่ 5 ( = 4.06),
ข้อที่ 12 ( = 3.68), ข้อที่ 3 ( = 3.60), ข้อที่ 6 ( = 2.90), ข้อที่ 9 ( = 2.30) และข้อ
ที่ 4 ( = 1.92) เมื่อพิจารณาในรายข้อ ว่า ข้อที่ 2 มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ( = 4.72) ส่วนข้อ
ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยต่าสุด( = 1.92)
อภิปรายและสรุปผล
สรุปผลการศึกษา
จาวนประชากรที่ตอบแบบสอบถาม 50 คน พบว่า
ด้านกลุ่มอายุต่ากว่า 15 ปี มีจานนวนร ้อยละ 14 ด้านกลุ่มอายุ 15-25 ปี มี
จานวนร ้อยละ 46 ด้านกลุ่มอายุ 26-40 ปีขึ้นไป มีจานวนร ้อยละ 8 และด้านกลุ่มอายุ 40 ปี
ขึ้นไป มีจานวนร ้อยละ 32
ด้านระยะเวลาที่อาศัยของประชากร ระยะเวลาน้อยกว่า 3 ปี มีจานวนร ้อยละ
14 ระยะเวลา 3-5 ปี มีจานวนร ้อยละ 12 และระยะเวลา 5 ปีขึ้นไป มีจานวนร ้อยละ 74
ความคิดเห็นของประชากรต่อความรู้ความเข้าใจ ความตระหนักเกี่ยวกับ
ปัญหาขยะและโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะ ประชาชนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับปัญหาที่เกิดขึ้น
เป็ นอย่างมากและพบว่าในแต่ละหมู่บ้านไม่มีถังขยะตามจุดหรือมีแต่ก็อยู่ห่างจากบ้านตน
หลายกิโล ประชาชนจึงนาไปทิ้งไม่เป็ นที่เป็นทาง ทิ้งแถวบ้านบ้างหรือเผาทิ้งบ้าง จึงทาให้เกิด
ปัญหาโรคร ้ายที่เกิดจากปัญหาขยะขึ้น
อ้างอิง
• http://www.chaiwbi.com/Odrem/web_children/2551/ms201/c_cam
p51/100.html
• http://www.environnet.in.th/?p=4315
• http://arts.kmutt.ac.th/ssc210/Group%Project/ASSC210/2.48%20a
nurak%20forest/recyclekaya.html
• https://dregsofsocietypmktbs.wordpress.com/%E0%B8%AA%E0%B
8%B2%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8
%82%E0%B8%A2%E0%B8%B0/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B9
%80%E0%B8%AB%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%
B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%82%E0%B8%A
2%E0%B8%B0%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A1
%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%84/
• http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=15&ch
ap=8&page=t15-8-infodetail03.html
• http://www.npc-se.co.th/npc_date/npc_previews.asp?id_sub=3&id_sub=28&id=535
• http://www.lpn.co.th/th/press/viewitem.aspx?=14
ผู้จัดทา
1. นายณัฐภัทร อุ่นเรือน เลขที่ 5
2. นางสาวนวรัตน์ เพียรจริง เลขที่ 36
3. นางสาวอธิชา งานดี เลขที่ 42
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/4
ครูที่ปรึกษา
คุณครูศศิร ์อร ศักดิ์กิตติพงศา
คุณครูจิรสุดา กุมาลี

More Related Content

Similar to ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ

โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มพัน พัน
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1ssuser8b25961
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางอบต. เหล่าโพนค้อ
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าaon04937
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะWuttiphong Kompow
 
Tu100 A9-2
Tu100 A9-2Tu100 A9-2
Tu100 A9-2jam anda
 

Similar to ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ (20)

Stray dog
Stray dogStray dog
Stray dog
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่  4จุดเน้นที่  4
จุดเน้นที่ 4
 
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้มโครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
โครงการเปื้อนรัก ปันยิ้ม
 
บทที่ 2
บทที่ 2  บทที่ 2
บทที่ 2
 
TU100
TU100TU100
TU100
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
สมศักดิ์
สมศักดิ์สมศักดิ์
สมศักดิ์
 
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทางนำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
นำเสนอผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
การกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่าการกินอย่างมีคุณค่า
การกินอย่างมีคุณค่า
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
Tu100 A9-2
Tu100 A9-2Tu100 A9-2
Tu100 A9-2
 

ปัญหาโรคร้ายที่เกิดจากขยะ